fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษายูราร์เทีย

ภาษายูราร์เทีย เป็นภาษาที่ใช้พูดในราชอาณาจักรยูราร์ตู ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอนาโตเลีย (ปัจจุบันคือประเทศตุรกี) เป็นภาษารูปคำติดต่อซึ่งไม่อยู่ในภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนและภาษากลุ่มเซมิติก แต่ถือว่าอยู่ในกลุ่มฮูร์โร-ยูราร์เทีย พบในจารึกจำนวนมากในบริเวณราชอาณาจักรยูราร์ตู เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มของอัสซีเรีย มีรูปแบบที่เขียนด้วยไฮโรกลิฟด้วยซึ่งใช้ในทางศาสนา

ภาษายูราร์เทีย
ภูมิภาคยูราร์ตู, ที่ราบสูงอาร์เมเนีย
สูญหายประมาณ 57 ปีก่อนพุทธศักราช
ตระกูลภาษา
ภาษากลุ่มฮูร์โร-ยูราร์เทีย
รหัสภาษา
ISO 639-2mis
ISO 639-3xur

การจัดจำแนก

ภาษายูร์ราเทียเป็นภาษารูปคำติดต่อและใช้การกเกี่ยวพันซึ่งไม่อยู่ในตระกูลภาษาเซมิติกหรือตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนแต่อยู่ในตระกูลภาษาฮูร์โร-อูราเทีย ภาษานี้เหลือรอดในรูปของจารึกจำนวนมากที่พบในบริเวณอาณาจักรอูราตู เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มอัสซีเรียแต่นักวิชาการบางกลุ่มจัดว่าภาษานี้อักษรภาพเป็นของตัวเองเรียกว่าเฮียโรกลิฟแบบยูร์ราเทีย

ภาษายูร์ราเทียใกล้เคียงกับภาษาฮูร์เรียซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในยุคก่อนหน้าและไม่คาบเกี่ยวกัน ในช่วง 1,457 ปี ถึง 657 ปีก่อนพุทธศักราช โดยเขียนด้วยผู้ที่พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่ถึงประมาณ 807 ปีก่อนพุทธศักราช ทั้งสองภาษาพัฒนาอย่างเป็นอิสระแก่กัน จนถึงประมาณ 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช แม้ว่าภาษายูราร์เทียไม่ได้เป็นสำเนียงของภาษาฮูร์เรีย แต่มีลักษณะบางอย่างที่พัฒนาการร่วมกับภาษาฮูร์เรีย ความใกล้ชิดนี้เป็นไปได้ว่าเกิดจากการมีผู้รู้ภาษายูราร์เทียและภาษาฮูร์เรียทั้งสองภาษา

การถอดความ

 
จารึกภาษายูราร์เทียเขียนด้วยอักษรรูปลิ่มแสดงที่พิพิธภัณฑ์ในเยเรวาน จารึกอ่านได้ว่า: สำหรับเทพเจ้าคาลดี กระเจ้าอาร์กิสติสที่ 1 โอรสแห่งเมนัว สร้างวิหารและป้อมปราการนี้ ข้าป่าวประกาศอิรบูนี (เอเรบูนี) สำหรับความรุ่งเรืองของประเทศแห่งบีอาย (=อูร์ราตู) และสำหรับการยึดครองประเทศลูลุย (=ศัตรู)ด้วยความน่าเกรงขาม ด้วยความยิ่งใหญ่แห่งคาลดี นี่คืออาร์กิสติส โอรสแห่งเมนัว กษัตริย์แห่งบีอายผู้ปกครองเมืองตุชปา

นักวิชาการชาวเยอรมัน F. E. Schulz ผู้ค้นพบจารึกทะเลสาบวานและจารึกอูราร์ตูใน พ.ศ. 2369 ได้ทำสำเนาจารึกจำนวนมาก แต่ไม่ได้พยายามถอดความ หลังจากที่ถอดความอักษรรูปลิ่มอัสซีเรียได้ในราว พ.ศ. 2393 สำเนาของ Schulz กลายเป็นพื้นฐานสำหรับการถอดความภาษายูราร์เทีย ปัจจุบันเป็นที่แน่นอนว่าภาษานี้ไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาที่รู้จักกันอยู่ และการพยายามถอดความโดยใช้ภาษาที่เป็นที่รู้จักกันแล้วในบริเวณนั้น ประสบความล้มเหลว จารึกเหล่านี้ถอดความได้ใน พ.ศ. 2425 โดย A. H. Sayce จารึกที่เก่าที่สุดมีอายุราวสมัยซาร์ดูรีที่ 1 แห่งอูราร์ตู

การถอดความได้ก้าวหน้ามากขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อมีการพบจารึกภาษายูราร์เทีย-อัสซีเรียที่ Kelišin และ Topzawä ใน พ.ศ. 2509 มีการตีพิมพ์ไวยากรณ์ภาษายูราร์เทียเขียนโดย G. A. Melikishvili ในรัสเซียและแปลเป็นภาษาเยอรมันใน พ.ศ. 2514 และในเวลาเดียวกันนี้มีการตีพิมพ์เกี่ยวกับความคล้ายคลึงกับภาษาฮูร์เรียโดย I. M. Diakonoff

จารึกที่เก่าที่สุดพบในสมัยซาร์ดูรีที่ 1 มีอายุราว 357 ปีก่อนพุทธศักราชและมีจารึกต่อเนื่องมาจนถึงการล่มสลายของอาณาจักรอูราร์ตูในอีก 200 ปีต่อมา มีจารึกที่เขียนด้วยภาษายูราร์เทียมากกว่าสองพันชิ้นที่เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มดัดแปลง

การเขียน

อักษรรูปลิ่ม

อักษรรูปลิ่มของภาษายูราร์เทียมีมาตรฐานเช่นเดียวกับอักษรรูปลิ่มอัสซีเรียใหม่ แต่ที่ต่างจากของอัสซีเรียคือสัญลักษณ์ 1 ตัวแทนเสียงเดียว เช่น u-gi-iš-ti หมายถึง Uīšdi

เฮียโรกลิฟ

ภาษายูราร์เทียบางส่วนเขียนด้วยเฮียโรกกลิฟแบบอนาโตเลียที่ใช้กับภาษาลูเวีย นอกจากนั้นยังมีเฮียโรกลิฟเป็นของตัวเองด้วย

อ้างอิง

  1. Wilhelm 1982: 5
  2. Wilhelm, Gernot. 2008. Hurrian. In Woodard, Roger D. (ed.) The Ancient Languages of Asia Minor. P.105
  3. Academic American Encyclopedia - Page 198
  4. Urartu - Page 65 by Boris Borisovich Piotrovskiĭ
  5. The international standard Bible encyclopedia - Page 234 by Geoffrey William Bromiley


ภาษาย, ราร, เท, เป, นภาษาท, ใช, ดในราชอาณาจ, กรย, ราร, ทางตะว, นออกเฉ, ยงใต, ของอนาโตเล, จจ, นค, อประเทศต, รก, เป, นภาษาร, ปคำต, ดต, อซ, งไม, อย, ในภาษาตระก, ลอ, นโด, โรเป, ยนและภาษากล, มเซม, แต, อว, าอย, ในกล, มฮ, โร, ราร, เท, พบในจาร, กจำนวนมากในบร, เวณราชอา. phasayurarethiy epnphasathiichphudinrachxanackryurartu thangtawnxxkechiyngitkhxngxnaoteliy pccubnkhuxpraethsturki epnphasarupkhatidtxsungimxyuinphasatrakulxinod yuorepiynaelaphasaklumesmitik aetthuxwaxyuinklumhuror yurarethiy phbincarukcanwnmakinbriewnrachxanackryurartu ekhiyndwyxksrruplimkhxngxssieriy mirupaebbthiekhiyndwyihorklifdwysungichinthangsasnaphasayurarethiyphumiphakhyurartu thirabsungxaremeniysuyhaypraman 57 pikxnphuththskrachtrakulphasaphasaklumhuror yurarethiyrhsphasaISO 639 2misISO 639 3xur enuxha 1 karcdcaaenk 2 karthxdkhwam 3 karekhiyn 3 1 xksrruplim 3 2 ehiyorklif 4 xangxingkarcdcaaenk aekikhphasayurraethiyepnphasarupkhatidtxaelaichkarkekiywphnsungimxyuintrakulphasaesmitikhruxtrakulphasaxinod yuorepiynaetxyuintrakulphasahuror xuraethiy phasaniehluxrxdinrupkhxngcarukcanwnmakthiphbinbriewnxanackrxuratu ekhiyndwyxksrruplimxssieriyaetnkwichakarbangklumcdwaphasanixksrphaphepnkhxngtwexngeriykwaehiyorklifaebbyurraethiyphasayurraethiyiklekhiyngkbphasahureriysungepnphasathiichinyukhkxnhnaaelaimkhabekiywkn inchwng 1 457 pi thung 657 pikxnphuththskrach odyekhiyndwyphuthiphudphasaniepnphasaaemthungpraman 807 pikxnphuththskrach thngsxngphasaphthnaxyangepnxisraaekkn 1 2 cnthungpraman 1 457 pikxnphuththskrach aemwaphasayurarethiyimidepnsaeniyngkhxngphasahureriy 3 aetmilksnabangxyangthiphthnakarrwmkbphasahureriy khwamiklchidniepnipidwaekidcakkarmiphuruphasayurarethiyaelaphasahureriythngsxngphasakarthxdkhwam aekikh carukphasayurarethiyekhiyndwyxksrruplimaesdngthiphiphithphnthineyerwan carukxanidwa sahrbethphecakhaldi kraecaxarkististhi 1 oxrsaehngemnw srangwiharaelapxmprakarni khapawprakasxirbuni exerbuni sahrbkhwamrungeruxngkhxngpraethsaehngbixay xurratu aelasahrbkaryudkhrxngpraethsluluy stru dwykhwamnaekrngkham dwykhwamyingihyaehngkhaldi nikhuxxarkistis oxrsaehngemnw kstriyaehngbixayphupkkhrxngemuxngtuchpa nkwichakarchaweyxrmn F E Schulz phukhnphbcarukthaelsabwanaelacarukxurartuin ph s 2369 idthasaenacarukcanwnmak aetimidphyayamthxdkhwam hlngcakthithxdkhwamxksrruplimxssieriyidinraw ph s 2393 saenakhxng Schulz klayepnphunthansahrbkarthxdkhwamphasayurarethiy pccubnepnthiaennxnwaphasaniimmikhwamekiywkhxngkbphasathiruckknxyu aelakarphyayamthxdkhwamodyichphasathiepnthiruckknaelwinbriewnnn prasbkhwamlmehlw carukehlanithxdkhwamidin ph s 2425 ody A H Sayce carukthiekathisudmixayurawsmysardurithi 1 aehngxurartukarthxdkhwamidkawhnamakkhunhlngsngkhramolkkhrngthi 1 emuxmikarphbcarukphasayurarethiy xssieriythi Kelisin aela Topzawa in ph s 2509 mikartiphimphiwyakrnphasayurarethiyekhiynody G A Melikishvili inrsesiyaelaaeplepnphasaeyxrmnin ph s 2514 aelainewlaediywknnimikartiphimphekiywkbkhwamkhlaykhlungkbphasahureriyody I M Diakonoffcarukthiekathisudphbinsmysardurithi 1 mixayuraw 357 pikxnphuththskrach 4 aelamicaruktxenuxngmacnthungkarlmslaykhxngxanackrxurartuinxik 200 pitxma micarukthiekhiyndwyphasayurarethiymakkwasxngphnchinthiekhiyndwyxksrruplimddaeplng 5 karekhiyn aekikhxksrruplim aekikh xksrruplimkhxngphasayurarethiymimatrthanechnediywkbxksrruplimxssieriyihm aetthitangcakkhxngxssieriykhuxsylksn 1 twaethnesiyngediyw echn u gi is ti hmaythung Uisdi ehiyorklif aekikh phasayurarethiybangswnekhiyndwyehiyorkklifaebbxnaoteliythiichkbphasaluewiy nxkcaknnyngmiehiyorklifepnkhxngtwexngdwyxangxing aekikh Wilhelm 1982 5 Wilhelm Gernot 2008 Hurrian In Woodard Roger D ed The Ancient Languages of Asia Minor P 105 Academic American Encyclopedia Page 198 Urartu Page 65 by Boris Borisovich Piotrovskiĭ The international standard Bible encyclopedia Page 234 by Geoffrey William Bromiley bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasaekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasayurarethiy amp oldid 5825713, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม