fbpx
วิกิพีเดีย

เนโท

พิกัดภูมิศาสตร์: 50°52′34.16″N 4°25′19.24″E / 50.8761556°N 4.4220111°E / 50.8761556; 4.4220111

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (อังกฤษ: North Atlantic Treaty Organization; ฝรั่งเศส: Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (อังกฤษ: NATO) หรือ ออต็อง (ฝรั่งเศส: OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ปัจจุบันมีสมาชิก 30 ประเทศ

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ
Organisation du Traité de l'Atlantique Nord
ตราสัญลักษณ์
สมาชิกเนโท
ชื่อย่อNATO, OTAN
คําขวัญAnimus in consulendo liber (ละติน)
ธง
ก่อตั้ง4 เมษายน 1949; 72 ปีก่อน (1949-04-04)
ประเภทพันธมิตรทางทหาร
สํานักงานใหญ่บรัสเซลส์, เบลเยียม
สมาชิก
ภาษาทางการ
อังกฤษ
ฝรั่งเศส
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ฟิลิป บรีดเลิฟ
เลขาธิการ
เจนส์ สโตลเตนเบิร์ก
ประธานคณะกรรมาธิการทหารเนโท
เพตร์ พาเวล
รายจ่าย (2016)$892 พันล้าน
เว็บไซต์nato.int

สมาชิกก่อตั้งประกอบด้วยประเทศเบลเยียม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ต่อมาใน ค.ศ. 1952 กรีซและตุรกีได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก ในขณะที่เยอรมนีตะวันตก (ประเทศเยอรมนีในขณะนั้น) เข้าร่วมเป็นสมาชิกใน ค.ศ. 1955 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม

ประวัติ

จุดเริ่มต้น

 
The North Atlantic Treaty was signed by President Harry S. Truman in Washington, D.C., on 4 April 1949 and was ratified by the United States in August 1949.

จากการลงนามในสนธิสัญญากรุงบรัสเซลส์ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2491 โดยมีเบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และสหราชอาณาจักรนั้น ถือเป็นการเริ่มต้นขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งสนธิสัญญานี้ และเหตุการณ์การปิดกั้นเบอร์ลินของโซเวียต ทำให้มีการก่อตั้งองค์กรป้องกันสหภาพยุโรปตะวันตก (WEU) ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2491 และด้วยการสนับสนุนอย่างดีจากพันธมิตรสำคัญคือสหรัฐอเมริกาที่ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางการทหารกับสหภาพโซเวียต ทำให้พันธมิตรทางทหารที่ก่อตั้งขึ้นมาใหม่นี้เริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้นอย่างรวดเร็ว

ส่วนการเริ่มต้นสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนืออย่างเป็นทางการนั้น เกิดขึ้นเมื่อมีการลงนามในวอชิงตันดีซี ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2492 โดยได้รวมสนธิทั้งห้าของของบรัสเซลส์เข้าไว้ด้วยกัน โดยมีสมาชิกที่ร่วมก่อตั้งในครั้งแรกนั้น คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา โปรตุเกส อิตาลี นอร์เวย์ เดนมาร์ก และไอซ์แลนด์ โดยเสียงสนับสนุนในการก่อตั้งนั้นไม่เป็นเอกฉันท์ เนื่องจากมีชาวไอซ์แลนด์บางกลุ่มต่อต้านการเข้าเป็นสมาชิกในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2492

สงครามเย็น

นโยบายของเนโทยุคหลังสงครามเย็น

หลังจากที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง เนโทได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและปรับปรุงนโยบายในหลายๆ ด้านเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ดังนี้

  1. การให้ความสำคัญแก่ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace-keeping) ได้แก่ การสร้างความเข้าใจในกระบวนการรักษาสันติภาพ การสร้างความร่วมมือ การวางแผน และการสร้างความสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ และองค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (OSCE) ในกระบวนการดังกล่าว รวมทั้งการประสานงานระหว่างฝ่ายพลเรือนกับฝ่ายทหารโดยคำนึงถึงหลักมนุษยธรรม
  2. การหาแนวทางที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์กับรัสเซีย โดยมุ่งเน้นให้รัสเซียมีบทบาทสำคัญและสร้างสรรค์ในการสร้างเสถียรภาพในยุโรปในกรอบกว้าง
  3. การปรับบทบาททางการทหารให้เอื้อต่อสภาพความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนการดำเนินนโยบายทางด้านความมั่นคงที่เอื้อต่อพัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ และการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ระหว่างงบประมาณด้านการทหารและงบประมาณด้านเศรษฐกิจของประเทศ
  4. ความร่วมมือในโครงการวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม
  5. การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศที่ไม่ใช่สมาชิก

ปฏิบัติการทางทหาร

 
สมาชิกเนโท

ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มเนโท (Major Non-NATO Ally – MNNA)

ตามกฎหมายของสหรัฐอเมริกา สถานะ "ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มเนโท" มี 2 ประเภท คือ สถานะที่ 1 เป็นการให้ตาม title 10 หมวดที่ 2350 (a) ของ U.S. code (แก้ไขโดย Nunn Amendment ปี 2530) และสถานะที่ 2 เป็นการให้ตามกฎหมายว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ ปี 2541 (ตามที่ได้มีการแก้ไขโดย title 22 หมวดที่ 2321 (k) ของ U.S. Code) หมวดที่ 571

1.) สถานะ MNNA ตาม title 10 หมวดที่ 2350 (a)

กฎหมายให้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในการให้สถานะ “ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มเนโท” ด้วยความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในการ กำหนดสถานะ "ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มเนโท" โดยมีวัตถุประสงค์ให้ประเทศที่ได้รับสถานะ MNNA สามารถเข้าร่วมในโครงการวิจัยและการพัฒนาของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ได้ ประเทศที่ได้รับสถานะ MNNA ประเภทนี้มี 11 ประเทศ ได้แก่ อิสราเอล อียิปต์ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สาธารณรัฐเกาหลี (2530) จอร์แดน (2539) อาร์เจนติน่า (2541) นิวซีแลนด์ บาห์เรน (2545) ฟิลิปปินส์และไทย (2546)

ประเทศที่ได้รับสถานะ MNNA ประเภทนี้จะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้

• บริษัทของประเทศที่ได้รับสถานะ MNNA สามารถเข้าร่วมการประมูลสัญญาการซ่อมบำรุง การซ่อมแซม หรือการปรับปรุงยุทโธปกรณ์ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในบางโครงการนอกผืนแผ่นดินสหรัฐฯ

• ประเทศที่ได้รับสถานะ MNNA จะมีสิทธิ์ในการเข้าร่วมโครงการวิจัยและพัฒนาด้านการต่อต้านการก่อการร้ายร่วมกับสหรัฐฯ บางโครงการ

• กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ สามารถเข้าร่วมโครงการร่วมมือเพื่อการวิจัยและพัฒนาเพื่อปรับปรุงขีดความสามารถในการป้องกันประเทศของประเทศที่ได้รับสถานะ โดยรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายร่วมกันอย่างเป็นธรรม

2.) สถานะ MNNA ตามหมวดที่ 517 ของกฎหมายว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ พ.ศ. 2504 ฉบับแก้ไข

กฎหมายให้อำนาจประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในการให้สถานะ MNNA แก่ประเทศใดประเทศหนึ่งได้หลังจากที่ได้แจ้งต่อรัฐสภาภายใน 30 วัน โดยมีวัตถุประสงค์ตามกฎหมายว่าด้วย การให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศและกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการส่งออกอาวุธ การให้สถานะ MNNA ตามกฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใช้ในปี 2539 โดยเริ่มแรกมีประเทศที่ได้รับสถานะ คือ ออสเตรเลีย อิสราเอล อียิปต์ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี และนิวซีแลนด์ ต่อมาได้มีการให้สถานะ MNNA เพิ่มเติมแก่ จอร์แดน (2539) อาร์เจนตินา (2541) บาห์เรน (2545) ฟิลิปปินส์ และไทย (2546) รวมทั้งหมด 11 ประเทศ

ประเทศที่ได้รับ MNNA ประเภทที่ 2 จะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้

• สำหรับประเทศที่ได้รับสถานะ MNNA ที่อยู่ด้านทิศใต้หรือตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศกลุ่มเนโทจะได้รับสิทธิ์ได้รับอุปกรณ์ทางทหารส่วนเกินจากสหรัฐฯ เป็นลำดับแรก

• สิทธิ์ในการซื้อกระสุนที่ทำจากกากยูเรเนียมและสิทธิ์ได้รับคลังอาวุธยุทโธปกรณ์สำรองของสหรัฐฯ ที่ตั้งอยู่ในประเทศของตนนอกค่ายทหารสหรัฐฯ

• สิทธิ์ในการทำข้อตกลงกับรัฐบาลสหรัฐฯ ในการจัดการฝึกในแบบทวิภาคีหรือ พหุภาคีโดยใช้ระบบการใช้จ่ายต่างตอบแทนที่อาจยกเว้นการใช้คืนค่าใช้จ่ายทางอ้อม และค่าธรรมเนียมต่างๆ เฉพาะรายการ

• สิทธิ์ในการเช่าอุปกรณ์ทางทหารบางอย่างเพื่อประโยชน์ทางพาณิชย์ตาม โครงการการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินทางทหารแก่รัฐบาลต่างประเทศของสหรัฐฯ

• สิทธิ์ในการขอยืมวัสดุ อุปกรณ์ และยุทโธปกรณ์ สำหรับโครงการวิจัยและพัฒนาร่วมกันและสำหรับการทดสอบและประเมินผล

• สิทธิ์ในการขอให้มีการพิจารณาได้รับใบอนุญาตส่งออกดาวเทียมเพื่อการพาณิชย์ รวมถึงเทคโนโลยี ส่วนประกอบและระบบของดาวเทียมนั้นๆ โดยเร่งด่วน

การให้สถานะ MNNA ประเภทที่ 2 นี้ อาจถูกยกเลิกได้โดยดุลพินิจของประธานาธิบดีสหรัฐฯ ซึ่งต้องแจ้งรัฐสภาล่วงหน้า 30 วัน อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา ยังไม่เคยมีการยกเลิกการให้สถานะ MNNA ประเภทนี้ และไม่มีหลักเกณฑ์ในการยกเลิกสถานะดังกล่าว

โครงสร้าง

องค์กรฝ่ายพลเรือน

  1. คณะมนตรีแอตแลนติกเหนือ (อังกฤษ: North Atlantic Council - NAC) เป็นองค์กรหลักรับผิดชอบต่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ของเนโทที่เกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญาและการนำไปปฏิบัติ คณะมนตรีฯ ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศสมาชิก มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
  1. สำนักงานเลขาธิการเนโท ตั้งอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม มีหน้าที่บริหารงานทั่วไปขององค์กร รวมถึงการวางแผนนโยบาย หัวหน้า สนง. / เลขาธิการเนโท คนปัจจุบัน คือ นาย Jaap de Hoop Scheffer (อดีต รมว. กต. เนเธอร์แลนด์) เข้ารับตำแหน่งเมื่อปี 2547

องค์กรฝ่ายทหาร

• คณะกรรมาธิการทางทหาร (The Military Committee) มีหน้าที่ให้คำแนะนำด้านการทหารแก่คณะมนตรีและผู้บัญชาการกองกำลังผสม ประกอบด้วยเสนาธิการทหารของทุกประเทศภาคี ยกเว้นฝรั่งเศส และไอซ์แลนด์ (ซึ่งไม่มีกำลังทหาร) มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยเนโทได้แบ่งเขตยุทธศาสตร์ตามภูมิศาสตร์เป็น 3 เขต คือ

  1. เขตยุโรป (อังกฤษ: The European Command) อยู่ภายใต้การดูแลของผู้บัญชาการกองกำลังผสมยุโรป (Supreme Allied Commander Europe - SACEUR) โดยมีกองบัญชาการ เรียกว่า Supreme Headquaters Allied Powers Europe (SHAPE) ประกอบด้วยกองกำลังเคลื่อนที่เร็วจากประเทศสมาชิก ซึ่งพร้อมจะปฏิบัติการได้ทันที เขตการรับผิดชอบ คือ แอฟริกาเหนือ เมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และยุโรปเหนือ ยกเว้นโปรตุเกส และสหราชอาณาจักร SHAPE มีกองบัญชาการย่อยในยุโรปเหนือที่เมืองโคสชัส ประเทศนอรเวย์ ในยุโรปกลางที่เมืองบรุนส์ชุน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในยุโรปใต้ที่เมือง Naples ประเทศอิตาลี
  1. เขตแอตแลนติก (อังกฤษ: The Atlantic Ocean Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Supreme Allied Commander Atlantic (SACLANT) เขตการรับผิดชอบตั้งแต่ขั้วโลกเหนือถึงเส้น Tropic of Cancer และจากฝั่งสหรัฐอเมริกาถึงยุโรป SACLANT มีหน้าที่หลักในการพิทักษ์เส้นทางเดินเรือในเขตแอตแลนติก ซึ่งเน้นลักษณะการปฏิบัติการกองกำลังทัพเรือแอตแลนติก (Standing Naval Force Atlantic -- STANA RR LNT) มีกองบัญชาการตั้งอยู่ที่ Norfolk สหรัฐฯ
  1. เขตช่องแคบ (อังกฤษ: The Channel Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Allied Commander in Chief Channel – CINCHAN) เขตการรับผิดชอบบริเวณช่องแคบอังกฤษ และทะเลเหนือตอนใต้ ทำหน้าที่คุ้มครองป้องกันเรือพาณิชย์ในเขตประสานงานกับ SACEUR ในการป้องกันภัยทางอากาศในเขตช่องแคบ CINCHAN มีกองกำลังเรือรบอยู่ภายใต้การควบคุมเรียกว่า Standing Naval Force Channel (STANAFORCHAN) มีกองบัญชาการอยู่ที่ Nortwood สหราชอาณาจักร

อ้างอิง

  1. "The Official motto of NATO". NATO. 20 January 2011. สืบค้นเมื่อ 8 August 2013.
  2. "English and French shall be the official languages for the entire North Atlantic Treaty Organization.", Final Communiqué following the meeting of the North Atlantic Council on 17 September 1949. "(..) the English and French texts [of the Treaty] are equally authentic (...)" The North Atlantic Treaty, Article 14
  3. "Defence Expenditure of NATO Countries (2009-2016)" (PDF). NATO Headquarters, Belgium. 31 March 2017. สืบค้นเมื่อ 26 May 2017.
  4. Oxford การออกเสียง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • NATO

เนโท, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ดภ, ศาสตร, 8761556, 4220111, 87. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phikdphumisastr 50 52 34 16 N 4 25 19 24 E 50 8761556 N 4 4220111 E 50 8761556 4 4220111 xngkhkarsnthisyyaaextaelntikehnux xngkvs North Atlantic Treaty Organization frngess Organisation du traite de l Atlantique nord yxwa enoth 4 xngkvs NATO hrux xxtxng frngess OTAN hrux naot tamthikhnithyeriyk epnphnthmitrthangthharrahwangrthbal kxtngemuxwnthi 4 emsayn kh s 1949 pccubnmismachik 30 praethsxngkhkarsnthisyyaaextaelntikehnuxOrganisation du Traite de l Atlantique NordtrasylksnsmachikenothchuxyxNATO OTANkhakhwyAnimus in consulendo liber latin 1 thngkxtng4 emsayn 1949 72 pikxn 1949 04 04 praephthphnthmitrthangthharsanknganihybrsesls ebleyiymsmachiksmachik 30 praeths AlbaniaBelgiumBulgariaCanadaCroatiaCzech RepublicDenmarkEstoniaFranceGermanyGreeceHungaryIcelandItalyLatviaLithuaniaLuxembourgMontenegroNetherlandsNorth MacedoniaNorwayPolandPortugalRomaniaSlovakiaSloveniaSpainTurkeyUnited KingdomUnited Statesphasathangkarxngkvsfrngess 2 phubychakarthharsungsudfilip bridelifelkhathikarecns sotletnebirkprathankhnakrrmathikarthharenothephtr phaewlraycay 2016 892 phnlan 3 ewbistnato wbr intsmachikkxtngprakxbdwypraethsebleyiym aekhnada ednmark frngess ixsaelnd xitali lkesmebirk enethxraelnd nxrewy oprtueks shrachxanackr aelashrthxemrika txmain kh s 1952 krisaelaturkiidekharwmepnsmachik inkhnathieyxrmnitawntk praethseyxrmniinkhnann ekharwmepnsmachikin kh s 1955 misanknganihyxyuthikrungbrsesls praethsebleyiym enuxha 1 prawti 1 1 cuderimtn 1 2 sngkhrameyn 2 ptibtikarthangthhar 3 okhrngsrang 3 1 xngkhkrfayphleruxn 3 2 xngkhkrfaythhar 4 xangxing 5 duephim 6 aehlngkhxmulxunprawti aekikhcuderimtn aekikh The North Atlantic Treaty was signed by President Harry S Truman in Washington D C on 4 April 1949 and was ratified by the United States in August 1949 cakkarlngnaminsnthisyyakrungbrsesls emuxwnthi 17 minakhm ph s 2491 odymiebleyiym enethxraelnd lkesmebirk frngess aelashrachxanackrnn thuxepnkarerimtnkhxngxngkhkarsnthisyyaaextaelntikehnux sungsnthisyyani aelaehtukarnkarpidknebxrlinkhxngosewiyt thaihmikarkxtngxngkhkrpxngknshphaphyuorptawntk WEU ineduxnknyayn ph s 2491 aeladwykarsnbsnunxyangdicakphnthmitrsakhykhuxshrthxemrikathitxngkarthwngdulxanacthangkarthharkbshphaphosewiyt thaihphnthmitrthangthharthikxtngkhunmaihmnierimepnrupepnrangkhunxyangrwderwswnkarerimtnsnthisyyapxngknaextaelntikehnuxxyangepnthangkarnn ekidkhunemuxmikarlngnaminwxchingtndisi inwnthi 4 emsayn ph s 2492 odyidrwmsnthithnghakhxngkhxngbrseslsekhaiwdwykn odymismachikthirwmkxtnginkhrngaerknn khux shrthxemrika aekhnada oprtueks xitali nxrewy ednmark aelaixsaelnd odyesiyngsnbsnuninkarkxtngnnimepnexkchnth enuxngcakmichawixsaelndbangklumtxtankarekhaepnsmachikineduxnminakhm ph s 2492 sngkhrameyn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidnoybaykhxngenothyukhhlngsngkhrameynhlngcakthisngkhrameynsinsudlng enothidprbepliynokhrngsrangaelaprbprungnoybayinhlay danephuxihsxdkhlxngkbkarepliynaeplnginyuorpklangaelayuorptawnxxk dngni karihkhwamsakhyaekptibtikarrksasntiphaph Peace keeping idaek karsrangkhwamekhaicinkrabwnkarrksasntiphaph karsrangkhwamrwmmux karwangaephn aelakarsrangkhwamsmphnthkbxngkhkarshprachachati aelaxngkhkarwadwykhwammnkhngaelakhwamrwmmuxinyuorp OSCE inkrabwnkardngklaw rwmthngkarprasannganrahwangfayphleruxnkbfaythharodykhanungthunghlkmnusythrrm karhaaenwthangthicasngesrimkhwamsmphnthkbrsesiy odymungennihrsesiymibthbathsakhyaelasrangsrrkhinkarsrangesthiyrphaphinyuorpinkrxbkwang karprbbthbaththangkarthharihexuxtxsphaphkhwamepnxyuthidikhxngprachachnkardaeninnoybaythangdankhwammnkhngthiexuxtxphthnakarthangdanesrsthkic aelakarcdsrrngbpramanthiehmaasm rahwangngbpramandankarthharaelangbpramandanesrsthkickhxngpraeths khwamrwmmuxinokhrngkarwithyasastrtang odyechphaadansingaewdlxm karesrimsrangkhwamiwenuxechuxicaelakarphthnakhwamrwmmuxkbpraethsthiimichsmachikptibtikarthangthhar aekikh smachikenoth chatiphnthmitrhlknxkklumenoth Major Non NATO Ally MNNA tamkdhmaykhxngshrthxemrika sthana chatiphnthmitrhlknxkklumenoth mi 2 praephth khux sthanathi 1 epnkarihtam title 10 hmwdthi 2350 a khxng U S code aekikhody Nunn Amendment pi 2530 aelasthanathi 2 epnkarihtamkdhmaywadwykarihkhwamchwyehluxaektangpraeths pi 2541 tamthiidmikaraekikhody title 22 hmwdthi 2321 k khxng U S Code hmwdthi 5711 sthana MNNA tam title 10 hmwdthi 2350 a kdhmayihxanacrthmntriwakarkrathrwngklaohmshrth inkarihsthana chatiphnthmitrhlknxkklumenoth dwykhwamehnchxbcakrthmntriwakarkrathrwngkartangpraethsinkar kahndsthana chatiphnthmitrhlknxkklumenoth odymiwtthuprasngkhihpraethsthiidrbsthana MNNA samarthekharwminokhrngkarwicyaelakarphthnakhxngkrathrwngklaohmshrth id praethsthiidrbsthana MNNA praephthnimi 11 praeths idaek xisraexl xiyipt yipun xxsetreliy satharnrthekahli 2530 cxraedn 2539 xarecntina 2541 niwsiaelnd bahern 2545 filippinsaelaithy 2546 praethsthiidrbsthana MNNA praephthnicaidrbsiththipraoychn dngni bristhkhxngpraethsthiidrbsthana MNNA samarthekharwmkarpramulsyyakarsxmbarung karsxmaesm hruxkarprbprungyuthothpkrnkhxngkrathrwngklaohmshrth inbangokhrngkarnxkphunaephndinshrth praethsthiidrbsthana MNNA camisiththiinkarekharwmokhrngkarwicyaelaphthnadankartxtankarkxkarrayrwmkbshrth bangokhrngkar krathrwngklaohmshrth samarthekharwmokhrngkarrwmmuxephuxkarwicyaelaphthnaephuxprbprungkhidkhwamsamarthinkarpxngknpraethskhxngpraethsthiidrbsthana odyrbphidchxb khaichcayrwmknxyangepnthrrm2 sthana MNNA tamhmwdthi 517 khxngkdhmaywadwykarihkhwamchwyehluxaektangpraeths ph s 2504 chbbaekikhkdhmayihxanacprathanathibdishrth inkarihsthana MNNA aekpraethsidpraethshnungidhlngcakthiidaecngtxrthsphaphayin 30 wn odymiwtthuprasngkhtamkdhmaywadwy karihkhwamchwyehluxaektangpraethsaelakdhmaywadwykarkhwbkhumkarsngxxkxawuth karihsthana MNNA tamkdhmaychbbnimiphlbngkhbichinpi 2539 odyerimaerkmipraethsthiidrbsthana khux xxsetreliy xisraexl xiyipt yipun satharnrthekahli aelaniwsiaelnd txmaidmikarihsthana MNNA ephimetimaek cxraedn 2539 xarecntina 2541 bahern 2545 filippins aelaithy 2546 rwmthnghmd 11 praethspraethsthiidrb MNNA praephththi 2 caidrbsiththipraoychn dngni sahrbpraethsthiidrbsthana MNNA thixyudanthisithruxtawnxxkechiyngitkhxngpraethsklumenothcaidrbsiththiidrbxupkrnthangthharswnekincakshrth epnladbaerk siththiinkarsuxkrasunthithacakkakyuereniymaelasiththiidrbkhlngxawuthyuthothpkrnsarxngkhxngshrth thitngxyuinpraethskhxngtnnxkkhaythharshrth siththiinkarthakhxtklngkbrthbalshrth inkarcdkarfukinaebbthwiphakhihrux phhuphakhiodyichrabbkarichcaytangtxbaethnthixacykewnkarichkhunkhaichcaythangxxm aelakhathrrmeniymtang echphaaraykar siththiinkarechaxupkrnthangthharbangxyangephuxpraoychnthangphanichytam okhrngkarkarihkhwamchwyehluxdankarenginthangthharaekrthbaltangpraethskhxngshrth siththiinkarkhxyumwsdu xupkrn aelayuthothpkrn sahrbokhrngkarwicyaelaphthnarwmknaelasahrbkarthdsxbaelapraeminphl siththiinkarkhxihmikarphicarnaidrbibxnuyatsngxxkdawethiymephuxkarphanichy rwmthungethkhonolyi swnprakxbaelarabbkhxngdawethiymnn odyerngdwnkarihsthana MNNA praephththi 2 ni xacthukykelikidodydulphinickhxngprathanathibdishrth sungtxngaecngrthsphalwnghna 30 wn xyangirkdi thiphanma yngimekhymikarykelikkarihsthana MNNA praephthni aelaimmihlkeknthinkarykeliksthanadngklawokhrngsrang aekikhxngkhkrfayphleruxn aekikh khnamntriaextaelntikehnux xngkvs North Atlantic Council NAC epnxngkhkrhlkrbphidchxbtxkartdsinicineruxngtang khxngenoththiekiywkbkartikhwamsnthisyyaaelakarnaipptibti khnamntri prakxbdwyrthmntriwakarkrathrwngkartangpraeths rthmntriwakarkrathrwngklaohm hruxrthmntriwakarkrathrwngkarkhlngkhxngpraethssmachik mikarprachumxyangnxypila 2 khrngsanknganelkhathikarenoth tngxyuthikrungbrsesls praethsebleyiym mihnathibriharnganthwipkhxngxngkhkr rwmthungkarwangaephnnoybay hwhna snng elkhathikarenoth khnpccubn khux nay Jaap de Hoop Scheffer xdit rmw kt enethxraelnd ekharbtaaehnngemuxpi 2547xngkhkrfaythhar aekikh khnakrrmathikarthangthhar The Military Committee mihnathiihkhaaenanadankarthharaekkhnamntriaelaphubychakarkxngkalngphsm prakxbdwyesnathikarthharkhxngthukpraethsphakhi ykewnfrngess aelaixsaelnd sungimmikalngthhar mikarprachumxyangnxypila 2 khrng odyenothidaebngekhtyuththsastrtamphumisastrepn 3 ekht khux ekhtyuorp xngkvs The European Command xyuphayitkarduaelkhxngphubychakarkxngkalngphsmyuorp Supreme Allied Commander Europe SACEUR odymikxngbychakar eriykwa Supreme Headquaters Allied Powers Europe SHAPE prakxbdwykxngkalngekhluxnthierwcakpraethssmachik sungphrxmcaptibtikaridthnthi ekhtkarrbphidchxb khux aexfrikaehnux emdietxrereniyn yuorpklang aelayuorpehnux ykewnoprtueks aelashrachxanackr SHAPE mikxngbychakaryxyinyuorpehnuxthiemuxngokhschs praethsnxrewy inyuorpklangthiemuxngbrunschun praethsenethxraelnd inyuorpitthiemuxng Naples praethsxitaliekhtaextaelntik xngkvs The Atlantic Ocean Command xyuphayitkarduaelkhxng Supreme Allied Commander Atlantic SACLANT ekhtkarrbphidchxbtngaetkhwolkehnuxthungesn Tropic of Cancer aelacakfngshrthxemrikathungyuorp SACLANT mihnathihlkinkarphithksesnthangedineruxinekhtaextaelntik sungennlksnakarptibtikarkxngkalngthpheruxaextaelntik Standing Naval Force Atlantic STANA RR LNT mikxngbychakartngxyuthi Norfolk shrthekhtchxngaekhb xngkvs The Channel Command xyuphayitkarduaelkhxng Allied Commander in Chief Channel CINCHAN ekhtkarrbphidchxbbriewnchxngaekhbxngkvs aelathaelehnuxtxnit thahnathikhumkhrxngpxngkneruxphanichyinekhtprasanngankb SACEUR inkarpxngknphythangxakasinekhtchxngaekhb CINCHAN mikxngkalngeruxrbxyuphayitkarkhwbkhumeriykwa Standing Naval Force Channel STANAFORCHAN mikxngbychakarxyuthi Nortwood shrachxanackrxangxing aekikh The Official motto of NATO NATO 20 January 2011 subkhnemux 8 August 2013 English and French shall be the official languages for the entire North Atlantic Treaty Organization Final Communique following the meeting of the North Atlantic Council on 17 September 1949 the English and French texts of the Treaty are equally authentic The North Atlantic Treaty Article 14 Defence Expenditure of NATO Countries 2009 2016 PDF NATO Headquarters Belgium 31 March 2017 subkhnemux 26 May 2017 Oxford karxxkesiyngduephim aekikhphnthmitrhlknxkenoth MNNA ktikasyyawxrsx sngkhrameyn xngkhkarsnthisyyakhwammnkhngrwmkn CSTO aehlngkhxmulxun aekikhNATO bthkhwamekiywkbhnwynganhruxxngkhkrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title enoth amp oldid 9527975, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม