fbpx
วิกิพีเดีย

เปลือกสมองส่วนรู้รส

เปลือกสมองส่วนรู้รส (อังกฤษ: gustatory cortex ตัวย่อ GC) เป็นโครงสร้างสมองซึ่งทำหน้าที่รับรู้รส โดยมีโครงสร้างย่อย 2 ส่วน คือ anterior insula ใน insular cortex, และ operculum ส่วนหน้าที่บริเวณ inferior frontal gyrus ในสมองกลีบหน้า เพราะองค์ประกอบของมัน เปลือกสมองส่วนรู้รสบางครั้งจึงเรียกในวรรณกรรมต่าง ๆ ว่า AI/FO (Anterior Insula/Frontal Operculum) โดยใช้เทคนิคการบันทึกสัญญาณนอกเซลล์ นักวิทยาศาสตร์ได้แสดงว่า นิวรอนใน AI/FO จะตอบสนองต่อรสหวาน รสเค็ม รสขม และรสเปรี้ยว และเข้ารหัสความเข้มข้นของสิ่งเร้าที่มีรส

วิถีประสาทรับรู้รส

คล้ายกับระบบรู้กลิ่น ระบบรู้รสสามารถกำหนดโดยหน่วยรับรสโดยเฉพาะ ๆ ในระบบประสาทส่วนปลาย และวิถีประสาทที่ส่งและประมวลข้อมูลเกี่ยวกับรสในระบบประสาทส่วนกลาง หน่วยรับรสจะพบได้ที่ผิวลิ้น เพดานอ่อน คอหอย และหลอดอาหารส่วนบน ซึ่งรสชาติจะส่งไปทางประสาทสมอง 3 เส้นจาก 12 เส้น สาขา chorda tympani และ greater superior petrosal ของเส้นประสาทเฟเชียล (VII) จากปมประสาท geniculate ganglion ส่งข้อมูลรสชาติจากลิ้นด้านหน้าประมาณ 2/3 ส่วนสาขา lingual branch ของประสาทลิ้นคอหอย (glossopharyngeal nerve, IX) จากปมประสาท petrosal ganglion/inferior ganglion of glossopharyngeal nerve ส่งข้อมูลจากลิ้นด้านหลังประมาณ 1/3 รวมทั้งปุ่มเซอร์คัมแวลเลต ในขณะที่สาขา superior lingual branch ของประสาทเวกัส (vagus nerve, X) จากปมประสาท nodose ganglion/inferior ganglion of vagus nerve ส่งข้อมูลรสไปจากส่วนต่าง ๆ ด้านหลังของช่องปากรวมทั้งเพดาน คอหอย ฝากล่องเสียง และ 1/3 ส่วนต้นของหลอดอาหาร

แอกซอนส่วนกลางของเซลล์รับความรู้สึกหลักซึ่งอยู่ในปมประสาท (ganglia) ของเส้นประสาทสมองเหล่านี้ จะวิ่งไปสุดที่ด้านหน้า (rostral) ทางข้าง ๆ (lateral) ของนิวเคลียสประสาทคือ solitary tract (NST) ในก้านสมองส่วนท้าย (medulla) ซึ่งเรียกได้อีกอย่างว่า gustatory nucleus of the solitary tract complex ซึ่งก็จะส่งแอกซอนไปสุดที่ ventral posterior complex ของทาลามัส คือไปสุดที่ครึ่งส่วนใน (medial) ของ ventral posterior medial nucleus นิวเคลียสนี้ก็จะส่งแอกซอนไปยังส่วนต่าง ๆ ในคอร์เทกซ์ใหม่รวมทั้งคอร์เทกซ์ส่วนรู้รส คือ frontal operculum และ insula ซึ่งจะเริ่มทำงานเมื่อสัตว์นั้นบริโภคอาหารเครื่องดื่มและกำลังรู้รสชาติ

การทำงาน

มีงานศึกษาเป็นจำนวนมากเพื่อตรวจดูหน้าที่ของเปลือกสมองส่วนรู้รสและโครงสร้างอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กัน โดยกระตุ้นด้วยสารเคมีและไฟฟ้า รวมทั้งการสังเกตคนไข้ที่มีรอยโรคที่เปลือกสมองส่วนรู้รส หรือชักโดยเริ่มจากเปลือกสมองส่วนรู้รส มีรายงานว่าการกระตุ้นด้วยไฟฟ้าที่เส้นประสาทลิ้น (lingual nerve), chorda tympani, และสาขาลิ้นของเส้นประสาทลิ้นคอหอย จะก่อศักย์สนามไฟฟ้าเฉพาะที่ในส่วน frontal operculum การกระตุ้น insula ด้วยไฟฟ้า ก็จะทำให้รู้สึกว่าได้รับรส

ข้อมูลการรู้รสจะส่งไปทาง orbitofrontal cortex ซึ่งเป็นเปลือกสมองส่วนรู้รสรองไปจาก AI/FO งานศึกษาต่าง ๆ ได้แสดงว่าเซลล์ประสาท 8% ใน orbitofrontal cortex จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นรส และเซลล์ประสาทเหล่านี้บางส่วนจะเลือกตัวกระตุ้นคือรสอย่างเฉพาะเจาะจงงานวิจัยในลิงยังแสดงด้วยว่า การตอบสนองต่อรสของเซลล์ประสาทในส่วนนี้จะลดลงเมื่อลิงได้กินจนอิ่มแล้ว ยิ่งกว่านั้น เซลล์ประสาทใน orbitofrontal cortex จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางตาหรือทางจมูกนอกเหนือไปจากรส ผลงานเหล่านี้แสดงว่า เซลล์ประสาทรับรสใน orbitofrontal cortex อาจมีบทบาทสำคัญในการระบุและเลือกอาหาร

งานศึกษาในคนไข้รายงานว่า ความเสียหายในส่วนหน้า (rostral) ของ insula ทำให้เกิดความผิดปกติในการรู้รส ในการระบุรส และระดับการรับรู้รสที่น้อยผิดปกติ มีรายงานว่าคนไข้ที่ชักเริ่มจากส่วน frontal operculum จะเกิดรสชาติที่ไม่น่าพึงใจเมื่อเกิดอาการชัก สมองส่วน insula ยังทำงานเมื่อเห็นภาพเกี่ยวกับรสชาติ คือ งานศึกษาต่าง ๆ ซึ่งเทียบเขตสมองที่ทำงานเมื่อเห็นรูปอาหารและเมื่อเห็นรูปสถานที่พบว่า รูปอาหารจะทำให้ insula/operculum ด้านขวา และ orbitofrontal cortex ด้านซ้าย ทำงาน

เซลล์ประสาทรับรู้สารเคมี

เซลล์ประสาทรับรู้สารเคมี (chemosensory neurons) ก็คือเซลล์ที่แยกแยะระหว่างรสต่าง ๆ และระหว่างการมีหรือไม่มีรสหนึ่ง ๆ ในเซลล์เหล่านี้ของหนู การตอบสนองต่อการเลียที่ได้รส จะมากกว่าการตอบสนองต่อการเลียที่ไร้รส นักวิจัยได้พบว่า 34.2% ของนิวรอนในเปลือกสมองส่วนรู้รสมีการตอบสนองแบบรับรู้สารเคมี โดยนิวรอนที่เหลือจะแยกแยะระหว่างการเลียที่มีรสหรือไม่มีรส หรือประมวลข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมที่กำลังทำ

ความเข้มข้นของรส

เซลล์ประสาทรับรู้สารเคมีของเปลือกสมองส่วนรู้รส ตอบสนองโดยขึ้นอยู่กับความเข้มข้น ในงานศึกษาในหนูเมื่อกำลังเลีย การเพิ่มความเข้มข้นของผงชูรสที่ลิ้น จะเพิ่มอัตราการยิงสัญญาณของเซลล์ประสาทใน GC เทียบกับการเพิ่มความเข้มข้นของซูโครส ซึ่งลดอัตราการยิงสัญญาณ

เซลล์ประสาทใน GC ตอบสนองอย่างรวดเร็วและเฉพาะเจาะจงต่อรสต่าง ๆ โซเดียมคลอไรด์และซูโครสทำให้ GC ตอบสนองมากที่สุด เทียบกับกรดซิตริกที่เพิ่มการทำงานของเซลล์ ๆ เดียวบ้าง เซลล์ประสาทรับรู้สารเคมีใน GC เลือกตัวกระตุ้นหลายอย่าง (broadly tuned) คือ มีเซลล์จำนวนมากกว่าที่ตอบสนองต่อรสชาติหลายอย่าง (4-5) เทียบกับเซลล์น้อยกว่าที่ตอบสนองต่อรสน้อยอย่าง (1-2) นอกจากนั้น จำนวนเซลล์ประสาทที่ตอบสนองต่อรสหนึ่ง ๆ จะต่างกัน งานศึกษาที่ซับซ้อนของการรู้รสของหนูแสดงว่า มีเซลล์ที่ตอบสนองต่อผงชูรส โซเดียมคลอไรด์ ซูโครส และกรดซิตริก (ทั้งหมดทำให้เซลล์ประสาทจำนวนคล้าย ๆ กันทำงาน) มากกว่าเทียบกับสารประกอบคือยาควินิน (QHCl) และน้ำ

เมื่อความเข้มข้นเปลี่ยน

งานศึกษา GC ในหนูได้แสดงว่า เซลล์ประสาทใน GC ตอบสนองอย่างซับซ้อนเมื่อความเข้มข้นของรสเปลี่ยนไป สำหรับรสหนึ่ง เซลล์ประสาทเดียวกันอาจเพิ่มอัตราการยิงสัญญาณ เทียบกับอีกรสหนึ่ง ที่มันอาจตอบสนองในระดับความเข้มข้นกลาง ๆ เท่านั้น ในงานศึกษาเหล่านี้ มันชัดเจนว่า เซลล์ประสาทรับรู้สารเคมีใน GC น้อยเซลล์มากที่เพิ่มหรือลดอัตราการยิงสัญญาณในทางเดียว เมื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของรส (เช่น ผงชูรส โซเดียมคลอไรด์ และซูโครส) เพราะเซลล์มากกว่ามากตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นอย่างซับซ้อน ในรสที่ทดสอบในระดับความเข้มข้นต่าง ๆ ความเข้มข้นกลาง ๆ อาจทำให้ตอบสนองในอัตราสูงสุด (เช่น ซูโครสที่ 0.1 M) หรือความเข้มข้นสูงสุดหรือต่ำสุดอาจทำให้ตอบสนองในอัตราสูงสุด (เช่น โซเดียมคลอไรด์) หรือเซลล์อาจตอบสนองที่ความเข้มข้นเดียว

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Marieb, Elaine N.; Hoehn, Katja (2008). Anatomy & Physiology (3rd ed.). Boston: Benjamin Cummings/Pearson. pp. 391–395. ISBN 0-8053-0094-5.
  2. Pritchard, TC; Macaluso, DA; Eslinger, PJ (1999-08). "Taste perception in patients with insular cortex lesions". Behavioral neuroscience. 113 (4): 663–71. doi:10.1037/0735-7044.113.4.663. PMID 10495075. Check date values in: |date= (help)
  3. Kobayashi, Masayuki (2006). "Functional Organization of the Human Gustatory Cortex". J. Oral Biosci. 48 (4): 244–260. doi:10.1016/S1349-0079(06)80007-1.
  4. Saladin 2010a, Physiology, pp. 595-597 (611-613)
  5. Purves et al 2008a, The Organization of the Taste System, pp. 381-383
  6. Buck & Bargmann 2013a, Taste Detection Occurs in Taste Buds, pp. 727-728
  7. Ogawa, H; Ito, S; Nomura, T (1985-08). "Two distinct projection areas from tongue nerves in the frontal operculum of macaque monkeys as revealed with evoked potential mapping". Neuroscience research. 2 (6): 447–59. doi:10.1016/0168-0102(85)90017-3. PMID 4047521. Check date values in: |date= (help)
  8. Thorpe, SJ; Rolls, ET; Maddison, S (1983). "The orbitofrontal cortex: neuronal activity in the behaving monkey". Experimental brain research. Experimentelle Hirnforschung. Experimentation cerebrale. 49 (1): 93–115. doi:10.1007/bf00235545. PMID 6861938.
  9. Rolls, ET; Yaxley, S; Sinkiewicz, ZJ (1990). "Gustatory responses of single neurons in the caudolateral orbitofrontal cortex of the macaque monkey". J. Neurophysiol. 64: 1055–1066.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  10. Rolls, ET (1989). "Information processing in the taste system of primates". J. Exp. Biol. 146: 141–164.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  11. Pritchard, T. C.; Macaluso, D. A.; Eslinger, P.J. (1999). "Taste perception in patients with insular cortex lesions". Behav. Neurosci. 113: 663–671. doi:10.1037/0735-7044.113.4.663. PMID 10495075.
  12. Simmons, W. K.; Martin, A.; Barsalou, L. W. (2005). "Pictures of appetizing foods activate gustatory cortices for taste and reward. Cereb". Cortex. 15: 1602–1608. doi:10.1093/cercor/bhi038.
  13. Stapleton, J. R. (2006-04-12). "Rapid Taste Responses in the Gustatory Cortex during Licking". Journal of Neuroscience. 26 (15): 4126–4138. doi:10.1523/jneurosci.0092-06.2006. PMID 16611830. Full Article PDF (4.28 MB)

แหล่งอ้างอิงอื่น

  • Saladin, KS (2010a). "16.3 The Chemical Senses". Anatomy and Physiology: The Unity of Form and Function (5th ed.). New York: McGraw-Hill. pp. 595-597 (611-613). ISBN 978-0-39-099995-5.
  • Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; McNamara, James O; White, Leonard E, บ.ก. (2008a). "15 - The Chemical Senses". Neuroscience (4th ed.). Sinauer Associates. pp. 363, 381–393. ISBN 978-0-87893-697-7.CS1 maint: uses editors parameter (link)
  • Buck, Linda B; Bargmann, Cornelia I (2013a). "32 - Smell and Taste: The Chemical Senses". ใน Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ (บ.ก.). Principles of Neural Science (5th ed.). United State of America: McGraw-Hill. pp. 712–735. ISBN 978-0-07-139011-8.CS1 maint: uses editors parameter (link) CS1 maint: ref=harv (link)

เปล, อกสมองส, วนร, รส, งกฤษ, gustatory, cortex, วย, เป, นโครงสร, างสมองซ, งทำหน, าท, บร, รส, โดยม, โครงสร, างย, อย, วน, anterior, insula, ใน, insular, cortex, และ, operculum, วนหน, าท, บร, เวณ, inferior, frontal, gyrus, ในสมองกล, บหน, เพราะองค, ประกอบของม, บาง. epluxksmxngswnrurs xngkvs gustatory cortex twyx GC epnokhrngsrangsmxngsungthahnathirbrurs odymiokhrngsrangyxy 2 swn khux anterior insula in insular cortex aela operculum swnhnathibriewn inferior frontal gyrus insmxngklibhna 1 ephraaxngkhprakxbkhxngmn epluxksmxngswnrursbangkhrngcungeriykinwrrnkrrmtang wa AI FO Anterior Insula Frontal Operculum 2 odyichethkhnikhkarbnthuksyyannxkesll nkwithyasastridaesdngwa niwrxnin AI FO catxbsnxngtxrshwan rsekhm rskhm aelarsepriyw aelaekharhskhwamekhmkhnkhxngsingerathimirs 3 enuxha 1 withiprasathrbrurs 2 karthangan 2 1 esllprasathrbrusarekhmi 2 2 khwamekhmkhnkhxngrs 2 3 emuxkhwamekhmkhnepliyn 3 echingxrrthaelaxangxing 4 aehlngxangxingxunwithiprasathrbrurs aekikhkhlaykbrabbruklin rabbrurssamarthkahndodyhnwyrbrsodyechphaa inrabbprasathswnplay aelawithiprasaththisngaelapramwlkhxmulekiywkbrsinrabbprasathswnklang hnwyrbrscaphbidthiphiwlin ephdanxxn khxhxy aelahlxdxaharswnbn sungrschaticasngipthangprasathsmxng 3 esncak 12 esn sakha chorda tympani aela greater superior petrosal khxngesnprasathefechiyl VII cakpmprasath geniculate ganglion sngkhxmulrschaticaklindanhnapraman 2 3 4 5 6 swnsakha lingual branch khxngprasathlinkhxhxy glossopharyngeal nerve IX cakpmprasath petrosal ganglion inferior ganglion of glossopharyngeal nerve sngkhxmulcaklindanhlngpraman 1 3 rwmthngpumesxrkhmaewlelt 4 5 6 inkhnathisakha superior lingual branch khxngprasathewks vagus nerve X cakpmprasath nodose ganglion inferior ganglion of vagus nerve sngkhxmulrsipcakswntang danhlngkhxngchxngpakrwmthngephdan khxhxy faklxngesiyng 4 5 aela 1 3 swntnkhxnghlxdxahar 6 aexksxnswnklangkhxngesllrbkhwamrusukhlksungxyuinpmprasath ganglia khxngesnprasathsmxngehlani cawingipsudthidanhna rostral thangkhang lateral khxngniwekhliysprasathkhux solitary tract NST inkansmxngswnthay medulla sungeriykidxikxyangwa gustatory nucleus of the solitary tract complex sungkcasngaexksxnipsudthi ventral posterior complex khxngthalams khuxipsudthikhrungswnin medial khxng ventral posterior medial nucleus niwekhliysnikcasngaexksxnipyngswntang inkhxrethksihmrwmthngkhxrethksswnrurs khux frontal operculum aela insula sungcaerimthanganemuxstwnnbriophkhxaharekhruxngdumaelakalngrurschati 5 karthangan aekikhmingansuksaepncanwnmakephuxtrwcduhnathikhxngepluxksmxngswnrursaelaokhrngsrangxun thismphnthkn odykratundwysarekhmiaelaiffa rwmthngkarsngektkhnikhthimirxyorkhthiepluxksmxngswnrurs hruxchkodyerimcakepluxksmxngswnrurs miraynganwakarkratundwyiffathiesnprasathlin lingual nerve chorda tympani aelasakhalinkhxngesnprasathlinkhxhxy cakxskysnamiffaechphaathiinswn frontal operculum 7 karkratun insula dwyiffa kcathaihrusukwaidrbrskhxmulkarrurscasngipthang orbitofrontal cortex sungepnepluxksmxngswnrursrxngipcak AI FO ngansuksatang idaesdngwaesllprasath 8 in orbitofrontal cortex catxbsnxngtxsingerathiepnrs 8 aelaesllprasathehlanibangswncaeluxktwkratunkhuxrsxyangechphaaecaacng 9 nganwicyinlingyngaesdngdwywa kartxbsnxngtxrskhxngesllprasathinswnnicaldlngemuxlingidkincnximaelw 10 yingkwann esllprasathin orbitofrontal cortex catxbsnxngtxsingerathangtahruxthangcmuknxkehnuxipcakrs phlnganehlaniaesdngwa esllprasathrbrsin orbitofrontal cortex xacmibthbathsakhyinkarrabuaelaeluxkxaharngansuksainkhnikhraynganwa khwamesiyhayinswnhna rostral khxng insula thaihekidkhwamphidpktiinkarrurs inkarraburs aelaradbkarrbrursthinxyphidpkti 11 miraynganwakhnikhthichkerimcakswn frontal operculum caekidrschatithiimnaphungicemuxekidxakarchk smxngswn insula yngthanganemuxehnphaphekiywkbrschati khux ngansuksatang sungethiybekhtsmxngthithanganemuxehnrupxaharaelaemuxehnrupsthanthiphbwa rupxaharcathaih insula operculum dankhwa aela orbitofrontal cortex dansay thangan 12 esllprasathrbrusarekhmi aekikh esllprasathrbrusarekhmi chemosensory neurons kkhuxesllthiaeykaeyarahwangrstang aelarahwangkarmihruximmirshnung inesllehlanikhxnghnu kartxbsnxngtxkareliythiidrs camakkwakartxbsnxngtxkareliythiirrs nkwicyidphbwa 34 2 khxngniwrxninepluxksmxngswnrursmikartxbsnxngaebbrbrusarekhmi odyniwrxnthiehluxcaaeykaeyarahwangkareliythimirshruximmirs hruxpramwlkhxmulekiywkbkickrrmthikalngtha 13 khwamekhmkhnkhxngrs aekikh esllprasathrbrusarekhmikhxngepluxksmxngswnrurs txbsnxngodykhunxyukbkhwamekhmkhn inngansuksainhnuemuxkalngeliy karephimkhwamekhmkhnkhxngphngchursthilin caephimxtrakaryingsyyankhxngesllprasathin GC ethiybkbkarephimkhwamekhmkhnkhxngsuokhrs sungldxtrakaryingsyyan 13 esllprasathin GC txbsnxngxyangrwderwaelaechphaaecaacngtxrstang osediymkhlxirdaelasuokhrsthaih GC txbsnxngmakthisud ethiybkbkrdsitrikthiephimkarthangankhxngesll ediywbang esllprasathrbrusarekhmiin GC eluxktwkratunhlayxyang broadly tuned khux miesllcanwnmakkwathitxbsnxngtxrschatihlayxyang 4 5 ethiybkbesllnxykwathitxbsnxngtxrsnxyxyang 1 2 nxkcaknn canwnesllprasaththitxbsnxngtxrshnung catangkn 13 ngansuksathisbsxnkhxngkarrurskhxnghnuaesdngwa miesllthitxbsnxngtxphngchurs osediymkhlxird suokhrs aelakrdsitrik thnghmdthaihesllprasathcanwnkhlay knthangan makkwaethiybkbsarprakxbkhuxyakhwinin QHCl aelana emuxkhwamekhmkhnepliyn aekikh ngansuksa GC inhnuidaesdngwa esllprasathin GC txbsnxngxyangsbsxnemuxkhwamekhmkhnkhxngrsepliynip sahrbrshnung esllprasathediywknxacephimxtrakaryingsyyan ethiybkbxikrshnung thimnxactxbsnxnginradbkhwamekhmkhnklang ethann inngansuksaehlani mnchdecnwa esllprasathrbrusarekhmiin GC nxyesllmakthiephimhruxldxtrakaryingsyyaninthangediyw emuxtxbsnxngtxkarepliynaeplngkhwamekhmkhnkhxngrs echn phngchurs osediymkhlxird aelasuokhrs ephraaesllmakkwamaktxbsnxngtxkarepliynaeplngkhwamekhmkhnxyangsbsxn inrsthithdsxbinradbkhwamekhmkhntang khwamekhmkhnklang xacthaihtxbsnxnginxtrasungsud echn suokhrsthi 0 1 M hruxkhwamekhmkhnsungsudhruxtasudxacthaihtxbsnxnginxtrasungsud echn osediymkhlxird hruxesllxactxbsnxngthikhwamekhmkhnediyw 13 echingxrrthaelaxangxing aekikh Marieb Elaine N Hoehn Katja 2008 Anatomy amp Physiology 3rd ed Boston Benjamin Cummings Pearson pp 391 395 ISBN 0 8053 0094 5 Pritchard TC Macaluso DA Eslinger PJ 1999 08 Taste perception in patients with insular cortex lesions Behavioral neuroscience 113 4 663 71 doi 10 1037 0735 7044 113 4 663 PMID 10495075 Check date values in date help Kobayashi Masayuki 2006 Functional Organization of the Human Gustatory Cortex J Oral Biosci 48 4 244 260 doi 10 1016 S1349 0079 06 80007 1 4 0 4 1 4 2 Saladin 2010a Physiology pp 595 597 611 613 5 0 5 1 5 2 5 3 Purves et al 2008a The Organization of the Taste System pp 381 383 6 0 6 1 6 2 Buck amp Bargmann 2013a Taste Detection Occurs in Taste Buds pp 727 728 Ogawa H Ito S Nomura T 1985 08 Two distinct projection areas from tongue nerves in the frontal operculum of macaque monkeys as revealed with evoked potential mapping Neuroscience research 2 6 447 59 doi 10 1016 0168 0102 85 90017 3 PMID 4047521 Check date values in date help Thorpe SJ Rolls ET Maddison S 1983 The orbitofrontal cortex neuronal activity in the behaving monkey Experimental brain research Experimentelle Hirnforschung Experimentation cerebrale 49 1 93 115 doi 10 1007 bf00235545 PMID 6861938 Rolls ET Yaxley S Sinkiewicz ZJ 1990 Gustatory responses of single neurons in the caudolateral orbitofrontal cortex of the macaque monkey J Neurophysiol 64 1055 1066 CS1 maint multiple names authors list link Rolls ET 1989 Information processing in the taste system of primates J Exp Biol 146 141 164 CS1 maint uses authors parameter link Pritchard T C Macaluso D A Eslinger P J 1999 Taste perception in patients with insular cortex lesions Behav Neurosci 113 663 671 doi 10 1037 0735 7044 113 4 663 PMID 10495075 Simmons W K Martin A Barsalou L W 2005 Pictures of appetizing foods activate gustatory cortices for taste and reward Cereb Cortex 15 1602 1608 doi 10 1093 cercor bhi038 13 0 13 1 13 2 13 3 Stapleton J R 2006 04 12 Rapid Taste Responses in the Gustatory Cortex during Licking Journal of Neuroscience 26 15 4126 4138 doi 10 1523 jneurosci 0092 06 2006 PMID 16611830 Full Article PDF 4 28 MB aehlngxangxingxun aekikhSaladin KS 2010a 16 3 The Chemical Senses Anatomy and Physiology The Unity of Form and Function 5th ed New York McGraw Hill pp 595 597 611 613 ISBN 978 0 39 099995 5 Purves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel McNamara James O White Leonard E b k 2008a 15 The Chemical Senses Neuroscience 4th ed Sinauer Associates pp 363 381 393 ISBN 978 0 87893 697 7 CS1 maint uses editors parameter link Buck Linda B Bargmann Cornelia I 2013a 32 Smell and Taste The Chemical Senses in Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth AJ b k Principles of Neural Science 5th ed United State of America McGraw Hill pp 712 735 ISBN 978 0 07 139011 8 CS1 maint uses editors parameter link CS1 maint ref harv link bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title epluxksmxngswnrurs amp oldid 7612983, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม