fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาบาลี

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ บาลี (แก้ความกำกวม)

บาลี (บาลี: ปาลิ पालि; สันสกฤต: पाळि ปาฬิ); (อังกฤษ: Pali) เป็นไวยากรณ์ที่เก่าแก่แขนงหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้

บาลี
Pāli
ออกเสียง[paːli] ปาลิ
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย พม่า ศรีลังกา
สูญหายไม่มีผู้ใช้ในชีวิตประจำวัน แต่มีการใช้ในวรรณกรรมและการศึกษา
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนไม่มีอักษรเฉพาะแน่ชัด แต่มีบันทึกใน อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี รวมถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ อักษรโรมัน
รหัสภาษา
ISO 639-1pi
ISO 639-2pli
ISO 639-3pli

อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี

กำเนิดและพัฒนาการ

ชื่อเรียกภาษานี้ คือ ปาลิ (อักษรโรมัน : Pāli) นั้น ไม่ปรากฏที่มาที่ชัดเจน และเป็นที่ถกเถียงเรื่อยมาโดยไม่มีข้อสรุป เดิมเป็นภาษาของชนชั้นต่ำ สำหรับชาวพุทธโดยทั่วไปเชื่อว่า ภาษาบาลีมีกำเนิดจากแคว้นมคธ ในชมพูทวีป และเรียกว่าภาษามคธ หรือภาษามาคธี หรือมาคธิกโวหาร ซึ่ง "มาคธิกโวหาร" พระพุทธโฆสาจารย์พระอรรถกถาจารย์นามอุโฆษมีชีวิตอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 10 อธิบายว่าเป็น "สกานิรุตติ" คือภาษาที่พระพุทธเจ้าตรัส

นักภาษาศาสตร์บางท่านมีความเห็นว่าภาษาบาลีเป็นภาษาทางภาคตะวันตกของอินเดีย นักวิชาการชาวเยอรมันสมัยปัจจุบันซึ่งเป็นนักสันสกฤตคือศาสตราจารย์ไมเคิล วิตเซลแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ถือว่าภาษาบาลีเป็นภาษาทางภาคตะวันตกของอินเดีย และเป็นคนละภาษากับภาษาจารึกของ พระเจ้าอโศกมหาราช

ภาษาบาลีมีพัฒนาการที่ยาวนาน มีการใช้ภาษาบาลีเพื่อบันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา (เถรวาท) เป็นจำนวนมาก วิลเฮล์ม ไกเกอร์ (Wilhem Geiger) นักปราชญ์บาลีชาวเยอรมัน ได้เขียนหนังสือที่มีชื่อเสียงในสมัยศตวรรษที่ 19 คือ Pali Literatur und Sprache โดยวางทฤษฎีที่คนไทยรู้จักกันดีว่าภาษาบาลีในพระไตรปิฎกนั้นสามารถแบ่งวิวัฒนาการการแต่งได้ 4 ยุค ตามรูปลักษณะของภาษาที่ใช้ดังนี้:

  • ยุคคาถา หรือยุคร้อยกรอง มีลักษณะการใช้คำที่ยังเกี่ยวพันกับภาษาไวทิกะซึ่งใช้บันทึกคัมภีร์พระเวทอยู่มาก
  • ยุคร้อยแก้ว มีรูปแบบที่เป็นภาษาอินโดอารยันสมัยกลาง แตกต่างจากสันสกฤตแบบพระเวทอย่างเด่นชัด ภาษาในพระไตรปิฎกเขียนในยุคนี้
  • ยุคร้อยกรองระยะหลัง เป็นช่วงเวลาหลังพระไตรปิฎก ปรากฏในคัมภีร์ย่อย เช่น มิลินทปัญหา วิสุทธิมรรค เป็นต้น
  • ยุคร้อยกรองประดิษฐ์ เป็นการผสมผสาน ระหว่างภาษายุคเก่า และแบบใหม่ กล่าวคือคนแต่งสร้างคำบาลีใหม่ ๆ ขึ้นใช้เพราะให้ดูสวยงาม บางทีก็เป็นคำสมาสยาว ๆ ซึ่งไม่ปรากฏในพระไตรปิฎก แสดงให้เห็นชัดเจนว่าแต่งขึ้นหลังจากที่มีการเขียนคัมภีร์แพร่หลายแล้ว

ปัจจุบันมีการศึกษาภาษาบาลีอย่างกว้างขวางในประเทศที่นับถือพุทธศาสนาเถรวาท เช่น ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และอินเดีย แม้กระทั่งในอังกฤษ ก็มีผู้สนใจศึกษาพระพุทธศาสนาได้พากันจัดตั้ง สมาคมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society) ขึ้นในกรุงลอนดอนของประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2424 เพื่อศึกษาภาษาบาลีและวรรณคดีภาษาบาลี รวมถึงการแปลและเผยแพร่ ปัจจุบันนั้น สมาคมบาลีปกรณ์ดังกล่าวนี้มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ตำบลเฮดดิงตัน ในเมืองอ๊อกซฟอร์ดของสหราชอาณาจักร

คำว่า"บาลี" เองนั้นแปลว่าเส้นหรือหนังสือ และชื่อของภาษานี้น่ามาจากคำว่า ปาฬี (Pāḷi) อย่างไรก็ตาม ชื่อภาษานี้มีความขัดแย้งกันในการเรียก ไม่ว่าจะเป็นสระอะหรือสระอา และเสียง “ล” หรือ “ฬ” ภาษาบาลีเป็นภาษาเขียนของกลุ่มภาษาปรากฤต ซึ่งเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรในศรีลังกาเมื่อพุทธศตวรรษที่ 5 ภาษาบาลีจัดเป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันยุคกลาง แตกต่างจากภาษาสันสกฤตไม่มากนัก ภาษาบาลีไม่ได้สืบทอดโดยตรงจากภาษาสันสกฤตพระเวทในฤคเวท แต่อาจะพัฒนามาจากภาษาลูกหลานภาษาใดภาษาหนึ่ง

คาดว่าภาษาบาลีเป็นภาษาที่ใช้ในสมัยพุทธกาลเช่นเดียวกับภาษามคธโบราณหรืออาจจะสืบทอดมาจากภาษานี้ เอกสารในศาสนาพุทธเถรวาทเรียกภาษาบาลีว่าภาษามคธ ซึ่งอาจจะเป็นความพยายามของชาวพุทธที่จะโยงตนเองให้ใกล้ชิดกับราชวงศ์เมาริยะ พระพุทธเจ้าทรงเทศนาสั่งสอนที่มคธ แต่ก็มีสังเวชนียสถาน 4 แห่งที่อยู่นอกมคธ จึงเป็นไปได้ที่จะใช้ภาษากลุ่มอินโด-อารยันยุคกลางหลายสำเนียงในการสอน ซึ่งอาจจะเป็นภาษาที่เข้าใจกันได้ ไม่มีภาษากลุ่มอินโด-อารยันยุคกลางใด ๆ มีลักษณะเช่นเดียวกับภาษาบาลี แต่มีลักษณะบางประการที่ใกล้เคียงกับจารึกพระเจ้าอโศกมหาราชที่คิร์นาร์ทางตะวันตกของอินเดีย และหถิคุมผะทางตะวันออก

นักวิชาการเห็นว่าภาษาบาลีเป็นภาษาลูกผสม ซึ่งแสดงลักษณะของภาษาปรากฤตหลายสำเนียง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 2 และได้ผ่านกระบวนการทำให้เป็นภาษาสันสกฤต พระธรรมคำสอนทั้งหมดของพระพุทธศาสนาถูกแปลเป็นภาษาบาลีเพื่อเก็บรักษาไว้ และในศรีลังกายังมีการแปลเป็นภาษาสิงหลเพื่อเก็บรักษาในรูปภาษาท้องถิ่นอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ภาษาบาลีได้เกิดขึ้นที่อินเดียในฐานะภาษาทางการเขียนและศาสนา ภาษาบาลีได้แพร่ไปถึงศรีลังกาในพุทธศตวรรษที่ 9-10 และยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน

ภาษาบาลีและภาษาอรธามคธี

ภาษาที่เก่าแก่ที่สุดของกลุ่มภาษาอินโด-อารยันยุคกลางที่พบในจารึกสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชคือภาษาบาลีและภาษาอรธามคธี ภาษาทั้งสองนี้เป็นภาษาเขียน ภาษานี้ไม่ได้ใหม่ไปกว่าภาษาสันสกฤตคลาสสิกเมื่อพิจารณาในด้านลักษณะทางสัทวิทยาและรากศํพท์ ทั้งสองภาษาไม่ได้พัฒนาต่อเนื่องมาจากภาษาสันสกฤตพระเวทซึ่งเป็นพื้นฐานของภาษาสันสกฤตคลาสสิก อย่างไรก็ตาม ภาษาบาลีมีลักษณะที่ใกลเคียงกับภาษาสันสกฤตและมีความแตกต่างอย่างเป็นระบบ และสามารถเปลี่ยนคำในภาษาสันสกฤตไปเป็นคำในภาษาบาลีได้ แต่ไม่ได้หมายความว่าคำในภาษาบาลีเป็นส่วนหนึ่งของภาษาสันสกฤตโบราณหรือยืมคำโดยการแปลงรูปจากภาษาสันสกฤตได้เสมอไป เพราะมีคำภาษาสันสกฤตที่ยืมมาจากภาษาบาลีเช่นกัน

ภาษาบาลีในปัจจุบัน

 
สถาบันกวดวิชาดาว้องก์ โดยอาจารย์ปิง เป็นหนึ่งในสถาบันกวดวิชาที่เปิดกวดวิชาภาษาบาลีในปัจจุบัน

ปัจจุบัน การศึกษาบาลีเป็นไปเพื่อความเข้าใจคัมภีร์ทางพุทธศาสนา และเป็นภาษาของสามัญชนทั่วไป ศูนย์กลางการศึกษาภาษาบาลีที่สำคัญคือประเทศที่นับถือศาสนาพุทธเถรวาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ พม่า ลาว ไทย กัมพูชา รวมทั้งศรีลังกา ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 มีการศึกษาภาษาบาลีในอินเดีย ในยุโรปมีสมาคมบาลีปกรณ์เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการเรียนภาษาบาลีโดยนักวิชาการชาวตะวันตกที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2424 ตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ สมาคมนี้ตีพิมพ์ภาษาบาลีด้วยอักษรโรมัน และแปลเป็นภาษาอังกฤษ ใน พ.ศ. 2412 ได้ตีพิมพ์พจนานุกรมภาษาบาลีเล่มแรก การแปลภาษาบาลีเป็นภาษาอังกฤษครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2415รมสำหรับเด็กตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2419 นอกจากที่อังกฤษ ยังมีการศึกษาภาษาบาลีในเยอรมัน เดนมาร์ก และรัสเซีย

เฉพาะในประเทศไทยนั้น มีการศึกษาภาษาบาลีในวัดมาช้านาน และยังมีเปิดสอนในลักษณะหลักสูตรเร่งรัดที่มหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่งกล่าวคือมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยเฉพาะที่มหามกุฏราชวิทยาลัยนั้น ได้ดำเนินการเรียนการสอนภาษาบาลีให้บรรดาแม่ชี ซึ่งแบ่งเป็น ๙ ชั้นเรียกว่า บ.ศ. 1-9 มาเป็นเวลาช้านาน และปัจจุบันนี้ ก็มีแม่ชีสำเร็จการศึกษาเปรียญ ๙ ตามระบบนี้เพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ด้วย มีโรงเรียนสอนภาษาบาลี ให้กับภิกษุสามเณรทั่วประเทศไทย เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม นอกจากนี้ในปัจจุบันสถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติยังจัดสอบข้อสอบความถนัดทางด้านภาษาบาลี (PAT 7.6)

รากศัพท์

คำทุกคำในภาษาบาลีมีต้นกำเนิดเดียวกับภาษาปรากฤตในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันกลางเช่นภาษาปรากฤตของชาวเชน ความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤตยุคก่อนหน้านั้นไม่ชัดเจนและซับซ้อน แต่ทั้งภาษาสันสกฤตและภาษาบาลีต่างได้รับอิทธิพลซึ่งกันและกัน เมื่อเปรียบเทียบกับภาษาสันสกฤต ความคล้ายคลึงของทั้งสองภาษาดูจะมากเกินจริงเมื่อเปรียบเทียบกับภาษาในยุคหลัง ซึ่งกลายเป็นภาษาเขียนหลังจากที่ใช้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาในชีวิตประจำวันมาหลายศตวรรษ และได้รับอิทธิพลจากภาษาในอินเดียยุคกลาง รวมทั้งการยืมคำระหว่างกัน ภาษาบาลีเมื่อนำมาใช้งานทางศาสนาจะยืมคำจากภาษาท้องถิ่นน้อยกว่า เช่น การยืมคำจากภาษาสิงหลในศรีลังกา ภาษาบาลีไม่ได้ใช้บันทึกเอกสารทางศาสนาเท่านั้น แต่มีการใช้งานด้านอื่นด้วย เช่น เขียนตำราแพทย์ด้วยภาษาบาลี แต่ส่วนใหญ่นักวิชาการจะสนใจด้านวรรณคดีและศาสนา

หน่วยเสียงในภาษาบาลี

ดูบทความหลักที่: ระบบการออกเสียงภาษาบาลี

หน่วยภาษาบาลี แบ่งเป็นหน่วยเสียงสระ และหน่วยเสียงพยัญชนะ ดังนี้

  • หน่วยเสียงสระ มีด้วยกัน 8 ตัว หรือ 8 หน่วยเสียง ได้แก่ อะ อา อิ อี เอ อุ อู โอ
  • หน่วยเสียงพยัญชนะ มีด้วยกัน 33 ตัว หรือ 33 หน่วยเสียง (ในภาษาสันสกฤต มี 34 หน่วยเสียง) โดยแบ่งเป็นพยัญชนะวรรค 25 ตัว และพยัญชนะอวรรค 8 ตัว
ตารางแสดงหน่วยเสียงในภาษาบาลี ตามแหล่งเสียง (วรรค) เขียนด้วยอักษรไทยและอักษรโรมัน
วรรค สระ อโฆษะ (อโฆส) (ไม่ก้อง) โฆษะ (โฆส) (ก้อง) นาสิก
รัสสระ (รัสสะ, รสฺส) (สั้น) ทีฆสระ (ทีฆะ, ทีฆ) (ยาว) สิถิล (เบา) ธนิต (หนัก) สิถิล (เบา) ธนิต (หนัก)
กัณฐชะ อ(ะ) a อา ā ก ka ข kha ค ga ฆ gha ง ṅa
ตาลุชะ อิ i อี ī, เอ e จ ca ฉ cha ช ja ฌ jha ญ ña
มุทธชะ - - ฏ ṭa ฐ ṭha ฑ ḍa ฒ ḍha ณ ṇa
ทันตชะ - - ต ta ถ tha ท da ธ dha น na
โอฏฐชะ อุ u อู ū, โอ o ป pa ผ pha พ ba ภ bha ม ma

อวรรค (เศษวรรค) ได้แก่ ย (ya) ร (ra) ล (la) ว (va) ส (sa) ห (ha) ฬ (ḷa) อํ (aṃ)

ตารางแสดงเสียงสระในบาลี
1. สระ อะ a [a], aṃ [ã] สระกลาง-ต่ำ เสียงสั้น ปากไม่ห่อ
2. สระ อา ā [aː] สระกลาง-ต่ำ เสียงยาว ปากไม่ห่อ
3. สระ อิ i [i], iṃ [ĩ] สระหน้า-สูง เสียงสั้น ปากไม่ห่อ
4. สระ อี ī [iː] สระหน้า-สูง เสียงยาว ปากไม่ห่อ
5. สระ อุ u [u] สระหลัง-สูง เสียงสั้น ปากห่อ
6. สระ อู ū [uː], uṃ [ũ] สระหลัง-สูง เสียงยาว ปากห่อ
7. สระ เอ e [eː] หรือ [eˑ] สระหน้า-กลาง เสียงยาวหรือเสียงกึ่งยาว ปากไม่ห่อ
8. สระ โอ o [oː] หรือ [oˑ] สระหลัง-กลาง เสียงยาวหรือเสียงกึ่งยาว ปากห่อ

การเขียนภาษาบาลี

ดูบทความหลักที่: ระบบการเขียนภาษาบาลี

ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช มีการใช้ อักษรพราหมี เขียน ภาษาปรากฤต ซึ่งเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาบาลี ในทางประวัติศาสตร์ การใช้ภาษาบาลีเพื่อบันทึกคัมภีร์ทางศาสนาครั้งแรกเกิดขึ้นที่ศรีลังกา เมื่อราว พ.ศ. 443 แม้การออกเสียงภาษาบาลีจะใช้หลักการเดียวกัน แต่ภาษาบาลีเขียนด้วยอักษรหลายชนิด ในศรีลังกาเขียนด้วยอักษรสิงหล ในพม่าใช้อักษรพม่า ในไทยและกัมพูชาใช้อักษรขอมหรืออักษรเขมรและเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2436 และเคยเขียนด้วยอักษรอริยกะที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นเวลาสั้น ๆ ในลาวและล้านนาเขียนด้วยอักษรธรรมที่พัฒนามาจากอักษรมอญ นอกจากนั้น อักษรเทวนาครีและอักษรมองโกเลียเคยใช้บันทึกภาษาบาลีเช่นกัน

ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา สมาคมบาลีปกรณ์ในยุโรปได้พัฒนาการใช้อักษรละตินเพื่อเขียนภาษาบาลี โดยอักษรที่ใช้เขียนได้แก่ a ā i ī u ū e o ṁ k kh g gh ṅ c ch j jh ñ ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l ḷ v s h

ไวยากรณ์

ภาษาบาลีเป็นภาษาที่มีวิภัตติปัจจัยตามแบบลักษณะของภาษาในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน กล่าวคือการนำคำมาประกอบในประโยคจะต้องมีการผันคำโดยอาจจะเติมเสียงต่อท้ายหรือเปลี่ยนรูปคำบ้าง เช่นในภาษาอังกฤษเรามักจะเห็นการเติม -s สำหรับคำนามพหูพจน์ หรือเติม -ed สำหรับกริยาอดีต แต่ในภาษาบาลีมีสิ่งที่ต้องพิจารณามากกว่าภาษาอังกฤษอีกหลายอย่าง

การผันคำนาม (Noun Declension)

ในที่นี้ขอหมายรวมทั้ง นามนาม (Nouns), คุณนาม (Adjectives) และสัพนาม (สพฺพนาม) (Pronouns) ซึ่งการนำคำนามเหล่านี้มาประกอบประโยคในภาษาบาลีจะพิจารณาสิ่งต่อไปนี้

  • ลิงค์ (ลิงฺค) (Gender) หรือเพศ ในภาษาบาลีมีสามเพศคือชาย หญิง และไม่มีเพศ บางคำศัพท์เป็นได้เพศเดียว บางศัพท์อาจเป็นได้สองหรือสามเพศ ต้องอาศัยการจดจำเท่านั้น
  • วจนะ (วจน) (Number) หรือพจน์ ได้แก่ เอกวจนะ และ พหุวจนะ
  • การก (Case) การกคือหน้าที่ของนามในประโยค อันได้แก่
    1. ปฐมาวิภัตติ หรือ กรรตุการก/กัตตุการก (กตฺตุการก) (Nominative) เป็นประธานหรือผู้กระทำ (มักแปลโดยใช้คำว่า อ.. (อันว่า)....)
    2. ทุติยาวิภัตติ หรือ กรรมการก (กมฺมการก; กัมมการก) (Accusative) เป็นกรรม (ซึ่ง..., สู่...)
    3. ตติยาวิภัตติ หรือ กรณการก (Instrumental) เป็นเครื่องมือในการกระทำ (ด้วย..., โดย..., อัน...., ตาม.....)
    4. จตุตถีวิภัตติ (จตุตฺถี) หรือ สัมปทานการก (สมฺปทานการก) (Dative) เป็นกรรมรอง (แก่..., เพื่อ..., ต่อ...)
    5. ปัญจมีวิภัตติ (ปญฺจมี) หรือ อปาทานการก (Ablative) เป็นแหล่งหรือแดนเกิด (แต่..., จาก..., กว่า...)
    6. ฉัฏฐีวิภัตติ (ฉฏฺฐี) หรือ สัมพันธการก (สมฺพนฺธการก) (Genitive) เป็นเจ้าของ (แห่ง..., ของ...)
    7. สัตตมีวิภัตติ (สตฺตมี) หรือ อธิกรณการก (Locative) สถานที่ (ที่..., ใน...)
    8. อาลปนะวิภัตติ (อาลปน) หรือ สัมโพธนาการก (สมฺโพธนาการก) (Vocative) อุทาน, เรียก (ดูก่อน...)
  • สระการันต์ (สรการนฺต) (Termination Vowel) คือสระลงท้ายของคำศัพท์ที่เป็นนาม เพราะสระลงท้ายที่ต่าง ๆ กัน ก็จะต้องเติมวิภัตติที่ต่าง ๆ กันไป

ตัวอย่างเช่น คำว่า สงฺฆ คำนี้มีสระ อะ เป็นการันต์และเพศชาย เมื่อนำไปใช้เป็นประธานเอกพจน์ (กรรตุการก เอกพจน์) จะผันเป็น สงฺโฆ (สงฺฆ + -สิ ปฐมาวิภัตติ), ประธานพหูพจน์ (กรรตุการก พหูพจน์) เป็น สงฺฆา (สงฺฆ + -โย ปฐมาวิภัตติ), กรรมตรงเอกพจน์ (กรรมการก เอกพจน์) เป็น สงฺฆํ (สงฺฆ + -อํ ทุติยาวิภัตติ), กรรมรองเอกพจน์ (สัมปทานการก เอกพจน์) เป็น สงฺฆสฺส (สงฺฆ + -ส จตุตถีวิภัตติ) ฯลฯ
หรือคำว่า ภิกฺขุ คำนี้มีสระ อุ เป็นการันต์และเพศชาย เมื่อนำไปใช้เป็นประธานเอกพจน์ (กรรตุการก เอกพจน์) ก็ผันเป็น ภิกฺขุ (ภิกฺขุ + -สิ ปฐมาวิภัตติ), ประธานพหูพจน์ (กรรตุการก พหูพจน์) เป็น ภิกฺขโว หรือ ภิกฺขู (ภิกฺขุ + -โย ปฐมาวิภัตติ), กรรมตรงเอกพจน์ (กรรมการก เอกพจน์) เป็น ภิกฺขุํ (ภิกฺขุ + -อํ ทุติยาวิภัตติ), กรรมรองเอกพจน์ (สัมปทานการก เอกพจน์) เป็น ภิกฺขุสฺส หรือ ภิกฺขุโน (ภิกฺขุ + -ส จตุตถีวิภัตติ) ฯลฯ

การผันคำกริยา (Verb Conjugation)

คำกริยาหรือที่เรียกว่าอาขยาต (อาขฺยาต) เกิดจากการนำธาตุของกริยามาลงปัจจัย (ปจฺจย) และใส่วิภัตติ (วิภตฺติ) ตามแต่ลักษณะการใช้งานในประโยค

  • การใส่วิภัตติ เพื่อปรับกริยานั้นให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กำลังนำไปใช้ มีสิ่งที่จะพิจารณาดังนี้
    • กาล (Tense) ดูว่ากริยานั้นเกิดขึ้นในเวลาใด
      1. ปัจจุบันกาล (ปจฺจุปฺปนฺนกาล)
      2. อดีตกาล (อตีตกาล)
      3. อนาคตกาล
    • วิภัตติอาขยาต
      1. วัตตมานา (วตฺตมานา) (จาก วตฺตฺ ธาตุ (เกิดขึ้น) + -อ ปัจจัย + -มาน ปัจจัยในกิริยากิตก์) (Present - Indicative) กริยาปัจจุบัน ใช้ในประโยคบอกเล่า
      2. ปัญจมี (ปญฺจมี) (Present - Imperative) ใช้ในประโยคคำสั่ง หรือขอให้ทำ
      3. สัตตมี (สตฺตมี) (Present - Optative) ใช้บอกว่าควรจะทำ พึงกระทำ
      4. ปโรกขา (ปโรกฺขา) (ปโรกฺข (ปร + -โอ- อาคม + อกฺข) + -อา ปัจจัย) (Indefinite Past) กริยาอดีตที่ล่วงแล้ว เกินจะรู้ (กาลนี้ไม่ค่อยมีใช้แล้ว) มีใช้เฉพาะ อาห (พฺรู ธาตุ (พูด) + -อ ปัจจัย + -อ ปโรกขาวิภัตติ) และ อาหุ (พฺรู ธาตุ (พูด) + -อ ปัจจัย + -อุ ปโรกขาวิภัตติ)
      5. หิยัตตนี (หิยตฺตนี) (จาก หิยฺโย วิเสสนนิบาต (เมื่อวาน) + -อตฺตน ปัจจัย) (Definite Past) กริยาอดีตที่ผ่านไปเมื่อวาน
      6. อัชชัตตนี (อชฺชตฺตนี) (จาก อชฺช วิเสสนนิบาต (อิม + -ชฺช ปัจจัย (แทนสัตตมีวิภัตติ)) (ในวันนี้) (= อิเม, อิมสฺมิํ) + -อตฺตน ปัจจัย) (Recently Past) กริยาที่ผ่านไปเมื่อเร็ว ๆ นี้ หรือในวันนี้
      7. ภวิสสันติ (ภวิสฺสนฺติ) (มาจาก ภู ธาตุ + -อ ปัจจัย + -อิสฺสนฺติ วิภัตติ หรือ ภู ธาตุ + -อ ปัจจัย + -อิ- อาคม + -สฺสนฺติ วิภัตติ) (Future) กริยาที่จะกระทำ
      8. กาลาติปัตติ (กาลาติปตฺติ) (กาล + อติปตฺติ (อติ- อุปสรรค + ปตฺติ)) (Conditional) กริยาที่คิดว่าน่าจะทำแต่ก็ไม่ได้ทำ (หากแม้นว่า...)
    • บท (ปท) (Voice) ดูว่ากริยานั้นเกิดกับใคร
      1. ปรัสสบท (ปรสฺสปท) (Active) เป็นการกระทำอันส่งผลกับผู้อื่น เป็นกรรตุวาจก กับ เหตุกรรตุวาจก
      2. อัตตโนบท (อตฺตโนปท) (Reflective) เป็นการกระทำอันส่งผลกับตัวเอง หรือมีสภาวะเป็นอย่างนั้นอยู่เอง เป็นกรรมวาจก, ภาววาจก และ เหตุกรรมวาจก
    • วจนะ (วจน) (Number) เหมือนคำนามคือแบ่งเป็นเอกวจนะและพหุวจนะ ซึ่งวจนะของกริยาก็ต้องขึ้นกับวจนะของนามผู้กระทำ
    • บุรุษ (ปุริส) (Person) บอกบุรุษผู้กระทำกริยา บุรุษในภาษาบาลีนี้จะกลับกับภาษาอังกฤษคือ
      1. บุรุษที่หนึ่ง ปฐม ปุริส หมายถึงผู้อื่น (เขา) (ต คุณนาม) (โส ปุริโส, เต ปุริสา)
      2. บุรุษที่สอง มชฺฌิม ปุริส หมายถึงผู้ที่กำลังพูดด้วย (เธอ) (ตุมฺห, ตฺวํ, ตุมฺเห สัพพนาม)
      3. บุรุษที่สาม อุตฺตม ปุริส หมายถึงผู้ที่กำลังพูด (ฉัน) (อมฺห, อหํ, มยํ สัพพนาม)

ตัวอย่างเช่น กริยาธาตุ วัท (วทฺ ธาตุ) ที่แปลว่าพูด เป็นกริยาที่ Active ถ้าจะบอกว่า ฉันย่อมพูด ก็จะเป็น วะทามิ (อหํ วทามิ) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -มิ วัตตมานาวิภัตติ), พวกเราย่อมพูด เป็น วะทามะ (มยํ วทาม) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -ม วัตตมานาวิภัตติ), เธอย่อมพูด เป็น วะทะสิ (ตฺวํ วทสิ) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -สิ วัตตมานาวิภัตติ), เขา/บุรุษนั้นย่อมพูด เป็น วะทะติ (โส ปุริโส วทติ) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -ติ วัตตมานาวิภัตติ), ฉันพึงพูด เป็น วะเทยยามิ (วเทยฺยามิ) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -เอยฺยามิ สัตตมีวิภัตติ), ฉันจัก/จะพูด เป็น วะทิสสามิ (วทิสฺสามิ) (วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -อิ- อาคม + -สฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ หรือ วทฺ ธาตุ + -อ ปัจจัย + -อิสฺสามิ ภวิสสันติวิภัตติ) ฯลฯ

  • การลงปัจจัย สำหรับธาตุของคำกริยา ก่อนที่จะใส่วิภัตตินั้น อันที่จริงต้องพิจารณาก่อนด้วยว่า

กริยาที่นำมาใช้นั้นเป็นลักษณะปกติหรือมีการแสดงอาการอย่างใดเป็นพิเศษดังต่อไปนี้หรือเปล่า

อัพพยศัพท์ (Indeclinables)

คือกลุ่มคำที่จะไม่ถูกผันไม่ว่าจะนำไปประกอบประโยคส่วนใดก็ตามได้แก่

  1. อุปสรรค
  2. ปัจจัย
  3. นิบาต

อ้างอิง

  1. ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ตอนที่ 76. คอลัมน์ ธรรมะใต้ธรรมมาสน์ โดย ไต้ ตามทาง. เรียกข้อมูลเมื่อ 14-6-52

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

วิกิตำรา มีคู่มือ ตำรา หรือวิธีการเกี่ยวกับ:
ภาษาบาลี
  • สิริ เพ็ชรไชย ป.ธ.9 และวิจินตน์ ภาณุพงศ์, "พระไตรปิฎกปาฬิจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม" ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล, กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ 2551.
  • Siri Petchai and Vichin Phanupong, "Chulachomklao of Siam Pāḷi Tipiṭaka, 1893", Digital Preservation Edition, Dhamma Society Fund 2009.
  • ร.ต.ฉลาด บุญลอย, ประวัติวรรณคดีบาลี, 2527
  • ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์, ประวัติภาษาบาลี : ความเป็นมาและที่สัมพันธ์กับภาษาปรากฤตและสันสกฤต, 2535.
  • ปราณี ฬาพานิช, ภาษาสันสกฤต: คุณค่าในการพัฒนาความเข้าใจภาษาบาลี,2536, หน้า 113-145.
  • Wilhem Geiger, Pali Literatur und Sprache,1892
  • Charles Duroiselle, A Practical Grammar of the Pāli Language 3rd Edition, 1997

ภาษาบาล, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกสำหร, บความหมายอ, บาล, แก, ความกำกวม, บาล, บาล, ปาล, นสกฤต, ปาฬ, งกฤษ, pali, เป, นไวยาก. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxksahrbkhwamhmayxun duthi bali aekkhwamkakwm bali bali pali प ल snskvt प ळ pali xngkvs Pali epniwyakrnthiekaaekaekhnnghnung intrakulxinediy yuorp xinod yuorepiyn insakhayxy xinediy xihran xinod xiereniyn sungcdepnphasaprakvtphasahnung epnthiruckkndiinthanaepnphasathiichbnthukkhmphirinphraphuththsasnanikayethrwath mi phraitrpidk epntn odymilksnathangiwyakrn aelakhasphththikhlaykhlungkbphasasnskvt immixksrchnididsahrbichekhiynphasabaliodyechphaa mihlkthancarukphasabalidwyxksrtang makmayintrakulxksrxinediy echn xksrphrahmi xksrethwnakhri cnthung xksrlanna xksrkhxm xksrithy xksrmxy aemkrathngxksrormn odymikarephimekhruxnghmayelknxy ksamarthichekhiynphasabaliidbaliPalixxkesiyng paːli palipraethsthimikarphudxinediy phma srilngkasuyhayimmiphuichinchiwitpracawn aetmikarichinwrrnkrrmaelakarsuksatrakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xarynbalirabbkarekhiynimmixksrechphaaaenchd aetmibnthukin xksrphrahmi xksrethwnakhri rwmthung xksrlanna xksrkhxm xksrithy xksrmxy xksrormnrhsphasaISO 639 1piISO 639 2pliISO 639 3plixnung bangtarasakd bali wa pali hrux pali kmi enuxha 1 kaenidaelaphthnakar 1 1 phasabaliaelaphasaxrthamkhthi 1 2 phasabaliinpccubn 2 raksphth 3 hnwyesiynginphasabali 4 karekhiynphasabali 5 iwyakrn 5 1 karphnkhanam Noun Declension 5 2 karphnkhakriya Verb Conjugation 5 3 xphphysphth Indeclinables 6 xangxing 7 hnngsuxxanephimetimkaenidaelaphthnakar aekikhchuxeriykphasani khux pali xksrormn Pali nn impraktthimathichdecn aelaepnthithkethiyngeruxymaodyimmikhxsrup edimepnphasakhxngchnchnta sahrbchawphuththodythwipechuxwa phasabalimikaenidcakaekhwnmkhth inchmphuthwip aelaeriykwaphasamkhth hruxphasamakhthi hruxmakhthikowhar sung makhthikowhar phraphuththokhsacaryphraxrrthkthacarynamxuokhsmichiwitxyuinphuththstwrrsthi 10 xthibaywaepn skanirutti khuxphasathiphraphuththecatrs 1 nkphasasastrbangthanmikhwamehnwaphasabaliepnphasathangphakhtawntkkhxngxinediy nkwichakarchaweyxrmnsmypccubnsungepnnksnskvtkhuxsastracaryimekhil witeslaehngmhawithyalyharward shrthxemrika thuxwaphasabaliepnphasathangphakhtawntkkhxngxinediy aelaepnkhnlaphasakbphasacarukkhxng phraecaxoskmharachphasabalimiphthnakarthiyawnan mikarichphasabaliephuxbnthukkhmphirinphraphuththsasna ethrwath epncanwnmak wilehlm ikekxr Wilhem Geiger nkprachybalichaweyxrmn idekhiynhnngsuxthimichuxesiynginsmystwrrsthi 19 khux Pali Literatur und Sprache odywangthvsdithikhnithyruckkndiwaphasabaliinphraitrpidknnsamarthaebngwiwthnakarkaraetngid 4 yukh tamruplksnakhxngphasathiichdngni yukhkhatha hruxyukhrxykrxng milksnakarichkhathiyngekiywphnkbphasaiwthikasungichbnthukkhmphirphraewthxyumak yukhrxyaekw mirupaebbthiepnphasaxinodxarynsmyklang aetktangcaksnskvtaebbphraewthxyangednchd phasainphraitrpidkekhiyninyukhni yukhrxykrxngrayahlng epnchwngewlahlngphraitrpidk praktinkhmphiryxy echn milinthpyha wisuththimrrkh epntn yukhrxykrxngpradisth epnkarphsmphsan rahwangphasayukheka aelaaebbihm klawkhuxkhnaetngsrangkhabaliihm khunichephraaihduswyngam bangthikepnkhasmasyaw sungimpraktinphraitrpidk aesdngihehnchdecnwaaetngkhunhlngcakthimikarekhiynkhmphiraephrhlayaelwpccubnmikarsuksaphasabalixyangkwangkhwanginpraethsthinbthuxphuththsasnaethrwath echn srilngka phma ithy law kmphucha aelaxinediy aemkrathnginxngkvs kmiphusnicsuksaphraphuththsasnaidphakncdtng smakhmbalipkrn Pali Text Society khuninkrunglxndxnkhxngpraethsxngkvs emux ph s 2424 ephuxsuksaphasabaliaelawrrnkhdiphasabali rwmthungkaraeplaelaephyaephr pccubnnn smakhmbalipkrndngklawnimisanknganihyxyuthitablehddingtn inemuxngxxksfxrdkhxngshrachxanackrkhawa bali exngnnaeplwaesnhruxhnngsux aelachuxkhxngphasaninamacakkhawa pali Paḷi xyangirktam chuxphasanimikhwamkhdaeyngkninkareriyk imwacaepnsraxahruxsraxa aelaesiyng l hrux l phasabaliepnphasaekhiynkhxngklumphasaprakvt sungekhiynepnlaylksnxksrinsrilngkaemuxphuththstwrrsthi 5 phasabalicdepnphasaklumxinod xarynyukhklang aetktangcakphasasnskvtimmaknk phasabaliimidsubthxdodytrngcakphasasnskvtphraewthinvkhewth aetxacaphthnamacakphasalukhlanphasaidphasahnungkhadwaphasabaliepnphasathiichinsmyphuththkalechnediywkbphasamkhthobranhruxxaccasubthxdmacakphasani exksarinsasnaphuththethrwatheriykphasabaliwaphasamkhth sungxaccaepnkhwamphyayamkhxngchawphuthththicaoyngtnexngihiklchidkbrachwngsemariya phraphuththecathrngethsnasngsxnthimkhth aetkmisngewchniysthan 4 aehngthixyunxkmkhth cungepnipidthicaichphasaklumxinod xarynyukhklanghlaysaeniynginkarsxn sungxaccaepnphasathiekhaicknid immiphasaklumxinod xarynyukhklangid milksnaechnediywkbphasabali aetmilksnabangprakarthiiklekhiyngkbcarukphraecaxoskmharachthikhirnarthangtawntkkhxngxinediy aelahthikhumphathangtawnxxknkwichakarehnwaphasabaliepnphasalukphsm sungaesdnglksnakhxngphasaprakvthlaysaeniyng inchwngphuththstwrrsthi 2 aelaidphankrabwnkarthaihepnphasasnskvt phrathrrmkhasxnthnghmdkhxngphraphuththsasnathukaeplepnphasabaliephuxekbrksaiw aelainsrilngkayngmikaraeplepnphasasinghlephuxekbrksainrupphasathxngthinxikdwy xyangirktam phasabaliidekidkhunthixinediyinthanaphasathangkarekhiynaelasasna phasabaliidaephripthungsrilngkainphuththstwrrsthi 9 10 aelayngkhngxyuthungpccubn phasabaliaelaphasaxrthamkhthi aekikh phasathiekaaekthisudkhxngklumphasaxinod xarynyukhklangthiphbincaruksmyphraecaxoskmharachkhuxphasabaliaelaphasaxrthamkhthi phasathngsxngniepnphasaekhiyn phasaniimidihmipkwaphasasnskvtkhlassikemuxphicarnaindanlksnathangsthwithyaaelaraksphth thngsxngphasaimidphthnatxenuxngmacakphasasnskvtphraewthsungepnphunthankhxngphasasnskvtkhlassik xyangirktam phasabalimilksnathiiklekhiyngkbphasasnskvtaelamikhwamaetktangxyangepnrabb aelasamarthepliynkhainphasasnskvtipepnkhainphasabaliid aetimidhmaykhwamwakhainphasabaliepnswnhnungkhxngphasasnskvtobranhruxyumkhaodykaraeplngrupcakphasasnskvtidesmxip ephraamikhaphasasnskvtthiyummacakphasabaliechnkn phasabaliinpccubn aekikh sthabnkwdwichadawxngk odyxacaryping epnhnunginsthabnkwdwichathiepidkwdwichaphasabaliinpccubn pccubn karsuksabaliepnipephuxkhwamekhaickhmphirthangphuththsasna aelaepnphasakhxngsamychnthwip sunyklangkarsuksaphasabalithisakhykhuxpraethsthinbthuxsasnaphuththethrwathinexechiytawnxxkechiyngit idaek phma law ithy kmphucha rwmthngsrilngka tngaetphuththstwrrsthi 25 mikarsuksaphasabaliinxinediy inyuorpmismakhmbalipkrnepnhnwynganthisngesrimkareriynphasabaliodynkwichakarchawtawntkthikxtngkhunemux ph s 2424 tngxyuinpraethsxngkvs smakhmnitiphimphphasabalidwyxksrormn aelaaeplepnphasaxngkvs in ph s 2412 idtiphimphphcnanukrmphasabalielmaerk karaeplphasabaliepnphasaxngkvskhrngaerkekidkhunemux ph s 2415rmsahrbedktiphimphemux ph s 2419 nxkcakthixngkvs yngmikarsuksaphasabaliineyxrmn ednmark aelarsesiyechphaainpraethsithynn mikarsuksaphasabaliinwdmachanan aelayngmiepidsxninlksnahlksutrerngrdthimhawithyalysngkhthngsxngaehngklawkhuxmhaculalngkrnrachwithyaly aelamhamkutrachwithyaly odyechphaathimhamkutrachwithyalynn iddaeninkareriynkarsxnphasabaliihbrrdaaemchi sungaebngepn 9 chneriykwa b s 1 9 maepnewlachanan aelapccubnni kmiaemchisaerckarsuksaepriyy 9 tamrabbniephimcanwnmakkhuneruxy dwy miorngeriynsxnphasabali ihkbphiksusamenrthwpraethsithy epnorngeriynphrapriytithrrm nxkcakniinpccubnsthabnthdsxbkarsuksaaehngchatiyngcdsxbkhxsxbkhwamthndthangdanphasabali PAT 7 6 raksphth aekikhkhathukkhainphasabalimitnkaenidediywkbphasaprakvtinklumphasaxinod xarynklangechnphasaprakvtkhxngchawechn khwamsmphnthkbphasasnskvtyukhkxnhnannimchdecnaelasbsxn aetthngphasasnskvtaelaphasabalitangidrbxiththiphlsungknaelakn emuxepriybethiybkbphasasnskvt khwamkhlaykhlungkhxngthngsxngphasaducamakekincringemuxepriybethiybkbphasainyukhhlng sungklayepnphasaekhiynhlngcakthiichphasasnskvtepnphasainchiwitpracawnmahlaystwrrs aelaidrbxiththiphlcakphasainxinediyyukhklang rwmthngkaryumkharahwangkn phasabaliemuxnamaichnganthangsasnacayumkhacakphasathxngthinnxykwa echn karyumkhacakphasasinghlinsrilngka phasabaliimidichbnthukexksarthangsasnaethann aetmikarichngandanxundwy echn ekhiyntaraaephthydwyphasabali aetswnihynkwichakarcasnicdanwrrnkhdiaelasasnahnwyesiynginphasabali aekikhdubthkhwamhlkthi rabbkarxxkesiyngphasabali hnwyphasabali aebngepnhnwyesiyngsra aelahnwyesiyngphyychna dngni hnwyesiyngsra midwykn 8 tw hrux 8 hnwyesiyng idaek xa xa xi xi ex xu xu ox hnwyesiyngphyychna midwykn 33 tw hrux 33 hnwyesiyng inphasasnskvt mi 34 hnwyesiyng odyaebngepnphyychnawrrkh 25 tw aelaphyychnaxwrrkh 8 twtarangaesdnghnwyesiynginphasabali tamaehlngesiyng wrrkh ekhiyndwyxksrithyaelaxksrormnwrrkh sra xokhsa xokhs imkxng okhsa okhs kxng nasikrssra rssa rs s sn thikhsra thikha thikh yaw sithil eba thnit hnk sithil eba thnit hnk knthcha x a a xa a k ka kh kha kh ga kh gha ng ṅatalucha xi i xi i ex e c ca ch cha ch ja ch jha y namuththcha t ṭa th ṭha th ḍa th ḍha n ṇathntcha t ta th tha th da th dha n naoxtthcha xu u xu u ox o p pa ph pha ph ba ph bha m maxwrrkh esswrrkh idaek y ya r ra l la w va s sa h ha l ḷa x aṃ tarangaesdngesiyngsrainbali1 sra xa a a aṃ a sraklang ta esiyngsn pakimhx2 sra xa a aː sraklang ta esiyngyaw pakimhx3 sra xi i i iṃ ĩ srahna sung esiyngsn pakimhx4 sra xi i iː srahna sung esiyngyaw pakimhx5 sra xu u u srahlng sung esiyngsn pakhx6 sra xu u uː uṃ ũ srahlng sung esiyngyaw pakhx7 sra ex e eː hrux eˑ srahna klang esiyngyawhruxesiyngkungyaw pakimhx8 sra ox o oː hrux oˑ srahlng klang esiyngyawhruxesiyngkungyaw pakhxkarekhiynphasabali aekikhdubthkhwamhlkthi rabbkarekhiynphasabali insmyphraecaxoskmharach mikarich xksrphrahmi ekhiyn phasaprakvt sungepnphasathimikhwamiklekhiyngkbphasabali inthangprawtisastr karichphasabaliephuxbnthukkhmphirthangsasnakhrngaerkekidkhunthisrilngka emuxraw ph s 443 aemkarxxkesiyngphasabalicaichhlkkarediywkn aetphasabaliekhiyndwyxksrhlaychnid insrilngkaekhiyndwyxksrsinghl inphmaichxksrphma inithyaelakmphuchaichxksrkhxmhruxxksrekhmraelaepliynmaichxksrithyinpraethsithyemux ph s 2436 aelaekhyekhiyndwyxksrxriykathipradisthkhunepnewlasn inlawaelalannaekhiyndwyxksrthrrmthiphthnamacakxksrmxy nxkcaknn xksrethwnakhriaelaxksrmxngokeliyekhyichbnthukphasabaliechnkntngaetphuththstwrrsthi 24 epntnma smakhmbalipkrninyuorpidphthnakarichxksrlatinephuxekhiynphasabali odyxksrthiichekhiynidaek a a i i u u e o ṁ k kh g gh ṅ c ch j jh n ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l ḷ v s hiwyakrn aekikhphasabaliepnphasathimiwiphttipccytamaebblksnakhxngphasaintrakulxinod yuorepiyn klawkhuxkarnakhamaprakxbinpraoykhcatxngmikarphnkhaodyxaccaetimesiyngtxthayhruxepliynrupkhabang echninphasaxngkvseramkcaehnkaretim s sahrbkhanamphhuphcn hruxetim ed sahrbkriyaxdit aetinphasabalimisingthitxngphicarnamakkwaphasaxngkvsxikhlayxyang karphnkhanam Noun Declension aekikh inthinikhxhmayrwmthng namnam Nouns khunnam Adjectives aelasphnam sph phnam Pronouns sungkarnakhanamehlanimaprakxbpraoykhinphasabalicaphicarnasingtxipni lingkh ling kh Gender hruxephs inphasabalimisamephskhuxchay hying aelaimmiephs bangkhasphthepnidephsediyw bangsphthxacepnidsxnghruxsamephs txngxasykarcdcaethann wcna wcn Number hruxphcn idaek exkwcna aela phhuwcna kark Case karkkhuxhnathikhxngnaminpraoykh xnidaek pthmawiphtti hrux krrtukark kttukark kt tukark Nominative epnprathanhruxphukratha mkaeplodyichkhawa x xnwa thutiyawiphtti hrux krrmkark km mkark kmmkark Accusative epnkrrm sung su ttiyawiphtti hrux krnkark Instrumental epnekhruxngmuxinkarkratha dwy ody xn tam ctutthiwiphtti ctut thi hrux smpthankark sm pthankark Dative epnkrrmrxng aek ephux tx pycmiwiphtti py cmi hrux xpathankark Ablative epnaehlnghruxaednekid aet cak kwa chtthiwiphtti cht thi hrux smphnthkark sm phn thkark Genitive epnecakhxng aehng khxng sttmiwiphtti st tmi hrux xthikrnkark Locative sthanthi thi in xalpnawiphtti xalpn hrux smophthnakark sm ophthnakark Vocative xuthan eriyk dukxn srakarnt srkarn t Termination Vowel khuxsralngthaykhxngkhasphththiepnnam ephraasralngthaythitang kn kcatxngetimwiphttithitang kniptwxyangechn khawa sng kh khanimisra xa epnkarntaelaephschay emuxnaipichepnprathanexkphcn krrtukark exkphcn caphnepn sng okh sng kh si pthmawiphtti prathanphhuphcn krrtukark phhuphcn epn sng kha sng kh oy pthmawiphtti krrmtrngexkphcn krrmkark exkphcn epn sng kh sng kh x thutiyawiphtti krrmrxngexkphcn smpthankark exkphcn epn sng khs s sng kh s ctutthiwiphtti l hruxkhawa phik khu khanimisra xu epnkarntaelaephschay emuxnaipichepnprathanexkphcn krrtukark exkphcn kphnepn phik khu phik khu si pthmawiphtti prathanphhuphcn krrtukark phhuphcn epn phik khow hrux phik khu phik khu oy pthmawiphtti krrmtrngexkphcn krrmkark exkphcn epn phik khu phik khu x thutiyawiphtti krrmrxngexkphcn smpthankark exkphcn epn phik khus s hrux phik khuon phik khu s ctutthiwiphtti l karphnkhakriya Verb Conjugation aekikh khakriyahruxthieriykwaxakhyat xakh yat ekidcakkarnathatukhxngkriyamalngpccy pc cy aelaiswiphtti wipht ti tamaetlksnakarichnganinpraoykh kariswiphtti ephuxprbkriyannihehmaasmkbsthankarnthikalngnaipich misingthicaphicarnadngni kal Tense duwakriyannekidkhuninewlaid pccubnkal pc cup pn nkal xditkal xtitkal xnakhtkal wiphttixakhyat wttmana wt tmana cak wt t thatu ekidkhun x pccy man pccyinkiriyakitk Present Indicative kriyapccubn ichinpraoykhbxkela pycmi py cmi Present Imperative ichinpraoykhkhasng hruxkhxihtha sttmi st tmi Present Optative ichbxkwakhwrcatha phungkratha porkkha pork kha pork kh pr ox xakhm xk kh xa pccy Indefinite Past kriyaxditthilwngaelw ekincaru kalniimkhxymiichaelw miichechphaa xah ph ru thatu phud x pccy x porkkhawiphtti aela xahu ph ru thatu phud x pccy xu porkkhawiphtti hiyttni hiyt tni cak hiy oy wiessnnibat emuxwan xt tn pccy Definite Past kriyaxditthiphanipemuxwan xchchttni xch cht tni cak xch ch wiessnnibat xim ch ch pccy aethnsttmiwiphtti inwnni xiem xims mi xt tn pccy Recently Past kriyathiphanipemuxerw ni hruxinwnni phwissnti phwis sn ti macak phu thatu x pccy xis sn ti wiphtti hrux phu thatu x pccy xi xakhm s sn ti wiphtti Future kriyathicakratha kalatiptti kalatipt ti kal xtipt ti xti xupsrrkh pt ti Conditional kriyathikhidwanacathaaetkimidtha hakaemnwa bth pth Voice duwakriyannekidkbikhr prssbth prs spth Active epnkarkrathaxnsngphlkbphuxun epnkrrtuwack kb ehtukrrtuwack xttonbth xt tonpth Reflective epnkarkrathaxnsngphlkbtwexng hruxmisphawaepnxyangnnxyuexng epnkrrmwack phawwack aela ehtukrrmwack wcna wcn Number ehmuxnkhanamkhuxaebngepnexkwcnaaelaphhuwcna sungwcnakhxngkriyaktxngkhunkbwcnakhxngnamphukratha burus puris Person bxkburusphukrathakriya burusinphasabalinicaklbkbphasaxngkvskhux burusthihnung pthm puris hmaythungphuxun ekha t khunnam os purios et purisa burusthisxng mch chim puris hmaythungphuthikalngphuddwy ethx tum h t w tum eh sphphnam burusthisam xut tm puris hmaythungphuthikalngphud chn xm h xh my sphphnam twxyangechn kriyathatu wth wth thatu thiaeplwaphud epnkriyathi Active thacabxkwa chnyxmphud kcaepn wathami xh wthami wth thatu x pccy mi wttmanawiphtti phwkerayxmphud epn wathama my wtham wth thatu x pccy m wttmanawiphtti ethxyxmphud epn wathasi t w wthsi wth thatu x pccy si wttmanawiphtti ekha burusnnyxmphud epn wathati os purios wthti wth thatu x pccy ti wttmanawiphtti chnphungphud epn waethyyami wethy yami wth thatu x pccy exy yami sttmiwiphtti chnck caphud epn wathissami wthis sami wth thatu x pccy xi xakhm s sami phwissntiwiphtti hrux wth thatu x pccy xis sami phwissntiwiphtti l karlngpccy sahrbthatukhxngkhakriya kxnthicaiswiphttinn xnthicringtxngphicarnakxndwywakriyathinamaichnnepnlksnapktihruxmikaraesdngxakarxyangidepnphiessdngtxipnihruxepla swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxphphysphth Indeclinables aekikh khuxklumkhathicaimthukphnimwacanaipprakxbpraoykhswnidktamidaek xupsrrkh pccy nibatxangxing aekikh khwamepnmakhxngphraitrpidk txnthi 76 khxlmn thrrmaitthrrmmasn ody it tamthang eriykkhxmulemux 14 6 52hnngsuxxanephimetim aekikh wikitara mikhumux tara hruxwithikarekiywkb phasabali siri ephchrichy p th 9 aelawicintn phanuphngs phraitrpidkpaliculcxmeklabrmthmmikmharach r s 112 xksrsyam chbbxnurksdicithl kxngthunsnthnathmmnasukh 2551 Siri Petchai and Vichin Phanupong Chulachomklao of Siam Paḷi Tipiṭaka 1893 Digital Preservation Edition Dhamma Society Fund 2009 r t chlad buylxy prawtiwrrnkhdibali 2527 pthmphngs ophthiprasiththinnth prawtiphasabali khwamepnmaaelathismphnthkbphasaprakvtaelasnskvt 2535 prani laphanich phasasnskvt khunkhainkarphthnakhwamekhaicphasabali 2536 hna 113 145 Wilhem Geiger Pali Literatur und Sprache 1892 Charles Duroiselle A Practical Grammar of the Pali Language 3rd Edition 1997ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasabali amp oldid 9258012, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม