fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาเติร์กโคราซานี

ภาษาเติร์กโคราซานี (تركي خراساني / Turki Khorasani) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มเตอร์กิกใช้พูดทางตอนเหนือของโคราซาน ผู้พูดภาษานี้พูดภาษาเปอร์เซียได้ด้วย

ภาษาเติร์กโคราซานี
ประเทศที่มีการพูดอิหร่าน
ภูมิภาคโคราซาน
จำนวนผู้พูดประมาณ 400,000 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
เตอร์กิก
รหัสภาษา
ISO 639-2tut
ISO 639-3kmz


การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

ภาษาเติร์กโคราซานีส่วนใหญ่ใช้พูดในอิหร่านหลายจังหวัด ถ้านับสำเนียงโอคุซของภาษาอุซเบกเป็นสำเนียงของภาษานี้ด้วย ก็จะมีผู้พูดอยู่ทางตอนใต้ของอุซเบกิสถานเช่นกัน ภาษานี้แบ่งเป็นสามสำเนียงคือ เหนือ ใต้และตะวันตก

การจัดจำแนกและภาษาใกล้เคียง

ภาษาเติร์กโคราซานีจัดอยู่ในภาษากลุ่มโอคุซของภาษากลุ่มเตอร์กิกซึ่งรวมภาษาตุรกี ภาษาอาเซอร์ไบจาน ภาษากากาอุซ ภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน ภาษาเติร์กเมนและภาษาซาลาร์ และสำเนียงโอคุซที่ใช้พูดในอุซเบกิสถาน ภาษาเติร์กโคราซานีถือว่าใกล้เคียงมากกับภาษาอุซเบกสำเนียงโอคุซและภาษาเติร์กเมน และใกล้เคียงกับสำเนียงของภาษาอาเซอร์ไบจานที่ใช้พูดในอิหร่าน

เสียง

พยัญชนะ

Consonant phonemes
  Labial Alveolar Palatal Velar Uvular Glottal
Plosive p b t d     k g q      
Affricate         t͡ʃ d͡ʒ            
Fricative f v s z ʃ   x ɣ     h  
Nasal m n ɲ ŋ        
Flap/Tap     r                
Lateral     l                
Approximant         j            

สระ

 


ลักษณะของภาษา

นาม

คำนามทำให้เป็นรูปพหูพจน์ด้วยการเติมปัจจัย-lAr ซึ่งมีสองรูปคือ -lar และ –lær ขึ้นกับการเปลี่ยนเสียงสระ การกของนามจำแนกโดยการลงท้ายด้วยปัจจัยที่ขึ้นกับการเปลี่ยนเสียงสระและสระหรือพยัญชนะที่ตามมา การแสดงความเป็นเจ้าของจะเติมปัจจัยเข้าที่นามที่ถูกถือครอง

การก หลังสระ หลังพยัญชนะ
Nominative ไม่มีการลงท้าย
Genitive niŋ/nin iŋ/in
Dative ya/yæ a/æ
Accusative ni/nɯ i/ɯ
Locative da/dæ
Ablative dan/dæn
Instrumental nan/næn

สรรพนาม

ภาษาเติร์กโคราซานีมีสรรพนามแทนบุคคล 6 คำ และจะมีการลงท้ายต่างจากนามปกติ

เอกพจน์ พหูพจน์
บุรุษที่ 1 mæn bɯz
บุรุษที่ 2 sæn siz
บุรุษที่ 3 o olar

สรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของ

เอกพจน์ พหูพจน์
บุรุษที่ 1 (I)m (I)mIz
บุรุษที่ 2 (I)ŋ (I)ŋIz
บุรุษที่ 3 (s)I lArI

กริยา

คำกริยามีการแบ่งย่อยตามกาล ความมุ่งหมาย มาลา บุคคล และจำนวน รูปพื้นฐานของกริยาลงท้ายด้วย -max

อ้างอิง

  1. Boeschoten, H (1998). "The speakers of Turkic languages". ใน L. Johanson and É. Á. Csató (eds) (บ.ก.). The Turkic languages. London: Routledge. ISBN 978-0-415-41261-2.CS1 maint: extra text: editors list (link)
  2. "Ethnologue report for Khorasani Turkish"

Tulu, Sultan (1989). Chorasantürkische Materialien aus Kalāt bei Esfarāyen. Berlin: Klaus Schwarz Verlag. ISBN 3-922968-88-0.

Doerfer, Gerhard (1993). Chorasantürkisch: Wörterlisten, Kurzgrammatiken, Indices. Wiesbaden: Harrassowitz. ISBN 3-447-03320-7. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Ethnologue report for Khorasani Turkish

ภาษาเต, กโคราซาน, تركي, خراساني, turki, khorasani, เป, นภาษาหน, งในภาษากล, มเตอร, กใช, ดทางตอนเหน, อของโคราซาน, ดภาษาน, ดภาษาเปอร, เซ, ยได, วย, ประเทศท, การพ, ดอ, หร, านภ, ภาคโคราซานจำนวนผ, ดประมาณ, คน, ไม, พบว, นท, ตระก, ลภาษาเตอร, โอค, ซรห, สภาษาiso, 2tutiso. phasaetirkokhrasani تركي خراساني Turki Khorasani epnphasahnunginphasaklumetxrkikichphudthangtxnehnuxkhxngokhrasan phuphudphasaniphudphasaepxresiyiddwy 2 phasaetirkokhrasanipraethsthimikarphudxihranphumiphakhokhrasancanwnphuphudpraman 400 000 khn 1 imphbwnthi trakulphasaetxrkik oxkhusphasaetirkokhrasanirhsphasaISO 639 2tutISO 639 3kmz enuxha 1 karaephrkracaythangphumisastr 2 karcdcaaenkaelaphasaiklekhiyng 3 esiyng 3 1 phyychna 3 2 sra 4 lksnakhxngphasa 4 1 nam 4 2 srrphnam 4 3 srrphnamaesdngkhwamepnecakhxng 4 4 kriya 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunkaraephrkracaythangphumisastr aekikhphasaetirkokhrasaniswnihyichphudinxihranhlaycnghwd thanbsaeniyngoxkhuskhxngphasaxusebkepnsaeniyngkhxngphasanidwy kcamiphuphudxyuthangtxnitkhxngxusebkisthanechnkn phasaniaebngepnsamsaeniyngkhux ehnux itaelatawntkkarcdcaaenkaelaphasaiklekhiyng aekikhphasaetirkokhrasanicdxyuinphasaklumoxkhuskhxngphasaklumetxrkiksungrwmphasaturki phasaxaesxribcan phasakakaxus phasaturkikakaxusbxlkhan phasaetirkemnaelaphasasalar aelasaeniyngoxkhusthiichphudinxusebkisthan phasaetirkokhrasanithuxwaiklekhiyngmakkbphasaxusebksaeniyngoxkhusaelaphasaetirkemn aelaiklekhiyngkbsaeniyngkhxngphasaxaesxribcanthiichphudinxihranesiyng aekikhphyychna aekikh Consonant phonemes Labial Alveolar Palatal Velar Uvular GlottalPlosive p b t d k g q Affricate t ʃ d ʒ Fricative f v s z ʃ x ɣ h Nasal m n ɲ ŋ Flap Tap r Lateral l Approximant j sra aekikh lksnakhxngphasa aekikhnam aekikh khanamthaihepnrupphhuphcndwykaretimpccy lAr sungmisxngrupkhux lar aela laer khunkbkarepliynesiyngsra karkkhxngnamcaaenkodykarlngthaydwypccythikhunkbkarepliynesiyngsraaelasrahruxphyychnathitamma karaesdngkhwamepnecakhxngcaetimpccyekhathinamthithukthuxkhrxng kark hlngsra hlngphyychnaNominative immikarlngthayGenitive niŋ nin iŋ inDative ya yae a aeAccusative ni nɯ i ɯLocative da daeAblative dan daenInstrumental nan naensrrphnam aekikh phasaetirkokhrasanimisrrphnamaethnbukhkhl 6 kha aelacamikarlngthaytangcaknampkti exkphcn phhuphcnburusthi 1 maen bɯ zburusthi 2 saen sizburusthi 3 o olarsrrphnamaesdngkhwamepnecakhxng aekikh exkphcn phhuphcnburusthi 1 I m I mIzburusthi 2 I ŋ I ŋIzburusthi 3 s I lArIkriya aekikh khakriyamikaraebngyxytamkal khwammunghmay mala bukhkhl aelacanwn rupphunthankhxngkriyalngthaydwy maxxangxing aekikh Boeschoten H 1998 The speakers of Turkic languages in L Johanson and E A Csato eds b k The Turkic languages London Routledge ISBN 978 0 415 41261 2 CS1 maint extra text editors list link Ethnologue report for Khorasani Turkish Tulu Sultan 1989 Chorasanturkische Materialien aus Kalat bei Esfarayen Berlin Klaus Schwarz Verlag ISBN 3 922968 88 0 Doerfer Gerhard 1993 Chorasanturkisch Worterlisten Kurzgrammatiken Indices Wiesbaden Harrassowitz ISBN 3 447 03320 7 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help aehlngkhxmulxun aekikhEthnologue report for Khorasani Turkishekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaetirkokhrasani amp oldid 8695446, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม