fbpx
วิกิพีเดีย

คาร์ล ฟรีดริช เกาส์

โยฮัน คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (เยอรมัน: Johann Carl Friedrich Gauß) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2320 (ค.ศ. 1777) เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) เป็นหนึ่งในตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ (นักคณิตศาสตร์บางท่านกล่าวว่าสี่ผู้ยิ่งใหญ่ของวงการคณิตศาสตร์มี อาร์คิมิดีส นิวตัน เกาส์ และออยเลอร์) ได้รับฉายาว่า "เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์" (Prince of Mathematics) เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้วย

คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (1777–1855), วาดโดยChristian Albrecht Jensen
เกิดโยฮัน คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
30 เมษายน ค.ศ. 1777(1777-04-30)
เบราน์ชไวค์, Principality of Brunswick-Wolfenbüttel
เสียชีวิต23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1855 (77 ปี)
เกิททิงเงิน, ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์, สมาพันธรัฐเยอรมัน
สัญชาติเยอรมัน
ศิษย์เก่าCollegium Carolinum, มหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน, University of Helmstedt
มีชื่อเสียงจากSee full list
รางวัลLalande Prize (1809)
Copley Medal (1838)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาคณิตศาสตร์ และฟิสิกส์
สถาบันที่ทำงานมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน
ThesisDemonstratio nova... (1799)
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกJohann Friedrich Pfaff
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆJohann Christian Martin Bartels
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกJohann Listing
Christian Ludwig Gerling
Richard Dedekind
แบร์นฮาร์ท รีมัน
Christian Peters
Moritz Cantor
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆJohann Encke
Christoph Gudermann
Peter Gustav Lejeune Dirichlet
Gotthold Eisenstein
Carl Wolfgang Benjamin Goldschmidt
กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ
Ernst Kummer
August Ferdinand Möbius
L. C. Schnürlein
Julius Weisbach
Sophie Germain (epistolary correspondent)
ได้รับอิทธิพลจากFerdinand Minding
ลายมือชื่อ

ประวัติ

วัยเด็ก

เกาส์เกิดที่เมืองเบราน์ชไวค์ ในวัยเยาว์เป็นที่กล่าวขวัญกันอย่างกว้างขวางว่า เกาส์เป็นอัจฉริยะทางด้านตัวเลข เมื่อชราแล้ว เกาส์ยังได้เล่ามุกตลกว่า เขาสามารถบวกเลขได้ก่อนที่เขาจะพูดได้เสียอีก กล่าวกันว่า เกอเทอสามารถแต่งบทละครสำหรับเด็กได้ตั้งแต่อายุ 6 ขวบ ส่วนโมซาร์ทก็สามารถแต่งทำนองเพลง Twinkle Twinkle Little Star ได้ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ แต่สำหรับเกาส์แล้ว เป็นที่กล่าวกันว่า เกาส์สามารถตรวจสอบแก้ไขเลขบัญชีของบิดาได้ตั้งแต่อายุ 3 ขวบเท่านั้น

อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ที่แสดงความอัจฉริยะของเกาส์ให้คนทั่วไปได้ทราบ เกิดขึ้นเมื่อเขายังเป็นเด็กชายเกาส์อายุ 7 ขวบ ในห้องเรียนวันหนึ่ง ครูสั่งให้นักเรียนบวกเลขตั้งแต่ 1 ถึง 100 ครูเพียงแค่หันหลังไป เด็กชายเกาส์ก็ตอบขึ้นมาว่า 5,050 เมื่อถูกถามว่าได้คำตอบนั้นมาได้อย่างไรวิธีของเขาก็คือ กำหนดให้ s=1+2+3+...+98+99+100 (1) s=100+99+98+...+3+2+1 (2) นำสมการ(1)และ(2)มาบวกกันจะได้ว่า 2s=101+101+...+101+101 ซึ่งก็คือ 101 บวกกันทั้งหมด 100 ครั้ง =100*101 ดังนั้น s=(100*101)/2 = 5,050

ช่วงเรียนมหาวิทยาลัย

เกาส์ได้รับทุนให้เข้าศึกษาในระดับวิทยาลัยและได้ค้นพบซ้ำทฤษฎีบทที่สำคัญหลายชิ้นด้วยตนเอง

การสร้างรูป n เหลี่ยมด้านเท่าด้วยไม้บรรทัดและวงเวียน

จุดก้าวเปลี่ยนสำคัญเกิดขึ้น เมื่อเขาได้พิสูจน์ว่ารูปเหลี่ยมด้านเท่าจำนวน   ด้าน (n-gon) ใด ๆ สามารถเขียนได้โดยใช้เพียงไม้บรรทัดและวงเวียน ถ้าตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะของ   ที่เป็นจำนวนคี่ล้วนเป็นจำนวนเฉพาะแฟร์มาต์ (Fermat primes) ที่ไม่ซ้ำกัน ผลงานนี้ นับว่าเป็นการต่อยอดความคิดของคณิตศาสตร์สมัยกรีกโบราณ ที่หยุดนิ่งมาถึง 2,000 ปี โดยนักคณิตศาสตร์ของกรีกโบราณ ทราบเพียงว่ามีเพียงรูป 3, 4, 5 และ 15 เหลี่ยมด้านเท่า เท่านั้น ที่สร้างได้ด้วยไม้บรรทัดและวงเวียน เกาส์เองรู้สึกภูมิใจกับมันมาก ถึงขนาดที่เขาขอให้มีการแกะสลักรูป 17 เหลี่ยมด้านเท่า (17-gon) ไว้ที่บนป้ายเหนือหลุมฝังศพของเขา

ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต

วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเกาส์เป็นอีกหนึ่งความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์สมัยนั้น เมื่อเกาส์เป็นผู้แรกที่สามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต (fundamental theorem of algebra) ซึ่งกล่าวคร่าว ๆ ว่าทุกสมการพหุนามอันดับใด ๆ จะมีคำตอบอยู่ในรูปจำนวนเชิงซ้อนเสมอ ทฤษฎีบทนี้ช่วยให้วงการคณิตศาสตร์เข้าใจว่าจำนวนเชิงซ้อนมีบทบาทสำคัญมากเพียงใด และยังเป็นทฤษฎีบทที่นักคณิตศาสตร์เช่น ดาลองแบร์, ออยเลอร์, ลากรองช์ หรือ ลาปลาส ต่างได้เคยพยายามพิสูจน์แล้ว ยิ่งไปกว่านั้นในช่วงชีวิตของเกาส์ เขาได้ให้บทพิสูจน์ทฤษฎีบทนี้ถึง 4 รูปแบบที่ต่างกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใจในคุณสมบัติของจำนวนเชิงซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ

มหาวิทยาลัยเกิตติงเกน

 
รัฐบาลของเยอรมนีได้ให้เกียรติพิมพ์รูปของเกาส์บนแบงค์ 10 ดอยช์มาร์ก ในปี พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993)

ในช่วงนี้เกาส์ได้รับการสนับสนุนจาก 'ดุ๊ก' หรือผู้ปกครองเมืองบรันสวิก มาโดยตลอด ทว่าเกาส์ไม่คิดว่างานทางด้านคณิตศาสตร์ จะได้รับการสนับสนุนในระยะยาวอย่างมั่นคง เกาส์จึงตัดสินใจรับตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านดาราศาสตร์ และหัวหน้าหอสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยเกิตติงเกน

ผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีจำนวน

ผลงานสำคัญของเกาส์ในด้านทฤษฎีจำนวน คือหนังสือที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2344 (ค.ศ. 1801) ชื่อว่า Disquisitiones Arithmeticae เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ เกี่ยวกับการนำเสนอ เลขคณิตมอดุลาร์ (modular arithmetic) ที่เป็นระบบจำนวนภายใต้การหารแบบเหลือเศษ และบทพิสูจน์แรกของทฤษฎี ส่วนกลับกำลังสอง (quadratic reciprocity) ซึ่งในปัจจุบันมีบทพิสูจน์ที่แตกต่างกันหลายแบบ แต่เกาส์เป็นคนแรกที่พิสูจน์ทฤษฎีบทนี้ได้ ในปี พ.ศ. 2339 (ค.ศ. 1796)

ผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีแม่เหล็กและไฟฟ้า

ในปี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) เกาส์ได้ร่วมงานกับ วิลเฮล์ม เวเบอร์ ซึ่งเป็นนักฟิสิกส์ วิจัยเกี่ยวกับแม่เหล็ก สร้างสหพันธ์แม่เหล็ก (Magnetic Union) โดยร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแม่เหล็กโลก งานเกี่ยวกับแม่เหล็กของเกาส์และเวเบอร์ ได้ถูกนำไปพัฒนาเป็นเครื่องโทรเลขในยุคแรก ๆ นอกจากนี้ยังค้นพบ กฎของเกาส์ ในสนามไฟฟ้า ซึ่งนำไปสู่ กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์ (โดยรวมกับไดเวอร์เจนซ์ของ กฎของแอมแปร์) ที่เป็นหนึ่งในกฎพื้นฐานที่สุดของวงจรไฟฟ้า

ในความเรียง Treatise on Electricity and Magnetism (1873) ที่มีชื่อเสียงของ เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ เขาได้กล่าวชื่นชมเกาส์ว่า เกาส์ได้สร้างวิทยาศาสตร์ของแม่เหล็กขึ้นมาเลยทีเดียว

วิธีกำลังสองต่ำสุด ความผิดพลาดในการวัด และการกระจายตัวแบบเกาส์

ในปี ค.ศ. 1809 เกาส์ได้ทำงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องการเคลื่อนไหวของวัตถุท้องฟ้า และได้สร้างค่าคงที่แรงโน้มถ่วงของเกาส์ ขึ้นมา นอกจากนี้ในงานวิจัยชิ้นนี้ยังได้คิดค้น วิธีกำลังสองต่ำสุด (method of least squares) ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปในวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน ในการลดผลกระทบจากค่าความผิดพลาดจากการวัดให้เหลือน้อยที่สุด โดยเกาส์ได้พิสูจน์ถึงความถูกต้องของวิธีนี้ เมื่อมีสมมุติฐานว่าค่าความผิดพลาดที่เกิดจากการวัดมี การกระจายตัวแบบปกติ (normal distribution) (เป็นสาเหตุให้คนทั่วไปนิยมเรียกกันว่าการกระจายตัวแบบเกาส์ (gaussian distribution)) (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ทฤษฎีบทเกาส์-มาร์คอฟ) แม้ว่าวิธีกำลังสองต่ำสุดนี้มีนักคณิตศาสตร์ชื่อดังคือ เอเดรียน-แมรี เลอจองด์ ได้นำเสนอไว้ก่อนแล้วในปี พ.ศ. 2348 (ค.ศ. 1805) แต่เกาส์อ้างว่าเขาคิดค้นและใช้วิธีนี้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2338 (ค.ศ. 1795)

เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด

ที่ผ่านมาจะเห็นว่า งานที่ตีพิมพ์ของเกาส์แต่ละอย่างนั้น ส่งผลกระทบต่อวงการวิชาการมากมายมหาศาล แต่อย่างไรก็ตาม งานของเกาส์ที่ไม่ถูกตีพิมพ์ก็ยิ่งใหญ่ไม่แพ้กัน ยกตัวอย่างเช่น เกาส์ได้ค้นพบ เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด (non-Euclidean geometries) ซึ่งส่งผลกระทบสำคัญ ต่อจินตนาการของมนุษย์ต่อธรรมชาติและโครงสร้างจักรวาล เทียบเคียงได้กับ การปฏิวัติของโคเปอร์นิคัส ในสาขาดาราศาสตร์เลยทีเดียว เนื่องจากตั้งแต่สมัยยุคลิด จนกระทั่งถึงสมัยของเกาส์นั้น สัจพจน์ทั้งหลายในเรขาคณิตแบบยุคลิด ถือว่าเป็นความจริงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม นักคณิตศาสตร์รุ่นถัดมาจนถึงเกาส์ ก็สงสัยการกำหนดสัจพจน์บางอย่างของยุคลิดมาตลอด โดยเฉพาะสัจพจน์เส้นขนาน ที่กล่าวว่า

  • กำหนดเส้นตรงหนึ่งเส้น และกำหนดจุดหนึ่งจุดที่ไม่ได้อยู่บนเส้นตรงนั้น จะมีเพียงเส้นตรงเส้นเดียวที่ผ่านจุดนั้นและขนานกับเส้นตรงเส้นแรก

นักคณิตศาสตร์ได้สงสัยมานานว่า ทำไมเรื่องเส้นขนานนี้ถึงต้องเป็นสัจพจน์ เนื่องจากสัจพจน์ควรจะเป็นอะไรที่เข้าใจได้ง่าย ๆ เช่น สัจพจน์ของจุด เป็นต้น เรื่องเส้นขนานที่ค่อนข้างซับซ้อนนั้น ควรที่จะเป็นทฤษฎีบท คือสามารถพิสูจน์ได้ด้วยสัจพจน์ที่เป็นมูลฐานอื่น ๆ มากกว่าที่จะเป็นสัจพจน์เสียเอง ยุคลิดเองก็ดูลังเลกับสัจพจน์ข้อนี้ โดยได้ให้เป็นสัจพจน์ข้อสุดท้ายในระบบเรขาคณิตของเขา อย่างไรก็ตาม ไม่มีนักคณิตศาสตร์คนใดสามารถพิสูจน์สัจพจน์เส้นขนานนี้ได้สำเร็จ

โดยจากสมุดบันทึกของเกาส์ที่พบ เราทราบว่า เกาส์เองก็ได้ลองพยายามพิสูจน์ประเด็นนี้ เมื่ออายุ 15 ปี และก็ล้มเหลวเช่นเดียวกันกับคนอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ความล้มเหลวของเกาส์ต่างจากคนอื่น ๆ ตรงที่ในเวลาถัดมาเกาส์เริ่มตระหนักว่า ระบบเรขาคณิตแบบยุคลิด ไม่ใช่ระบบเรขาคณิตเพียงระบบเดียวที่เป็นไปได้ เกาส์คิดค้นประเด็นนี้อยู่หลายปี และในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) เกาส์ก็ได้ทฤษฎีบทเต็มรูปแบบของ เรขาคณิตนอกแบบยุคลิด

อย่างไรก็ตาม เกาส์ไม่ได้เปิดเผยผลงานชิ้นนี้ต่อสาธารณะ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2372 (ค.ศ. 1829) และ พ.ศ. 2375 (ค.ศ. 1832) ซึ่ง โลบาชอฟสกี (Lobachevsky) นักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย และ ยาโนส โบลยาอี (Johann Bolyai) นักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี ได้ตีพิมพ์งานชิ้นนี้ (โดยไม่ขึ้นต่อกัน) เช่นเดียวกัน ซึ่งพ่อของโบลยาอี ซึ่งเป็นเพื่อนของเกาส์ ได้นำข่าวดีของลูกชายตัวเองมาเล่าให้เกาส์ฟัง และก็ต้องตกตะลึง เมื่อเกาส์ไปรื้องานเก่า ๆ ในลังของตัวเองมาให้ดู โดยโบลยาอีผู้ลูกถึงกับพูดว่า "ผมรู้สึกเหมือนเดินอยู่ในฝ่ามือของยักษ์ใหญ่"

เหตุผลที่เกาส์ไม่ยอมตีพิมพ์งานของตัวเองนั้นเรียบง่ายมาก เพราะเนื่องจากในเยอรมันสมัยนั้น มีนักปรัชญาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งคือ อิมมานูเอิล คานท์ อยู่ โดยคานท์ได้คิดและวางหลักการต่าง ๆ เกี่ยวกับความรู้มนุษย์ไว้มากมาย และคนทั่วไปก็ยอมเชื่อฟังแนวคิดของคานท์ โดยคานท์ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ระบบเรขาคณิตของยุคลิด เป็นความเป็นไปได้เพียงหนึ่งเดียวในการคิดเกี่ยวกับเรื่องของ มิติ อวกาศ หรือ ปริภูมิ (space) ซึ่งเกาส์ทราบเป็นอย่างดีว่าความคิดนี้ผิด แต่ด้วยเกาส์เป็นคนที่มีบุคลิกรักสันโดษและความสงบ เกาส์จึงตัดสินใจที่จะไม่ไปโต้เถียงเรื่องนี้ ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่มาก กับเหล่านักปรัชญาที่สนับสนุนแนวคิดของคานท์

ฟังก์ชันเชิงวงรี

นอกจากนั้น ในงานที่ไม่ได้ตีพิมพ์อื่น ๆ เกาส์ยังได้ค้นพบทฤษฎีของ ฟังก์ชันเชิงวงรี (elliptic functions) หลาย ๆ อย่าง ซึ่งสำคัญมากในสาขาคณิตวิเคราะห์ (mathematical analysis) ก่อนหน้า ปีเตอร์ กุสตาฟ ยาโคบี และ นีลส์ เฮนริก อาเบล ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นผู้ค้นพบสองคนแรก ตั้งแต่ตอนที่สองคนนี้ยังไม่เกิด

ทุกครั้งที่ยาโคบีค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ยาโคบีจะมาหาเกาส์ด้วยความดีใจ และในแทบทุกครั้ง ยาโคบีต้องถึงกับตะลึง เมื่อเกาส์ได้โชว์งานเก่า ๆ ของตัวเองในลังใบเดิม. ๆ ให้ดู ยาโคบีถึงกับพูดกับน้องชายของเขาว่า

วงการคณิตศาสตร์คงจะพัฒนาไปอีกไกลเป็นแน่แท้ ถ้าพวกดาราศาสตร์ปฏิบัติ ไม่ดึงตัวสุดยอดอัจฉริยะผู้นี้ ออกไปจากวิถีที่ยิ่งใหญ่ของเขา

Mathematics would be in a very different position if practical astronomy had not diverted this colossal genius from his glorious career

ช่วงท้ายของชีวิต

แม้ว่าเกาส์ไม่ชอบสอนหนังสือ แต่ลูกศิษย์ของเขาหลายคน เช่น ริชาร์ด เดเดคินด์ และ แบร์นฮาร์ด รีมันน์ ก็เป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่เช่นกัน

เกาส์เสียชีวิตในเมืองเกิตติงเกนในฮันโนเฟอร์ (ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี) และก็ถูกฝังที่สุสาน โดยมีเหล่าลูกศิษย์เอกเช่น เดเดคินด์ เป็นผู้แบกโลงศพของเกาส์

อ้างอิง

  1. Werke, vol. VIII, pp. 159-268, 1900
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
  • Dunham, W. The Mathematical Universe,Wiley, 1997. ผู้เขียนได้รับรางวัลผู้แต่งหนังสือยอดเยี่ยมสำหรับประชาชนธรรมดา
  • Simmons, G. F, Differential Equations with Applications and Historical Notes, 2nd Edition, McGraw-Hill, (1991) เป็นหนังสือสมการเชิงอนุพันธ์ที่ได้ใส่เกร็ดเกี่ยวกับประวัติของคณิตศาสตร์ไว้อย่างสนุกสนานและน่าตื่นเต้นติดตาม
  • Simmons, J, The giant book of scientists -- The 100 greatest minds of all time, Sydney: The Book Company, (1996)
  • Dunnington, G. Waldo, Carl Friedrich Gauss: Titan of Science, The Mathematical Association of America; (June 2003)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • MacTutor ประวัติของเกาส์
  • Carl Frederick Gauss, เว็บไซต์ที่ทำโดยหลานของหลานของหลานของหลานของเกาส์ ซึ่งรวบรวมจดหมายที่เขาเขียนถึงบุตรชายชื่อยูจีน และต้นไม้ตระกูลของเกาส์
  • Gauss and His Children, เว็บไซต์สำหรับนักวิจัยเกี่ยวกับเกาส์และลูกหลานของเกาส์
  • Gauss, แหล่งรวมข้อมูลทั่วไป สามารถส่งเว็บไซต์ของคุณที่เกี่ยวกับเกาส์ไปที่นี่ได้
  • MNRAS 16 (1856) 80

คาร, ฟร, ดร, เกาส, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกโยฮ, เยอรม, johann, carl, friedrich, gauß, กคณ, ตศาสตร, ชาวเยอรม, เก, ดเม, อว. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkoyhn kharl fridrich ekas eyxrmn Johann Carl Friedrich Gauss nkkhnitsastrchaweyxrmn ekidemuxwnthi 30 emsayn ph s 2320 kh s 1777 esiychiwit 23 kumphaphnth ph s 2398 kh s 1855 epnhnungintanannkkhnitsastrphuyingihythisudinprawtisastr nkkhnitsastrbangthanklawwasiphuyingihykhxngwngkarkhnitsastrmi xarkhimidis niwtn ekas aelaxxyelxr idrbchayawa ecachayaehngkhnitsastr Prince of Mathematics enuxngcakxuthisphlnganinthuk dankhxngkhnitsastrinyukhsmykhxngekha nxkcakniekasyngmiphlngansakhythangdanfisiks odyechphaadandarasastrxikdwykharl fridrich ekaskharl fridrich ekas 1777 1855 wadodyChristian Albrecht Jensenekidoyhn kharl fridrich ekas 30 emsayn kh s 1777 1777 04 30 ebranchiwkh Principality of Brunswick Wolfenbuttelesiychiwit23 kumphaphnth kh s 1855 77 pi ekiththingengin rachxanackrhnonefxr smaphnthrtheyxrmnsychatieyxrmnsisyekaCollegium Carolinum mhawithyalyekiththingengin University of HelmstedtmichuxesiyngcakSee full listrangwlLalande Prize 1809 Copley Medal 1838 xachiphthangwithyasastrsakhakhnitsastr aelafisikssthabnthithanganmhawithyalyekiththingenginThesisDemonstratio nova 1799 xacarythipruksainradbpriyyaexkJohann Friedrich Pfaffxacarythipruksaxun Johann Christian Martin BartelsluksisyinradbpriyyaexkJohann ListingChristian Ludwig GerlingRichard Dedekindaebrnharth rimnChristian PetersMoritz Cantorluksisythimichuxesiyngxun Johann EnckeChristoph GudermannPeter Gustav Lejeune DirichletGotthold EisensteinCarl Wolfgang Benjamin Goldschmidtkusthf ekhiyrchhxfErnst KummerAugust Ferdinand MobiusL C SchnurleinJulius WeisbachSophie Germain epistolary correspondent idrbxiththiphlcakFerdinand Mindinglaymuxchux enuxha 1 prawti 1 1 wyedk 1 2 chwngeriynmhawithyaly 1 2 1 karsrangrup n ehliymdanethadwyimbrrthdaelawngewiyn 1 2 2 thvsdibthmulthankhxngphichkhnit 1 3 mhawithyalyekittingekn 1 3 1 phlnganekiywkbthvsdicanwn 1 3 2 phlnganekiywkbthvsdiaemehlkaelaiffa 1 3 3 withikalngsxngtasud khwamphidphladinkarwd aelakarkracaytwaebbekas 1 3 4 erkhakhnitnxkaebbyukhlid 1 3 5 fngkchnechingwngri 1 4 chwngthaykhxngchiwit 2 xangxing 3 duephim 4 aehlngkhxmulxunprawti aekikhwyedk aekikh ekasekidthiemuxngebranchiwkh inwyeyawepnthiklawkhwyknxyangkwangkhwangwa ekasepnxcchriyathangdantwelkh emuxchraaelw ekasyngidelamuktlkwa ekhasamarthbwkelkhidkxnthiekhacaphudidesiyxik klawknwa ekxethxsamarthaetngbthlakhrsahrbedkidtngaetxayu 6 khwb swnomsarthksamarthaetngthanxngephlng Twinkle Twinkle Little Star idtngaetxayu 5 khwb aetsahrbekasaelw epnthiklawknwa ekassamarthtrwcsxbaekikhelkhbychikhxngbidaidtngaetxayu 3 khwbethannxyangirktam ehtukarnthiaesdngkhwamxcchriyakhxngekasihkhnthwipidthrab ekidkhunemuxekhayngepnedkchayekasxayu 7 khwb inhxngeriynwnhnung khrusngihnkeriynbwkelkhtngaet 1 thung 100 khruephiyngaekhhnhlngip edkchayekasktxbkhunmawa 5 050 emuxthukthamwaidkhatxbnnmaidxyangirwithikhxngekhakkhux kahndih s 1 2 3 98 99 100 1 s 100 99 98 3 2 1 2 nasmkar 1 aela 2 mabwkkncaidwa 2s 101 101 101 101 sungkkhux 101 bwkknthnghmd 100 khrng 100 101 dngnn s 100 101 2 5 050 chwngeriynmhawithyaly aekikh ekasidrbthunihekhasuksainradbwithyalyaelaidkhnphbsathvsdibththisakhyhlaychindwytnexng karsrangrup n ehliymdanethadwyimbrrthdaelawngewiyn aekikh cudkawepliynsakhyekidkhun emuxekhaidphisucnwarupehliymdanethacanwn n displaystyle n dan n gon id samarthekhiynidodyichephiyngimbrrthdaelawngewiyn thatwprakxbthiepncanwnechphaakhxng n displaystyle n thiepncanwnkhilwnepncanwnechphaaaefrmat Fermat primes thiimsakn phlnganni nbwaepnkartxyxdkhwamkhidkhxngkhnitsastrsmykrikobran thihyudningmathung 2 000 pi odynkkhnitsastrkhxngkrikobran thrabephiyngwamiephiyngrup 3 4 5 aela 15 ehliymdanetha ethann thisrangiddwyimbrrthdaelawngewiyn ekasexngrusukphumiickbmnmak thungkhnadthiekhakhxihmikaraekaslkrup 17 ehliymdanetha 17 gon iwthibnpayehnuxhlumfngsphkhxngekha thvsdibthmulthankhxngphichkhnit aekikh withyaniphnthpriyyaexkkhxngekasepnxikhnungkhwamkawhnaxnyingihyinwngkarkhnitsastrsmynn emuxekasepnphuaerkthisamarthphisucnthvsdibthmulthankhxngphichkhnit fundamental theorem of algebra sungklawkhraw wathuksmkarphhunamxndbid camikhatxbxyuinrupcanwnechingsxnesmx thvsdibthnichwyihwngkarkhnitsastrekhaicwacanwnechingsxnmibthbathsakhymakephiyngid aelayngepnthvsdibththinkkhnitsastrechn dalxngaebr xxyelxr lakrxngch hrux laplas tangidekhyphyayamphisucnaelw yingipkwanninchwngchiwitkhxngekas ekhaidihbthphisucnthvsdibthnithung 4 rupaebbthitangknodysineching sungthaihekidkhwamekhaicinkhunsmbtikhxngcanwnechingsxnmakkhuneruxy mhawithyalyekittingekn aekikh rthbalkhxngeyxrmniidihekiyrtiphimphrupkhxngekasbnaebngkh 10 dxychmark inpi ph s 2536 kh s 1993 inchwngniekasidrbkarsnbsnuncak duk hruxphupkkhrxngemuxngbrnswik maodytlxd thwaekasimkhidwanganthangdankhnitsastr caidrbkarsnbsnuninrayayawxyangmnkhng ekascungtdsinicrbtaaehnngsastracarydandarasastr aelahwhnahxsngektkarnthangdarasastr thimhawithyalyekittingekn phlnganekiywkbthvsdicanwn aekikh phlngansakhykhxngekasindanthvsdicanwn khuxhnngsuxthitiphimphinpi ph s 2344 kh s 1801 chuxwa Disquisitiones Arithmeticae enuxhainhnngsuxelmni ekiywkbkarnaesnx elkhkhnitmxdular modular arithmetic thiepnrabbcanwnphayitkarharaebbehluxess aelabthphisucnaerkkhxngthvsdi swnklbkalngsxng quadratic reciprocity sunginpccubnmibthphisucnthiaetktangknhlayaebb aetekasepnkhnaerkthiphisucnthvsdibthniid inpi ph s 2339 kh s 1796 phlnganekiywkbthvsdiaemehlkaelaiffa aekikh inpi ph s 2374 kh s 1831 ekasidrwmngankb wilehlm ewebxr sungepnnkfisiks wicyekiywkbaemehlk srangshphnthaemehlk Magnetic Union odyrwmmuxkbpraethstang thwolk ephuxsuksaekiywkbaemehlkolk nganekiywkbaemehlkkhxngekasaelaewebxr idthuknaipphthnaepnekhruxngothrelkhinyukhaerk nxkcakniyngkhnphb kdkhxngekas insnamiffa sungnaipsu kdkhxngekhirchhxff odyrwmkbidewxrecnskhxng kdkhxngaexmaepr thiepnhnunginkdphunthanthisudkhxngwngcriffainkhwameriyng Treatise on Electricity and Magnetism 1873 thimichuxesiyngkhxng ecms ekhlirk aemksewll ekhaidklawchunchmekaswa ekasidsrangwithyasastrkhxngaemehlkkhunmaelythiediyw withikalngsxngtasud khwamphidphladinkarwd aelakarkracaytwaebbekas aekikh inpi kh s 1809 ekasidthanganwicyekiywkberuxngkarekhluxnihwkhxngwtthuthxngfa aelaidsrangkhakhngthiaerngonmthwngkhxngekas khunma nxkcakniinnganwicychinniyngidkhidkhn withikalngsxngtasud method of least squares sungepnwithithiichknthwipinwithyasastrpccubn inkarldphlkrathbcakkhakhwamphidphladcakkarwdihehluxnxythisud odyekasidphisucnthungkhwamthuktxngkhxngwithini emuxmismmutithanwakhakhwamphidphladthiekidcakkarwdmi karkracaytwaebbpkti normal distribution epnsaehtuihkhnthwipniymeriykknwakarkracaytwaebbekas gaussian distribution duraylaexiydephimetimthi thvsdibthekas markhxf aemwawithikalngsxngtasudniminkkhnitsastrchuxdngkhux exedriyn aemri elxcxngd idnaesnxiwkxnaelwinpi ph s 2348 kh s 1805 aetekasxangwaekhakhidkhnaelaichwithinimatngaetpi ph s 2338 kh s 1795 erkhakhnitnxkaebbyukhlid aekikh thiphanmacaehnwa nganthitiphimphkhxngekasaetlaxyangnn sngphlkrathbtxwngkarwichakarmakmaymhasal aetxyangirktam ngankhxngekasthiimthuktiphimphkyingihyimaephkn yktwxyangechn ekasidkhnphb erkhakhnitnxkaebbyukhlid non Euclidean geometries sungsngphlkrathbsakhy txcintnakarkhxngmnusytxthrrmchatiaelaokhrngsrangckrwal ethiybekhiyngidkb karptiwtikhxngokhepxrnikhs insakhadarasastrelythiediyw enuxngcaktngaetsmyyukhlid cnkrathngthungsmykhxngekasnn scphcnthnghlayinerkhakhnitaebbyukhlid thuxwaepnkhwamcringthihlikeliyngimid aetxyangirktam nkkhnitsastrrunthdmacnthungekas ksngsykarkahndscphcnbangxyangkhxngyukhlidmatlxd odyechphaascphcnesnkhnan thiklawwa kahndesntrnghnungesn aelakahndcudhnungcudthiimidxyubnesntrngnn camiephiyngesntrngesnediywthiphancudnnaelakhnankbesntrngesnaerknkkhnitsastridsngsymananwa thaimeruxngesnkhnannithungtxngepnscphcn enuxngcakscphcnkhwrcaepnxairthiekhaicidngay echn scphcnkhxngcud epntn eruxngesnkhnanthikhxnkhangsbsxnnn khwrthicaepnthvsdibth khuxsamarthphisucniddwyscphcnthiepnmulthanxun makkwathicaepnscphcnesiyexng yukhlidexngkdulngelkbscphcnkhxni odyidihepnscphcnkhxsudthayinrabberkhakhnitkhxngekha xyangirktam imminkkhnitsastrkhnidsamarthphisucnscphcnesnkhnanniidsaercodycaksmudbnthukkhxngekasthiphb erathrabwa ekasexngkidlxngphyayamphisucnpraednni emuxxayu 15 pi aelaklmehlwechnediywknkbkhnxun xyangirktam khwamlmehlwkhxngekastangcakkhnxun trngthiinewlathdmaekaserimtrahnkwa rabberkhakhnitaebbyukhlid imichrabberkhakhnitephiyngrabbediywthiepnipid ekaskhidkhnpraednnixyuhlaypi aelainpi ph s 2363 kh s 1820 ekaskidthvsdibthetmrupaebbkhxng erkhakhnitnxkaebbyukhlid 1 xyangirktam ekasimidepidephyphlnganchinnitxsatharna cnkrathnginpi ph s 2372 kh s 1829 aela ph s 2375 kh s 1832 sung olbachxfski Lobachevsky nkkhnitsastrchawrsesiy aela yaons oblyaxi Johann Bolyai nkkhnitsastrchawhngkari idtiphimphnganchinni odyimkhuntxkn echnediywkn sungphxkhxngoblyaxi sungepnephuxnkhxngekas idnakhawdikhxnglukchaytwexngmaelaihekasfng aelaktxngtktalung emuxekasipruxnganeka inlngkhxngtwexngmaihdu odyoblyaxiphulukthungkbphudwa phmrusukehmuxnedinxyuinfamuxkhxngyksihy ehtuphlthiekasimyxmtiphimphngankhxngtwexngnneriybngaymak ephraaenuxngcakineyxrmnsmynn minkprchyathiyingihythisudkhnhnungkhux ximmanuexil khanth xyu odykhanthidkhidaelawanghlkkartang ekiywkbkhwamrumnusyiwmakmay aelakhnthwipkyxmechuxfngaenwkhidkhxngkhanth odykhanthidihkhwamehniwwa rabberkhakhnitkhxngyukhlid epnkhwamepnipidephiynghnungediywinkarkhidekiywkberuxngkhxng miti xwkas hrux priphumi space sungekasthrabepnxyangdiwakhwamkhidniphid aetdwyekasepnkhnthimibukhlikrksnodsaelakhwamsngb ekascungtdsinicthicaimipotethiyngeruxngni sungepneruxngihymak kbehlankprchyathisnbsnunaenwkhidkhxngkhanth fngkchnechingwngri aekikh nxkcaknn innganthiimidtiphimphxun ekasyngidkhnphbthvsdikhxng fngkchnechingwngri elliptic functions hlay xyang sungsakhymakinsakhakhnitwiekhraah mathematical analysis kxnhna pietxr kustaf yaokhbi aela nils ehnrik xaebl sungidchuxwaepnphukhnphbsxngkhnaerk tngaettxnthisxngkhnniyngimekidthukkhrngthiyaokhbikhnphbsingihm yaokhbicamahaekasdwykhwamdiic aelainaethbthukkhrng yaokhbitxngthungkbtalung emuxekasidochwnganeka khxngtwexnginlngibedim ihdu yaokhbithungkbphudkbnxngchaykhxngekhawa wngkarkhnitsastrkhngcaphthnaipxikiklepnaenaeth thaphwkdarasastrptibti imdungtwsudyxdxcchriyaphuni xxkipcakwithithiyingihykhxngekhaMathematics would be in a very different position if practical astronomy had not diverted this colossal genius from his glorious career chwngthaykhxngchiwit aekikh aemwaekasimchxbsxnhnngsux aetluksisykhxngekhahlaykhn echn richard ededkhind aela aebrnhard rimnn kepnnkkhnitsastrthiyingihyechnknekasesiychiwitinemuxngekittingekninhnonefxr pccubnkhuxpraethseyxrmni aelakthukfngthisusan odymiehlaluksisyexkechn ededkhind epnphuaebkolngsphkhxngekasxangxing aekikh Werke vol VIII pp 159 268 1900 hnngsuxxanephimetimDunham W The Mathematical Universe Wiley 1997 phuekhiynidrbrangwlphuaetnghnngsuxyxdeyiymsahrbprachachnthrrmda Simmons G F Differential Equations with Applications and Historical Notes 2nd Edition McGraw Hill 1991 epnhnngsuxsmkarechingxnuphnththiidisekrdekiywkbprawtikhxngkhnitsastriwxyangsnuksnanaelanatunetntidtam Simmons J The giant book of scientists The 100 greatest minds of all time Sydney The Book Company 1996 Dunnington G Waldo Carl Friedrich Gauss Titan of Science The Mathematical Association of America June 2003 duephim aekikhnkkhnitsastr nkfisiks esnewlakhxngkhnitsastr ekas hnwywdkhwamekhmaemehlk aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb kharl fridrich ekasMacTutor prawtikhxngekas Carl Frederick Gauss ewbistthithaodyhlankhxnghlankhxnghlankhxnghlankhxngekas sungrwbrwmcdhmaythiekhaekhiynthungbutrchaychuxyucin aelatnimtrakulkhxngekas Gauss and His Children ewbistsahrbnkwicyekiywkbekasaelalukhlankhxngekas Gauss aehlngrwmkhxmulthwip samarthsngewbistkhxngkhunthiekiywkbekasipthiniid MNRAS 16 1856 80ekhathungcak https th wikipedia org w index php title kharl fridrich ekas amp oldid 9215898, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม