fbpx
วิกิพีเดีย

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน ทั้งนี้ ในปัจจุบัน การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่าง ๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2542

ประวัติ

การถ่ายเสียงภาษาไทยเป็นอักษรโรมันโดยชาวต่างชาติ

ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ชาวต่างชาติจากหลากหลายประเทศได้เข้ามาทำการค้าขายกับราชสำนัก ซึ่งชาวต่างชาติเหล่านี้ได้ทำการถ่ายเสียงภาษาไทยเป็นอักษรโรมัน (transpose) โดยอาศัยการออกเสียงในภาษาไทยและถ่ายเสียงดังกล่าวลงเป็นอักษรโรมันตามหลักเกณฑ์ไวยากรณ์ของภาษาตนเอง ดังนั้น การถ่ายเสียงภาษาไทยเป็นอักษรโรมันในสมัยนี้ไม่มีหลักเกณฑ์ที่ตายตัว ซึ่งทำให้การบันทึกชื่อสถานที่ต่าง ๆ หรือคำศัพท์และประโยคใช้วิธีแตกต่างกันไป

ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ชาวโปรตุเกสได้ถ่ายเสียงคำว่า สยาม (Sião) เมืองไทย (Muantai) อยุธยา (Hudia) แม่น้ำ[เจ้าพระยา] (Meinão) ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ ได้เขียนจดหมายเหตุลาลูแบร์ (A new historical relation of the Kingdom of Siam) โดยถ่ายเสียงภาษาไทยเป็นอักษรโรมัน โดยยกตัวอย่างประโยคทั่วไปในชีวิตประจำวัน เช่น กินแล้วหรือ (kin lêou reü?) เมื่อท่านมาเราได้กินสำเร็จแล้ว (meüà tân mâ, râo dáï kin sam-red lêou) รวมถึงคำศัพท์ทั่วไป เช่น สับปะรด (saparot) กล้วย (cloüey) ขนุน (ca-noun) เป็นต้น

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันตามพระราชนิยมรัชกาลที่ 6

เมื่อปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์บทความเรื่อง The Romanisation of Siamese Words ลงในวารสารสยามสมาคม (Journal of the Siam Society) ของสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้

พยัญชนะ   สระ
อักษรไทย อักษรโรมัน
รากศัพท์บาลี-สันสกฤต รากศัพท์ไทย
k k
kh kh
kh kh
g q
g q
gh gh
n (หรือ ng) ng
ch ch
chh chh
j x
- s
jh -
ñ ñ (หรือ ny)
- d
t t
th th
d d
dh dh
n n
- d
t t
th th
d th
dh th
n n
- b
p p
ph ph
- f
b ph
- f
bh bh
m m
y y
r r
ri ri
ฤๅ
l l
li li
ฦๅ
v หรือ w v หรือ w
ś -
sh -
s s
h h
l -
- h

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน พ.ศ. 2482

  • การถอดอักษรไทยเป็นโรมัน ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องการถอดอักษรไทยเป็นโรมัน เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2482

เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2485 รัฐบาลได้ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องการเขียนชื่อไทยเป็นอักษรโรมัน โดยมีเนื้อความว่า

โดยเหตุที่ข้าราชการหรือพ่อค้าไทยที่มีความจำเปนต้องติดต่อกับชาวต่างประเทส อาดต้องเขียนชื่อและนามสกุลของตนด้วยอักสรโรมันเพื่อประโยชน์แก่การติดต่อเช่นนั้น ปรากดว่าบางคนได้บิดผันวิธีเขียนไห้ผู้อ่านรู้สึกว่าไม่ไช่คนไทย การกะทำเช่นนั้นไม่เหมาะสมแก่การรักสาวัธนธัมของชาติ

คนะรัถมนตรีจึงลงมติเปนเอกฉันท์ ไห้ประกาสว่า การไช้อักสรโรมันเขียนชื่อและนามสกุลนั้น จะต้องเขียนไห้อ่านได้สำเนียงตรงกับนามสกุลไนภาสาไทยเสมอ จะไปบิดผันหรือตัดทอนเปลี่ยนแก้ไห้กลายเปนชื่อต่างชาติโดยไม่ตรงกับสำเนียงไทยไม่ได้เปนอันขาด

ประกาส นะ วันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๔๘๕

จอมพล ป. พิบูลสงคราม— ประกาสสำนักนายกรัถมนตรี เรื่องการเขียนชื่อไทยเปนอักสรโรมัน

ต่อมาเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485 รัฐบาลได้ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องการเขียนชื่อบุคคลเป็นอักษรโรมัน โดยมีเนื้อความว่า

ตามประกาสสำนักนายกรัถมนตรี ลงวันที่ 6 มีนาคม 2482 ซึ่งประกาสไว้ว่า ในการเขียนชื่อต่าง ๆ เปนอักสรโรมัน ไห้ไช้ตามแบบทั่วไป ที่ราชบันดิดตยสถานประกาสไว้ไนวันเดียวกันนั้น เว้นแต่ชื่อบุคคลซึ่งได้เขียนไว้เปนหย่างอื่น ถ้าจะเปลี่ยนการเขียนชื่อเปนอักสรโรมันไม่ได้สดวก ก็ไห้คงเขียนตามเดิมได้นั้น

บัดนี้ ได้มีประกาสสำนักนายกรัถมนตรี ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2485 ความว่า การไช้อักสรโรมันเขียนชื่อและนามสกุล จะต้องเขียนไห้อ่านได้สำเนียงตรงกับนามสกุลไนภาสาไทยเสมอ ซึ่งเปนวิธีถอนอักสรตามแบบทั่วไปของราชบันดิดตยสถานแล้ว

คนะรัถมนตรีจึงได้ลงมติเปนเอกฉันท์ไห้ประกาสว่า การเขียนชื่อบุคคลเปนอักสรโรมัน ไห้ไช้วิธีถอดอักสรตามแบบทั่วไปซึ่งราชบันดิดตยสถานได้ประกาสไว้เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2482 ทุกกรนีไป

ประกาส นะ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2485

จอมพล ป. พิบูลสงคราม— ประกาสสำนักนายกรัถมนตรี เรื่องการเขียนชื่อบุคคลเปนอักสรโรมัน

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน พ.ศ. 2542

  • การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง พ.ศ. 2542

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง พ.ศ. 2542

ตารางเทียบตัวอักษร

พยัญชนะ   สระ
อักษรไทย อักษรโรมัน
พยัญชนะต้น พยัญชนะสะกด
k k
kh k
kh k
kh k
kh k
kh k
ng ng
ch t
ch t
ch t
s t
ch t
y n
d t
t t
th t
d หรือ th t
th t
n n
d t
t t
th t
th t
th t
n n
b p
p p
ph p
f p
ph p
f p
ph p
m m
y -
r n
rue, ri, roe -
ฤๅ rue -
l n
lue -
ฦๅ lue -
w -
s t
s t
s t
h -
l n
h -
    
อักษรไทย อักษรโรมัน
–ะ, –ั, รร (มีตัวอักษรอื่นตาม), –า a
รร (ไม่มีตัวอักษรตาม) an
–ำ am
–ิ, –ี i
–ึ, –ื ue
–ุ, –ู u
เ–ะ, เ–็, เ– e
แ–ะ, แ– ae
โ–ะ, –, โ–, เ–าะ, –อ o
เ–อะ, เ–ิ, เ–อ oe
เ–ียะ, เ–ีย ia
เ–ือะ, เ–ือ uea
–ัวะ, –ัว, –ว– ua
ใ–, ไ–, –ัย, ไ–ย, –าย ai
เ–า, –าว ao
–ุย ui
โ–ย, –อย oi
เ–ย oei
เ–ือย ueai
–วย uai
–ิว io
เ–็ว, เ–ว eo
แ–็ว, แ–ว aeo
เ–ียว iao

การวิพากษ์วิจารณ์

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน มีจุดประสงค์เขียนไว้ในประกาศว่า เพื่อให้อ่านคำไทยในตัวอักษรโรมันได้ใกล้เคียงกับคำเดิม แต่ก็ได้รับการวิพากษ์ว่ายังไม่ดีเพียงพอสำหรับชาวต่างชาติในการอ่านภาษาไทย[ต้องการอ้างอิง] เนื่องจาก

  • ไม่มีสัญลักษณ์หรือระบบแทนเสียงวรรณยุกต์
  • สระสั้นและสระยาว ใช้ตัวอักษรเดียวกัน เช่น อะ และ อา ใช้ ตัวอักษร a
  • เสียง /pʰ/ (ผ, พ, ภ) แทนด้วยตัวอักษร ph ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /f/ เหมือนคำในภาษาอังกฤษ
  • เสียงสระ "โอะ โอ" กับ "เอาะ ออ" ใช้ตัวอักษร o เหมือนกัน เช่น คำว่า "พล" และ "พร" เขียนเหมือนกันเป็น phon, คำว่า "ชล", "โชน", "ช่อน" และ "ชอน" เขียนเหมือนกันเป็น chon
  • เสียง /tʰ/ (ฐ, ฑ, ฒ, ถ, ท, ธ) แทนด้วยตัวอักษร th ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /θ/ หรือ /ð/ เหมือนคำในภาษาอังกฤษ
  • เสียง /tɕ/ (จ) แทนด้วยตัวอักษร ch ทำให้อ่านผิดว่าเป็น /tɕʰ/ เช่น คำว่า "จล" และ "ชล" เขียนเหมือนกันเป็น chon

นอกจากนี้ ถึงแม้ระบบของราชบัณฑิตยสถานจะที่ใช้ในเอกสารราชการเกือบทั้งหมด แต่ก็มีการเขียนคำทับศัพท์ในรูปแบบอื่น เพื่อหลีกเลี่ยงเสียงที่เพี้ยนไปจากเสียงภาษาไทย และเลี่ยงความหมายที่ไม่ดีในภาษาอังกฤษและภาษาอื่น เช่นคำว่า "ธง" หรือ "ทอง" เมื่อทับศัพท์ตามระบบราชบัณฑิตทั้งสองคำจะสะกดได้คำว่า "thong" ซึ่งในภาษาอังกฤษหมายถึง ธอง (กางเกงชั้นในประเภทหนึ่ง) จึงเลี่ยงไปใช้คำว่า "tong" แทน

อ้างอิง

  • ต้นฉบับประกาศของราชบัณฑิตยสถาน
  • "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (37 ง): 11. 1999-05-11.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • thai2english.com ถอดอักษรไทยออนไลน์ ตามการอ่านเสียง, ตามหลักราชบัณฑิตฯ, ตามสัทอักษรสากล ฯลฯ
  • โปรแกรมถอดอักษรไทยสำหรับวินโดวส์ โดย ผศ.ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล
  1. Afterthoughts on the Romanization of Siamese by A.B. Griswold
  2. The Romanisation of Siamese Words by His Majesty the King
  3. ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 26 มีนาคม 2482 เล่ม 56 หน้า 3718
  4. "ประกาสสำนักนายกรัถมนตรี เรื่องการเขียนชื่อไทยเปนอักสรโรมัน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. October 27, 1942. สืบค้นเมื่อ November 29, 2019.
  5. "ประกาสสำนักนายกรัถมนตรี เรื่องการเขียนชื่อบุคคลเปนอักสรโรมัน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. November 24, 1942. สืบค้นเมื่อ November 29, 2019.

การถอดอ, กษรไทยเป, นอ, กษรโรม, เป, นหล, กการถอดต, วอ, กษรไทยเป, นอ, กษรโรม, งน, ในป, จจ, แบบถ, ายเส, ยงอย, างเป, นทางการโดยราชบ, ณฑ, ตยสถาน, ใช, ในสำหร, บหน, งส, อและส, งพ, มพ, ของร, ฐบาล, และป, ายช, อถนนต, าง, ในประเทศไทย, ปแบบใหม, ประกาศใช, เม, มกราคม, 2542,. karthxdxksrithyepnxksrormn epnhlkkarthxdtwxksrithyepnxksrormn thngni inpccubn karthxdxksrithyepnxksrormnaebbthayesiyngxyangepnthangkarodyrachbnthitysthan ichinsahrbhnngsuxaelasingphimphkhxngrthbal aelapaychuxthnntang inpraethsithy rupaebbihmprakasichemux 11 mkrakhm ph s 2542 enuxha 1 prawti 1 1 karthayesiyngphasaithyepnxksrormnodychawtangchati 1 2 karthxdxksrithyepnxksrormntamphrarachniymrchkalthi 6 1 3 karthxdxksrithyepnxksrormn ph s 2482 1 4 karthxdxksrithyepnxksrormn ph s 2542 2 karthxdxksrithyepnxksrormnaebbthayesiyng ph s 2542 2 1 tarangethiybtwxksr 2 2 karwiphakswicarn 3 xangxing 4 duephim 5 aehlngkhxmulxunprawti aekikhkarthayesiyngphasaithyepnxksrormnodychawtangchati aekikh tngaetsmykrungsrixyuthya chawtangchaticakhlakhlaypraethsidekhamathakarkhakhaykbrachsank sungchawtangchatiehlaniidthakarthayesiyngphasaithyepnxksrormn transpose odyxasykarxxkesiynginphasaithyaelathayesiyngdngklawlngepnxksrormntamhlkeknthiwyakrnkhxngphasatnexng dngnn karthayesiyngphasaithyepnxksrormninsmyniimmihlkeknththitaytw sungthaihkarbnthukchuxsthanthitang hruxkhasphthaelapraoykhichwithiaetktangknipinkhriststwrrsthi 16 chawoprtueksidthayesiyngkhawa syam Siao emuxngithy Muantai xyuthya Hudia aemna ecaphraya Meinao txmainkhriststwrrsthi 17 simng edx la luaebr idekhiyncdhmayehtulaluaebr A new historical relation of the Kingdom of Siam odythayesiyngphasaithyepnxksrormn odyyktwxyangpraoykhthwipinchiwitpracawn echn kinaelwhrux kin leou reu emuxthanmaeraidkinsaercaelw meua tan ma rao dai kin sam red leou rwmthungkhasphththwip echn sbpard saparot klwy clouey khnun ca noun epntn 1 karthxdxksrithyepnxksrormntamphrarachniymrchkalthi 6 aekikh emuxpi ph s 2456 phrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhwthrngphrarachniphnthbthkhwameruxng The Romanisation of Siamese Words lnginwarsarsyamsmakhm Journal of the Siam Society khxngsyamsmakhminphrabrmrachupthmph 2 odymihlkeknthdngtxipni phyychna sraxksrithy xksrormnraksphthbali snskvt raksphthithyk k kkh kh khkh kh khkh g qKh g qkh gh ghng n hrux ng ngc ch chch chh chhch j xs sch jh y n n hrux ny d dt t tth th thth d dth dh dhn n nd dt t tth th thth d thth dh thn n nb bp p pph ph phf fph b phf fph bh bhm m my y yr r rv ri rivi ri ril l ll li lili li liw v hrux w v hrux ws s s sh s s sh h hl l h hkarthxdxksrithyepnxksrormn ph s 2482 aekikh karthxdxksrithyepnormn tamprakassanknaykrthmntri eruxngkarthxdxksrithyepnormn emuxwnthi 6 minakhm 2482 3 emuxwnthi 19 tulakhm ph s 2485 rthbalidxxkprakassanknaykrthmntri eruxngkarekhiynchuxithyepnxksrormn odymienuxkhwamwa odyehtuthikharachkarhruxphxkhaithythimikhwamcaepntxngtidtxkbchawtangpraeths xadtxngekhiynchuxaelanamskulkhxngtndwyxksrormnephuxpraoychnaekkartidtxechnnn prakdwabangkhnidbidphnwithiekhiynihphuxanrusukwaimichkhnithy karkathaechnnnimehmaasmaekkarrksawthnthmkhxngchatikhnarthmntricunglngmtiepnexkchnth ihprakaswa karichxksrormnekhiynchuxaelanamskulnn catxngekhiynihxanidsaeniyngtrngkbnamskulinphasaithyesmx caipbidphnhruxtdthxnepliynaekihklayepnchuxtangchatiodyimtrngkbsaeniyngithyimidepnxnkhadprakas na wnthi 19 tulakhm 2485cxmphl p phibulsngkhram 4 prakassanknaykrthmntri eruxngkarekhiynchuxithyepnxksrormn txmaemuxwnthi 19 phvscikayn ph s 2485 rthbalidxxkprakassanknaykrthmntri eruxngkarekhiynchuxbukhkhlepnxksrormn odymienuxkhwamwa tamprakassanknaykrthmntri lngwnthi 6 minakhm 2482 sungprakasiwwa inkarekhiynchuxtang epnxksrormn ihichtamaebbthwip thirachbndidtysthanprakasiwinwnediywknnn ewnaetchuxbukhkhlsungidekhiyniwepnhyangxun thacaepliynkarekhiynchuxepnxksrormnimidsdwk kihkhngekhiyntamedimidnnbdni idmiprakassanknaykrthmntri lngwnthi 19 tulakhm 2485 khwamwa karichxksrormnekhiynchuxaelanamskul catxngekhiynihxanidsaeniyngtrngkbnamskulinphasaithyesmx sungepnwithithxnxksrtamaebbthwipkhxngrachbndidtysthanaelwkhnarthmntricungidlngmtiepnexkchnthihprakaswa karekhiynchuxbukhkhlepnxksrormn ihichwithithxdxksrtamaebbthwipsungrachbndidtysthanidprakasiwemuxwnthi 6 minakhm 2482 thukkrniipprakas na wnthi 19 phvscikayn 2485cxmphl p phibulsngkhram 5 prakassanknaykrthmntri eruxngkarekhiynchuxbukhkhlepnxksrormn karthxdxksrithyepnxksrormn ph s 2542 aekikh karthxdxksrithyepnxksrormnaebbthayesiyng ph s 2542karthxdxksrithyepnxksrormnaebbthayesiyng ph s 2542 aekikhtarangethiybtwxksr aekikh phyychna sraxksrithy xksrormnphyychnatn phyychnasakdk k kkh kh kkh kh kkh kh kKh kh kkh kh kng ng ngc ch tch ch tch ch ts s tch ch ty y nd d tt t tth th tth d hrux th tth th tn n nd d tt t tth th tth th tth th tn n nb b pp p pph ph pf f pph ph pf f pph ph pm m my y r r nv rue ri roe vi rue l l nl lue li lue w w s s ts s ts s th h l l nh h xksrithy xksrormn a rr mitwxksrxuntam a arr immitwxksrtam an a am i i i u u ue u u ue a e e eae a ae aeo a o e aa x oe xa e i e x oee iya e iy iae uxa e ux uea wa w w uai i y i y ay aie a aw ao uy uio y xy oie y oeie uxy ueai wy uai iw ioe w e w eoae w ae w aeoe iyw iaokarwiphakswicarn aekikh karthxdxksrithyepnxksrormnaebbthayesiyngkhxngrachbnthitysthan micudprasngkhekhiyniwinprakaswa ephuxihxankhaithyintwxksrormnidiklekhiyngkbkhaedim aetkidrbkarwiphakswayngimdiephiyngphxsahrbchawtangchatiinkarxanphasaithy txngkarxangxing enuxngcak immisylksnhruxrabbaethnesiyngwrrnyukt srasnaelasrayaw ichtwxksrediywkn echn xa aela xa ich twxksr a esiyng pʰ ph ph ph aethndwytwxksr ph thaihxanphidwaepn f ehmuxnkhainphasaxngkvs esiyngsra oxa ox kb exaa xx ichtwxksr o ehmuxnkn echn khawa phl aela phr ekhiynehmuxnknepn phon khawa chl ochn chxn aela chxn ekhiynehmuxnknepn chon esiyng tʰ th th th th th th aethndwytwxksr th thaihxanphidwaepn 8 hrux d ehmuxnkhainphasaxngkvs esiyng tɕ c aethndwytwxksr ch thaihxanphidwaepn tɕʰ echn khawa cl aela chl ekhiynehmuxnknepn chonnxkcakni thungaemrabbkhxngrachbnthitysthancathiichinexksarrachkarekuxbthnghmd aetkmikarekhiynkhathbsphthinrupaebbxun ephuxhlikeliyngesiyngthiephiynipcakesiyngphasaithy aelaeliyngkhwamhmaythiimdiinphasaxngkvsaelaphasaxun echnkhawa thng hrux thxng emuxthbsphthtamrabbrachbnthitthngsxngkhacasakdidkhawa thong sunginphasaxngkvshmaythung thxng kangekngchninpraephthhnung cungeliyngipichkhawa tong aethnxangxing aekikhtnchbbprakaskhxngrachbnthitysthan prakassanknaykrthmntri eruxng hlkeknthkarthxdxksrithyepnxksrormnaebbthayesiyng PDF rachkiccanuebksa 116 37 ng 11 1999 05 11 duephim aekikhthinglich ISO 11940aehlngkhxmulxun aekikhthai2english com thxdxksrithyxxniln tamkarxanesiyng tamhlkrachbnthit tamsthxksrsakl l opraekrmthxdxksrithysahrbwinodws ody phs dr wiorcn xrunmanakul Afterthoughts on the Romanization of Siamese by A B Griswold The Romanisation of Siamese Words by His Majesty the King rachkiccanuebksa wnthi 26 minakhm 2482 elm 56 hna 3718 prakassanknaykrthmntri eruxngkarekhiynchuxithyepnxksrormn PDF rachkiccanuebksa October 27 1942 subkhnemux November 29 2019 prakassanknaykrthmntri eruxngkarekhiynchuxbukhkhlepnxksrormn PDF rachkiccanuebksa November 24 1942 subkhnemux November 29 2019 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karthxdxksrithyepnxksrormn amp oldid 9359528, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม