fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาเชเชน

ภาษาเชเชน เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐเชเชน (เชชเนีย) ในรัสเซีย มีผู้พูดราว 1.2 ล้านคน คำศัพท์ส่วนมากเป็นคำยืมจากภาษารัสเซีย ภาษาตุรกี ภาษาคาลมึกซ์ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอลานิกหรือภาษาออสเซติกอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัส จัดอยู่ในภาษากลุ่มนัขร่วมกับภาษาอิงกุซและภาษาบัตส์ ทั้งหมดนี้อยู่ในภาษากลุ่มคอเคเซียนตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีเพียงภาษาอิงกุซและภาษาเชเชนที่เข้าใจกันได้

ภาษาเชเชน
Нохчийн мотт
Noxçiyn mott
ประเทศที่มีการพูดเชชเนีย
ภูมิภาคเชชเนีย
จำนวนผู้พูด1,330,000 คน(2545)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ภาษากลุ่มคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ภาษากลุ่มนัค
    • ภาษากลุ่มเชเชน-อิงกุซ
      • ภาษาเชเชน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการเชชเนีย
รหัสภาษา
ISO 639-1ce
ISO 639-2che
ISO 639-3che

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

จากข้อมูลของรัสเซียเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 มีผู้พูดภาษาเชเชน 1,330,000 คน Ethnologue ประเมินจำนวนผู้พูดภาษาเชเชนทั้งหมด 955,000 คน โดยใช้ข้อมูลจำนวนผู้พูดในรัสเซีย 945,000 คน ใน พ.ศ. 2532 และประเมินจำนวนผู้พูดภาษาเชเชนในตะวันออกกลางโดยเฉพาะจอร์แดน

การเป็นภาษาราชการ

ภาษาเชเชนเป็นภาษาราชการของเชชเนีย

สำเนียง

มีหลายสำเนียง

เสียง

ลักษณะของภาษาเชเชนมีพยัญชนะและสระคล้ายกับภาษาอาหรับและภาษาซาลิชานของอเมริกาเหนือ และมีระบบสระขนาดใหญ่คล้ายกับภาษาสวีเดนและภาษาเยอรมัน

พยัญชนะ

ภาษาเชเชนมีพยัญชนะจำนวนมากถึง 31 ตัวเช่นเดียวกับภาษาพื้นเมืองในภาษากลุ่มคอเคซัส ซึ่งมีพยัญชนะมากกว่าภาษาในยุโรป

  Labial Alveolar Postalveolar Velar Uvular Epiglottal Glottal
Nasal m n          
Plosive b
d
g
xk

ʢ ʔ
Affricate tsʰ dz
tsʼ
tʃʰ
tʃʼ
Fricative (f v) s z ʃ ʒ x ʁ ʜ h
Rhotic r
Approximant w l j


สระ

ภาษาเชเชนต่างจากภาษากลุ่มคอเคซัสเพราะภาษาเชเชนมีสระจำนวนมากโดยเฉพาะสระประสมประมาณ 27 เสียง ขึ้นกับสำเนียง ซึ่งใกล้เคียงกับระบบสระของภาษากลุ่มสแกนดิเนเวียและภาษาเยอรมัน

front
unrounded
front
rounded
back~
central
ɪ y ʊ
je ie ɥø wo uo
e̞ː ø øː o̞ː
æ æː ə ɑː

ไวยากรณ์

คำนามภาษาเชเชนแบ่งเป็นเพศหรือระดับที่หลากหลาย แต่ละอันมีอุปสรรคเฉพาะซึ่งเข้ากันได้กับกริยาและคุณศัพท์ อย่างไรก็ตาม ภาษาเชเชนไม่ใช่ภาษาที่ละประธานได้ ต้องใช้สรรพนามที่เป็นประธานเสมอแม้ในประโยคง่ายๆ และกริยาไม่ต้องเข้ากับประธานหรือบุคคลหรือจำนวนของกรรม

ภาษาเชเชนเป็นภาษาสัมพันธการก มี 8 การก และมีปรบทจำนวนมาก เพื่อชี้ถึงบทบาทของนามในประโยค

ภาษาเชเชนมีระบบรากศัพท์ที่ท้าทาย การสร้างคำใหม่ในภาษาเกี่ยวกับการสร้างวลีทั้งหมดมากก่าการเติมเข้าที่ส่วนท้ายของคำเดิม หรือการรวมคำที่มีอยู่แล้ว เป็นการยากที่จะระบุลักษณะของวลีในพจนานุกรม และไวยากรณ์ของภาษาไม่ยอมให้มีการยืมลักษณะทางกริยาเพื่อสร้างคำใหม่ คำกริยา dan (ตรงกับ to do ในภาษาอังกฤษ) รวมกับกริยานามวลีใช้เพื่อเชื่อมโยงแนวคิดใหม่ที่มาจากภาษาอื่น

อักษร

พบจารึกที่เขียนด้วยอักษรจอร์เจียในหุบเขาเชชเนีย แต่อักษรนี้ไม่จำเป็นในภาษาเชเชน ต่อมามีการนำอักษรอาหรับมาเขียนภาษาเชเชนหลังการเข้ามาของศาสนาอิสลาม การปรับรูปแบบครั้งแรกเกิดขึ้นในยุคของอิมามชามิลตามมาด้วยการปรับปรุงใน พ.ศ. 2453 พ.ศ. 2463 และ พ.ศ. 2465

ในเวลาเดียวกันมีการปรับอักษรโดย Peter von Uslar ซึ่งมีทั้งอักษรซีริลลิก อักษรละติน และอักษรจอร์เจียซึ่งมีการนำมาใช้ทางวิชาการ ใน พ.ศ. 2454 มีการปรับรูปแบบด้วยแต่ไม่เป็นที่นิยมในหมู่ชาวเชเชน มีการนำอักษรละตินมาใช้เมื่อ พ.ศ. 2468 และปรับให้เป็นรูปแบบเดียวกับภาษาอิงกุซเมื่อ พ.ศ. 2477 แต่แยกตัวออกมาเมื่อ พ.ศ. 2481 ในช่วง พ.ศ. 2481 - 2535 ใช้อักษรซีริลลิกในการเขียนภาษาเชเชน ดังแสดงในตาราง

Cyrillic Name Mod. Latin Name IPA
А а а A a a /ə/, /ɑː/
Аь аь аь Ä ä ä /æ/, /æː/
Б б бэ B b be /b/
В в вэ V v ve /v/
Г г гэ G g ge /ɡ/
ГI гI гIа Ġ ġ ġa /ɣ/
Д д дэ D d de /d/
Е е е E e e /e/, /ɛː/, /je/, /ie/
Ё ё ё yo /jo/ etc.
Ж ж жэ Ƶ ƶ ƶe /ʒ/, /dʒ/
З з зэ Z z ze /z/, /dz/
И и и I i i /ɪ/
Ий ий Ii ii /iː/
Й й
(я, ю, е)
доца и Y y doca i /j/
К к к K k ka /k/
Ккх ккх Kk kk /kː/
Кх кх кх Q q qa /q/
Кхкх кхкх Qq qq /qː/
Къ къ къа Q̇ q̇ a /q’/
КI кI кIа Kh kh kha /k’/
Л л лэ L l el /l/
М м мэ M m em /m/
Н н нэ N n en /n/
О о о O o o /o/, /ɔː/, /wo/, /uo/
Оь оь оь Ö ö ö /ɥø/, /yø/
П п пэ P p pe /p/
Пп пп Pp pp /pː/
ПI пI пIа Ph ph pha /p’/
Р р рэ R r er /r/
РхI рхI Rh rh /r̥/
С с сэ S s es /s/
Сс сс Ss ss /sː/
Т т тэ T t te /t/
Тт тт Tt tt /tː/
ТI тI тIа Th th tha /t’/
У у у U u u /uʊ/
Ув ув Uu uu /uː/
Уь уь уь Ü ü ü /y/
Ф ф фэ F f ef /f/
Х х хэ X x xa /x/
Хь хь хьа Ẋ ẋ a /ʜ/
ХI хI хIа H h ha /h/
Ц ц цэ C c ce /ts/
ЦI цI цIа Ċ ċ ċe /ts’/
Ч ч чэ Ç ç çe /tʃ/
ЧI чI чIа Ç̇ ç̇ ç̇e /tʃ’/
Ш ш шэ Ş ş şa /ʃ/
Щ щ щэ
(Ъ) ъ чIогIа хьаьрк Ə ə ç̇oġa ärk /ʔ/
(Ы) ы ы
(Ь) ь кIеда хьаьрк
Э э э E e e /e/ etc.
Ю ю ю yu /ju/ etc.
Юь юь юь /jy/ etc.
Я я я ya /ja/ etc.
Яь яь яь /jæ/ etc.
I I J j ja /ʡ/, /ˤ/

ใน พ.ศ. 2535 มีการนำอักษรละตินมาใช้ใหม่ แต่ก็กลับไปใช้อักษรซีริลลิกอีก

A a Ä ä B b C c Ċ ċ Ç ç Ç̇ ç̇ D d
E e F f G g Ġ ġ H h X x Ẋ ẋ I i
J j K k Kh kh L l M m N n Ŋ ŋ O o
Ö ö P p Ph ph Q q Q̇ q̇ R r S s Ş ş
T t Th th U u Ü ü V v Y y Z z Ƶ ƶ
Ə ə


คำศัพท์

มีคำยืมจากภาษารัสเซีย ภาษากลุ่มเตอร์กิก (ส่วนมากมาจากภาษาคูเมียก ภาษาการาเชย์-บัลการ์) ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย และภาษาจอร์เจีย

ประวัติ

ก่อนยุคที่รัสเซียเข้ามายึดครอง การเขียนภาษาเชเชนพบในหนังสือที่เกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลาม ซึ่งเขียนด้วยภาษาอาหรับ แต่ก็มีการเขียนภาษาเชเชนด้วยอักษรอาหรับด้วย หนังสือเหล่านี้ถูกทำลายไปในยุคสหภาพโซเวียต การเขียนภาษาเชเชนเริ่มเกิดขึ้นหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคม และเริ่มใช้อักษรละตินแทนอักษรอาหรับเมื่อประมาณ พ.ศ. 2468 และเปลี่ยนเป็นอักษรซีริลลิกเมื่อ พ.ศ. 2481 ในช่วงที่มีการประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐเชเชน เมื่อ พ.ศ. 2535 ผู้พูดภาษาเชเชนบางส่วนเปลี่ยนมาใช้อักษรละติน

มีผู้พูดภาษาเชเชนในตุรกี จอร์แดนและซีเรียซึ่งไม่มีการเขียน และผู้พูดกลุ่มนี้ไม่คุ้นเคยกับอักษรซีริลลิก อย่างไรก็ตาม การใช้อักษรในภาษาเชเชนขึ้นกับการเมือง กลุ่มที่ต้องการรวมกับรัสเซียสนับสนุนอักษรซีริลลิก ส่วนกลุ่มที่ต้องการแยกตัวสนับสนุนอักษรละติน

อ้างอิง

  1. Ethnologue report for language code:che
  2. Constitution, Article 10.1
  3. Dryer, Matthew S. "Expression of Pronominal Subjects", in Martin Haspelmath et al. (eds.) The World Atlas of Language Structures, pp. 410-412. Oxford: Oxford University Press, 2005. ISBN 0-19-925591-1.
  4. Ch_writing

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาเชเชน
  • Noxçiyn latinic denyar. Let's revive together our Chechen Latin Alphabet (รัสเซีย)
  • Rosetta Project entry for Chechen (includes word list)
  • Indigenous Language of the Caucasus (Chechen), grammatical sketch of Chechen language
  • The Cyrillic and Latin Chechen alphabets
  • The Chechen language | Noxchiin mott Wealth of linguistic information.
  • A short English-Chechen-Japanese phraselist incl. sound file
  • Rferl North Caucasus Radio (also includes Avar and Adyghe)

ภาษาเชเชน, เป, นภาษาราชการของสาธารณร, ฐเชเชน, เชชเน, ในร, สเซ, ดราว, านคน, คำศ, พท, วนมากเป, นคำย, มจากภาษาร, สเซ, ภาษาต, รก, ภาษาคาลม, กซ, ภาษาอาหร, ภาษาเปอร, เซ, ภาษาอลาน, กหร, อภาษาออสเซต, กอย, ในภาษากล, มคอเคซ, ดอย, ในภาษากล, มน, ขร, วมก, บภาษาอ, งก, ซและภ. phasaechechn epnphasarachkarkhxngsatharnrthechechn echcheniy inrsesiy miphuphudraw 1 2 lankhn khasphthswnmakepnkhayumcakphasarsesiy phasaturki phasakhalmuks phasaxahrb phasaepxresiy phasaxlanikhruxphasaxxsestikxyuinphasaklumkhxekhss cdxyuinphasaklumnkhrwmkbphasaxingkusaelaphasabts thnghmdnixyuinphasaklumkhxekhesiyntawnxxkechiyngehnux sungmiephiyngphasaxingkusaelaphasaechechnthiekhaicknidphasaechechnNohchijn mott Noxciyn mottpraethsthimikarphudechcheniyphumiphakhechcheniycanwnphuphud1 330 000 khn 2545 imphbwnthi trakulphasaphasaklumkhxekhsstawnxxkechiyngehnux phasaklumnkhphasaklumechechn xingkusphasaechechnsthanphaphthangkarphasathangkarechcheniyrhsphasaISO 639 1ceISO 639 2cheISO 639 3che enuxha 1 karaephrkracaythangphumisastr 2 karepnphasarachkar 3 saeniyng 4 esiyng 4 1 phyychna 4 2 sra 5 iwyakrn 6 xksr 7 khasphth 8 prawti 9 xangxing 10 aehlngkhxmulxunkaraephrkracaythangphumisastr aekikhcakkhxmulkhxngrsesiyemuxeduxntulakhm ph s 2545 miphuphudphasaechechn 1 330 000 khn Ethnologue praemincanwnphuphudphasaechechnthnghmd 955 000 khn odyichkhxmulcanwnphuphudinrsesiy 945 000 khn in ph s 2532 aelapraemincanwnphuphudphasaechechnintawnxxkklangodyechphaacxraedn 1 karepnphasarachkar aekikhphasaechechnepnphasarachkarkhxngechcheniy 2 saeniyng aekikhmihlaysaeniyngesiyng aekikhlksnakhxngphasaechechnmiphyychnaaelasrakhlaykbphasaxahrbaelaphasasalichankhxngxemrikaehnux aelamirabbsrakhnadihykhlaykbphasaswiednaelaphasaeyxrmn phyychna aekikh phasaechechnmiphyychnacanwnmakthung 31 twechnediywkbphasaphunemuxnginphasaklumkhxekhss sungmiphyychnamakkwaphasainyuorp Labial Alveolar Postalveolar Velar Uvular Epiglottal GlottalNasal m n Plosive pʰ b pʼ pː tʰ d tʼ tː kʰ g kʼ xk qʰ qʼ qː ʢ ʔAffricate tsʰ dz tsʼ sː tʃʰ dʒ tʃʼFricative f v s z ʃ ʒ x ʁ ʜ hRhotic r rApproximant w l j sra aekikh phasaechechntangcakphasaklumkhxekhssephraaphasaechechnmisracanwnmakodyechphaasraprasmpraman 27 esiyng khunkbsaeniyng sungiklekhiyngkbrabbsrakhxngphasaklumsaekndienewiyaelaphasaeyxrmn front unrounded front rounded back centralɪ iː y yː ʊ uːje ie ɥo yo wo uoe e ː o oː o o ːae aeː e ɑːiwyakrn aekikhkhanamphasaechechnaebngepnephshruxradbthihlakhlay aetlaxnmixupsrrkhechphaasungekhaknidkbkriyaaelakhunsphth xyangirktam phasaechechnimichphasathilaprathanid 3 txngichsrrphnamthiepnprathanesmxaeminpraoykhngay aelakriyaimtxngekhakbprathanhruxbukhkhlhruxcanwnkhxngkrrmphasaechechnepnphasasmphnthkark mi 8 kark aelamiprbthcanwnmak ephuxchithungbthbathkhxngnaminpraoykhphasaechechnmirabbraksphththithathay karsrangkhaihminphasaekiywkbkarsrangwlithnghmdmakkakaretimekhathiswnthaykhxngkhaedim hruxkarrwmkhathimixyuaelw epnkaryakthicarabulksnakhxngwliinphcnanukrm aelaiwyakrnkhxngphasaimyxmihmikaryumlksnathangkriyaephuxsrangkhaihm khakriya dan trngkb to do inphasaxngkvs rwmkbkriyanamwliichephuxechuxmoyngaenwkhidihmthimacakphasaxunxksr aekikhphbcarukthiekhiyndwyxksrcxreciyinhubekhaechcheniy aetxksrniimcaepninphasaechechn txmamikarnaxksrxahrbmaekhiynphasaechechnhlngkarekhamakhxngsasnaxislam karprbrupaebbkhrngaerkekidkhuninyukhkhxngximamchamiltammadwykarprbprungin ph s 2453 ph s 2463 aela ph s 2465inewlaediywknmikarprbxksrody Peter von Uslar sungmithngxksrsirillik xksrlatin aelaxksrcxreciysungmikarnamaichthangwichakar in ph s 2454 mikarprbrupaebbdwyaetimepnthiniyminhmuchawechechn mikarnaxksrlatinmaichemux ph s 2468 aelaprbihepnrupaebbediywkbphasaxingkusemux ph s 2477 aetaeyktwxxkmaemux ph s 2481 inchwng ph s 2481 2535 ichxksrsirillikinkarekhiynphasaechechn dngaesdngintarang Cyrillic Name Mod Latin Name IPAA a a A a a e ɑː A a a A a a ae aeː B b be B b be b V v ve V v ve v G g ge G g ge ɡ GI gI gIa Ġ ġ ġa ɣ D d de D d de d E e e E e e e ɛː je ie Yo yo yo yo jo etc Zh zh zhe Ƶ ƶ ƶ e ʒ dʒ Z z ze Z z ze z dz I i i I i i ɪ Ij ij Ii ii iː J j ya yu e doca i Y y doca i j K k k K k ka k Kkh kkh Kk kk kː Kh kh kh Q q qa q Khkh khkh Qq qq qː K k ka Q q q a q KI kI kIa Kh kh kha k L l le L l el l M m me M m em m N n ne N n en n O o o O o o o ɔː wo uo O o o O o o ɥo yo P p pe P p pe p Pp pp Pp pp pː PI pI pIa Ph ph pha p R r re R r er r RhI rhI Rh rh r S s se S s es s Ss ss Ss ss sː T t te T t te t Tt tt Tt tt tː TI tI tIa Th th tha t U u u U u u uʊ Uv uv Uu uu uː U u u U u u y F f fe F f ef f H h he X x xa x H h ha Ẋ ẋ ẋ a ʜ HI hI hIa H h ha h C c ce C c ce ts CI cI cIa Ċ ċ ċe ts Ch ch che C c ce tʃ ChI chI chIa C c c e tʃ Sh sh she S s sa ʃ Sh sh she chIogIa hark E e c oġa ẋ ark ʔ Y y y kIeda harkE e e E e e e etc Yu yu yu yu ju etc Yu yu yu yu jy etc Ya ya ya ya ja etc Ya ya ya ya jae etc I I Ia J j ja ʡ ˤ in ph s 2535 mikarnaxksrlatinmaichihm aetkklbipichxksrsirillikxik A a A a B b C c Ċ ċ C c C c D dE e F f G g Ġ ġ H h X x Ẋ ẋ I iJ j K k Kh kh L l M m N n Ŋ ŋ O oO o P p Ph ph Q q Q q R r S s S sT t Th th U u U u V v Y y Z z Ƶ ƶE ekhasphth aekikhmikhayumcakphasarsesiy phasaklumetxrkik swnmakmacakphasakhuemiyk phasakaraechy blkar phasaxahrb phasaepxresiy aelaphasacxreciyprawti aekikhkxnyukhthirsesiyekhamayudkhrxng karekhiynphasaechechnphbinhnngsuxthiekiywkhxngkbsasnaxislam sungekhiyndwyphasaxahrb aetkmikarekhiynphasaechechndwyxksrxahrbdwy hnngsuxehlanithukthalayipinyukhshphaphosewiyt 4 karekhiynphasaechechnerimekidkhunhlngkarptiwtieduxntulakhm aelaerimichxksrlatinaethnxksrxahrbemuxpraman ph s 2468 aelaepliynepnxksrsirillikemux ph s 2481 inchwngthimikarprakascdtngsatharnrthechechn emux ph s 2535 phuphudphasaechechnbangswnepliynmaichxksrlatinmiphuphudphasaechechninturki cxraednaelasieriysungimmikarekhiyn aelaphuphudklumniimkhunekhykbxksrsirillik xyangirktam karichxksrinphasaechechnkhunkbkaremuxng klumthitxngkarrwmkbrsesiysnbsnunxksrsirillik swnklumthitxngkaraeyktwsnbsnunxksrlatinxangxing aekikh Ethnologue report for language code che Constitution Article 10 1 Dryer Matthew S Expression of Pronominal Subjects in Martin Haspelmath et al eds The World Atlas of Language Structures pp 410 412 Oxford Oxford University Press 2005 ISBN 0 19 925591 1 Ch writingaehlngkhxmulxun aekikh wikiphiediy saranukrmesri inphasaechechn Noxciyn latinic denyar Let s revive together our Chechen Latin Alphabet rsesiy Rosetta Project entry for Chechen includes word list Indigenous Language of the Caucasus Chechen grammatical sketch of Chechen language The Cyrillic and Latin Chechen alphabets The Chechen language Noxchiin mott Wealth of linguistic information A short English Chechen Japanese phraselist incl sound file Rferl North Caucasus Radio also includes Avar and Adyghe ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaechechn amp oldid 9354102, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม