fbpx
วิกิพีเดีย

พม่าเชื้อสายมลายู

ชาวพม่าเชื้อสายมลายู (มลายู: Melayu Myanmar/Melayu Burma, อักษรยาวี: ملايو ميانمار, พม่า: ပသျှူးလူမျိုး, ปะซู)กลุ่มชาติพันธุ์ที่สำคัญกลุ่มหนึ่งที่กระจายตัวลงมาตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของหมู่เกาะมะริดในเขตแดนของเขตตะนาวศรีทางตอนใต้ของประเทศพม่า

ชาวพม่าเชื้อสายมลายู
ปะซู
Melayu Myanmar/Melayu Burma/ملايو ميانمار
ပသျှူးလူမျို
กลุ่มชาวพม่าเชื้อสายมลายูในคริสต์ทศวรรษ 1950
ประชากรทั้งหมด
อาศัยในพม่า 27,000 คน
(ไม่รวมผู้พลัดถิ่นในประเทศไทยและกลับไปประเทศมาเลเซีย)
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
เขตตะนาวศรี (ส่วนใหญ่ในอำเภอเกาะสอง); จังหวัดระนอง, ประเทศไทย; เกาะลังกาวี, ประเทศมาเลเซีย
ภาษา
ภาษามลายูเกอดะฮ์ · ภาษาไทยถิ่นใต้ · ภาษาพม่า
ศาสนา
ส่วนใหญ่
อิสลามนิกายซุนนี
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
มลายู (โดยเฉพาะชาวเกอดะฮ์และชาวสตูลเชื้อสายมลายู)

ประวัติ

ชาวพม่าเชื้อสายมลายู มักถูกเรียกโดยชนพื้นเมืองแถบนั้นว่า ปะซู พวกเขาได้อพยพมาจากมาเลเซีย และดินแดนทางตอนใต้ฝั่งตะวันตกของไทย เข้ามาตั้งถิ่นฐานในแถบตะนาวศรี (Tanah Seri ตาเนาะซรี) โดยเฉพาะในเขตเมืองเกาะสอง (Pulodua ปูโลดูวอ) เพื่อทำการค้าขายเมื่อครั้งเมื่อพม่ายังตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในช่วงปี ค.ศ. 1824-1948 และตะนาวศรีจึงรู้จักกันในนามว่า วิกตอเรียพอยต์ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ชาวมลายูส่วนหนึ่งอพยพมาจากอำเภอละงู จังหวัดสตูล

กลุ่มชาวมลายู-อาหรับ ที่นำโดยนายูดา อาเหม็ด ได้เดินทางรอบหมู่เกาะมะริดเพื่อหาสินค้าในการค้าขาย และท้ายที่สุดพวกเขาก็เริ่มการตั้งถิ่นฐานลงในแถบอ่าววิกตอเรียพอยต์ นอกจากนี้บางส่วนได้ตั้งถิ่นฐานร่วมกับชาวจีน และชาวสยาม อย่างเมืองบกเปี้ยน และเมืองมะลิวัลย์โดยเฉพาะตามชายฝั่ง และตั้งหมู่บ้านเรียงรายกันบนหมู่เกาะในเขตอ่าวเบงกอล

ปัจจุบันชาวพม่าเชื้อสายมลายูกว่า 10,000 คน ได้อพยพออกจากดินแดนตะนาวศรี ส่วนใหญ่ได้อพยพไปยังประเทศมาเลเซีย, เกาะสินไห จังหวัดระนอง บางส่วนอพยพไปยังส่วนอื่นของพม่า โดยเฉพาะที่ย่างกุ้ง

ภาษาและวัฒนธรรม

ชาวพม่าเชื้อสายมลายู ใช้ภาษาท้องถิ่นในการสื่อสารคือภาษามลายูไทรบุรีหรือมลายูสตูล ที่ใช้ในแถบตะวันตกของประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะที่รัฐเกอดะฮ์และรัฐปะลิส และมีจำนวนหนึ่งใช้สำเนียงเปรัก แต่ในปัจจุบันพวกเขาต้องเรียนรู้ภาษาพม่าควบคู่ไปด้วยเช่นเดียวกับชาวไทยพลัดถิ่น เนื่องจากภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ อย่างไรก็ตามภาษาของพวกเขาก็ได้ทิ้งอิทธิพลไว้กับภาษาพม่าแถบเมืองมะริดที่มีสำเนียงใกล้เคียงกับภาษามลายู โดยวัฒนธรรมของคนที่นี่ยังเป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมเมื่อครั้งคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชาวพม่าเชื้อสายมลายูที่สูงอายุสามารถอ่านอักษรยาวี พูดภาษามลายู และเขียนอักษรอาหรับได้ (ขณะที่มาเลเซียได้หันมาใช้อักษรรูมี) ชาวปะซูส่วนหนึ่งได้ตั้งถิ่นฐานรวมกับชาวไทยมุสลิม มีสมรสข้ามชาติพันธุ์กับมุสลิมกลุ่มอื่น บรรดาวัยรุ่นที่สืบเชื้อสายมลายูส่วนมากได้รับการศึกษาจากสถานศึกษาของรัฐบาลพม่า มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ศึกษาในโรงเรียนสอนศาสนา ชาวพม่าเชื้อสายมลายูนับถืออิสลามแนวทางซุนนีย์ แต่เป็นมัซฮับซาฟีอี ซึ่งแตกต่างกับมุสลิมกลุ่มอื่นในพม่าที่เป็นมัซฮับฮานาฟี

อ้างอิง

  1. Malays of Myanmar
  2. University of Texas at Austin, Perry-Castañeda Library, Map Collection, Burma (Myanmar) Maps Thematic Maps: [1]Burma - Ethnolinguistic Groups from Map No. 500425 1972 (169K) [2]
  3. บทที่ 2 พัฒนาการทางสังคมมุสลิมในจังหวัดสตูล, หน้า 25
  4. Imperial Gazetteer of India 8:263
  5. Imperial Gazetteer of India 17: 90-91
  6. Maung-Ko Ghaffari, Yangon, Myanmar’s letter/article, published in the Sun newspaper, Malaysia on May 28, 2007.
  7. เกาะสินไห...ความเป็นไทยที่ถูกละเลย
  8. เกาะสินไห ชุมชนไทยพลัดถิ่น[ลิงก์เสีย]
  9. "aseanfocus.com". คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2003-07-29. สืบค้นเมื่อ 2010-12-06.
  10. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-06-09. สืบค้นเมื่อ 2010-12-06.

พม, าเช, อสายมลาย, ชาว, มลาย, melayu, myanmar, melayu, burma, กษรยาว, ملايو, ميانمار, พม, ပသ, ปะซ, กล, มชาต, นธ, สำค, ญกล, มหน, งท, กระจายต, วลงมาต, งแต, ตอนบนจนถ, งตอนล, างของหม, เกาะมะร, ดในเขตแดนของเขตตะนาวศร, ทางตอนใต, ของประเทศพม, ชาวปะซ, melayu, myanmar,. chawphmaechuxsaymlayu mlayu Melayu Myanmar Melayu Burma xksryawi ملايو ميانمار phma ပသ လ မ pasu 1 klumchatiphnthuthisakhyklumhnungthikracaytwlngmatngaettxnbncnthungtxnlangkhxnghmuekaamaridinekhtaednkhxngekhttanawsrithangtxnitkhxngpraethsphma 2 chawphmaechuxsaymlayupasuMelayu Myanmar Melayu Burma ملايو ميانمارပသ လ မ klumchawphmaechuxsaymlayuinkhristthswrrs 1950prachakrthnghmdxasyinphma 27 000 khn imrwmphuphldthininpraethsithyaelaklbippraethsmaelesiy phumiphakhthimiprachakrxyangminysakhyekhttanawsri swnihyinxaephxekaasxng cnghwdranxng praethsithy ekaalngkawi praethsmaelesiyphasaphasamlayuekxdah phasaithythinit phasaphmasasnaswnihy xislamnikaysunniklumchatiphnthuthiekiywkhxngmlayu odyechphaachawekxdahaelachawstulechuxsaymlayu prawti aekikhchawphmaechuxsaymlayu mkthukeriykodychnphunemuxngaethbnnwa pasu phwkekhaidxphyphmacakmaelesiy aeladinaednthangtxnitfngtawntkkhxngithy ekhamatngthinthaninaethbtanawsri Tanah Seri taenaasri odyechphaainekhtemuxngekaasxng Pulodua puolduwx ephuxthakarkhakhayemuxkhrngemuxphmayngtkepnxananikhmkhxngxngkvsinchwngpi kh s 1824 1948 aelatanawsricungruckkninnamwa wiktxeriyphxyt ephuxethidphraekiyrtismedcphrarachininathwiktxeriy chawmlayuswnhnungxphyphmacakxaephxlangu cnghwdstul 3 klumchawmlayu xahrb thinaodynayuda xaehmd idedinthangrxbhmuekaamaridephuxhasinkhainkarkhakhay aelathaythisudphwkekhakerimkartngthinthanlnginaethbxawwiktxeriyphxyt nxkcaknibangswnidtngthinthanrwmkbchawcin aelachawsyam xyangemuxngbkepiyn 4 aelaemuxngmaliwlyodyechphaatamchayfng 5 aelatnghmubaneriyngrayknbnhmuekaainekhtxawebngkxl 6 pccubnchawphmaechuxsaymlayukwa 10 000 khn idxphyphxxkcakdinaedntanawsri swnihyidxphyphipyngpraethsmaelesiy ekaasinih cnghwdranxng 7 8 bangswnxphyphipyngswnxunkhxngphma odyechphaathiyangkungphasaaelawthnthrrm aekikhchawphmaechuxsaymlayu ichphasathxngthininkarsuxsarkhuxphasamlayuithrburihruxmlayustul thiichinaethbtawntkkhxngpraethsmaelesiy odyechphaathirthekxdahaelarthpalis aelamicanwnhnungichsaeniyngeprk 3 aetinpccubnphwkekhatxngeriynruphasaphmakhwbkhuipdwyechnediywkbchawithyphldthin enuxngcakphasaphmaepnphasarachkar xyangirktamphasakhxngphwkekhakidthingxiththiphliwkbphasaphmaaethbemuxngmaridthimisaeniyngiklekhiyngkbphasamlayu odywthnthrrmkhxngkhnthiniyngepnwthnthrrmdngedimemuxkhrngkhriststwrrsthi 15 9 chawphmaechuxsaymlayuthisungxayusamarthxanxksryawi phudphasamlayu aelaekhiynxksrxahrbid khnathimaelesiyidhnmaichxksrrumi chawpasuswnhnungidtngthinthanrwmkbchawithymuslim 10 mismrskhamchatiphnthukbmuslimklumxun brrdawyrunthisubechuxsaymlayuswnmakidrbkarsuksacaksthansuksakhxngrthbalphma miephiyngswnnxyethannthisuksainorngeriynsxnsasna chawphmaechuxsaymlayunbthuxxislamaenwthangsunniy aetepnmshbsafixi sungaetktangkbmuslimklumxuninphmathiepnmshbhanafixangxing aekikh Malays of Myanmar University of Texas at Austin Perry Castaneda Library Map Collection Burma Myanmar Maps Thematic Maps 1 Burma Ethnolinguistic Groups from Map No 500425 1972 169K 2 3 0 3 1 bththi 2 phthnakarthangsngkhmmuslimincnghwdstul hna 25 Imperial Gazetteer of India 8 263 Imperial Gazetteer of India 17 90 91 Maung Ko Ghaffari Yangon Myanmar s letter article published in the Sun newspaper Malaysia on May 28 2007 ekaasinih khwamepnithythithuklaely ekaasinih chumchnithyphldthin lingkesiy aseanfocus com khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2003 07 29 subkhnemux 2010 12 06 thitnghmubankhnithyinphma khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 06 09 subkhnemux 2010 12 06 bthkhwamekiywkbmnusy manusywithya aelaeruxngthiekiywkhxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title phmaechuxsaymlayu amp oldid 9652054, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม