fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตก

กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาอิหร่าน แบ่งได้อีกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือและกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้

กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตก
ภูมิภาค:เอเชียตะวันตกเฉียงใต้, เอเชียกลาง, คอเคซัส และเอเชียใต้ฝั่งตะวันตก
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
อินโด-ยูโรเปียน
กลุ่มย่อย:
  • อิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ
  • อิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ (เปอร์เซีย)
กลอตโตลอก:west2794

กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ

มีผู้พูด 40 - 50 ล้านคนในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ แบ่งได้เป็น 9 กลุ่ม ภาษายุคโบราณของกลุ่มนี้คือภาษาเมเดีย ภาษาในยุคกลางคือภาษาพาร์เทียน

  • กลุ่มบาโลชิ ประกอบด้วย ภาษาบาโลชิ ซึ่งมีสำเนียงเหนือ ใต้ และตะวันออก ภาษาบัสการ์ดี ภาษาโกโรชิ
  • กลุ่มคัสเปียน ประกอบด้วย ภาษาคิเลกิ ภาษามาซันดารานี
  • กลุ่มอิหร่านกลาง ประกอบด้วย ภาษาอัสเตียนี ภาษาดารี
  • กลุ่มเคิร์ด ประกอบด้วยภาษาเคิร์ด สำเนียงเหนือ ใต้
  • กลุ่มโอร์มูรี-ปาราชี ประกอบด้วย ภาษาโอร์มูรี ภาษาปาราชี
  • กลุ่มเซมนานี ประกอบด้วยภาษาซังกิซารี กลุ่มภาษาเซมนานี
  • ภาษาคาลาซ
  • กลุ่มตาติก ประกอบด้วย ภาษาอัลวิรี-วิดารี ภาษาเอสเตรฮันดี ภาษาโกซาร์คานี ภาษาฮาร์ซานี ภาษากาบาเตย ภาษากาบาลี ภาษาตาเลียซ ภาษาตาโรมีบน
  • กลุ่มซาซา-โกรานี ประกอบด้วย สำเนียงบาเยลานี สำเนียงคิมลี สำเนียงโกรานี เป็นต้น

ภาษาที่จัดจำแนกไม่ได้คือภาษาลากี ซึ่งเป็นภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาลูรีในกลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้กับภาษาเคิร์ดในกลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้

ประกอบด้วยภาษาที่ใกล้เคียงกัน 16 ภาษา และสำเนียงต่างๆ แบ่งย่อยได้เป็น

ดูเพิ่ม

  • กลุ่มภาษาอิหร่านตะวันออก

อ้างอิง

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Western Iranian". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.CS1 maint: display-editors (link)

บรรณานุกรม

  • Compendium Linguarum Iranicarum, ed. Rüdiger Schmitt. Wiesbaden: L. Reichert Verlag, 1989; p. 99.

อ่านเพิ่ม

  • "Contact and the diversity of noun-noun subordination strategies among Western Iranic languages" (PDF). Nicholas Kontovas, Indiana University Bloomington, Bloomington, Indiana, USA.
  • Hanaway Jr, William L. "Persian and West Iranic: History and State of Research: Part One: Persian Grammar.[Trends in Linguistics: State-of-the-Art Reports, No. 12]." (1982): 56-58.

กล, มภาษาอ, หร, านตะว, นตก, เป, นกล, มย, อยของกล, มภาษาอ, หร, าน, แบ, งได, กเป, กล, มย, อย, เฉ, ยงเหน, อและเฉ, ยงใต, ภาค, เอเช, ยตะว, นตกเฉ, ยงใต, เอเช, ยกลาง, คอเคซ, และเอเช, ยใต, งตะว, นตกการจ, าแนกทางภาษาศาสตร, นโด, โรเป, ยนอ, นโด, เรเน, ยนอ, หร, านกล, มย, . klumphasaxihrantawntkepnklumyxykhxngklumphasaxihran aebngidxikepn 2 klumyxy khux klumphasaxihrantawntkechiyngehnuxaelaklumphasaxihrantawntkechiyngitklumphasaxihrantawntkphumiphakh exechiytawntkechiyngit exechiyklang khxekhss aelaexechiyitfngtawntkkarcaaenkthangphasasastr xinod yuorepiynxinod xiereniynxihranklumphasaxihrantawntkklumyxy xihrantawntkechiyngehnux xihrantawntkechiyngit epxresiy klxtotlxk west2794 1 enuxha 1 klumphasaxihrantawntkechiyngehnux 2 klumphasaxihrantawntkechiyngit 3 duephim 4 xangxing 5 brrnanukrm 6 xanephimklumphasaxihrantawntkechiyngehnux aekikhmiphuphud 40 50 lankhninexechiytawntkechiyngit aebngidepn 9 klum phasayukhobrankhxngklumnikhuxphasaemediy phasainyukhklangkhuxphasapharethiyn klumbaolchi prakxbdwy phasabaolchi sungmisaeniyngehnux it aelatawnxxk phasabskardi phasaokorchi klumkhsepiyn prakxbdwy phasakhielki phasamasndarani klumxihranklang prakxbdwy phasaxsetiyni phasadari klumekhird prakxbdwyphasaekhird saeniyngehnux it klumoxrmuri parachi prakxbdwy phasaoxrmuri phasaparachi klumesmnani prakxbdwyphasasngkisari klumphasaesmnani phasakhalas klumtatik prakxbdwy phasaxlwiri widari phasaexsetrhndi phasaoksarkhani phasaharsani phasakabaety phasakabali phasataeliys phasataormibn klumsasa okrani prakxbdwy saeniyngbaeylani saeniyngkhimli saeniyngokrani epntnphasathicdcaaenkimidkhuxphasalaki sungepnphasathixyurahwangphasaluriinklumxihrantawntkechiyngitkbphasaekhirdinklumxihrantawntkechiyngehnuxklumphasaxihrantawntkechiyngit aekikhprakxbdwyphasathiiklekhiyngkn 16 phasa aelasaeniyngtang aebngyxyidepn saeniyngluri idaek phasaluri phasakumakri phasaepxresiy saeniyngtang idaek phasaepxresiyobran phasaepxresiyklang phasaepxresiymatrthan saeniyngxihransmyihm phasadariepxresiy saeniyngthaciki phasaxaymk phasabuokhri phasadrwasi phasaedhwari phasaepxresiysidi phasahasaraki phasayiwsirasi phasaepxresiykhuessthan phasalari phasapahlawani saeniyngtt idaek phasayuhuri phasattduephim aekikhklumphasaxihrantawnxxkxangxing aekikh Nordhoff Sebastian Hammarstrom Harald Forkel Robert Haspelmath Martin b k 2013 Western Iranian Glottolog 2 2 Leipzig Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology CS1 maint display editors link brrnanukrm aekikhCompendium Linguarum Iranicarum ed Rudiger Schmitt Wiesbaden L Reichert Verlag 1989 p 99 xanephim aekikh Contact and the diversity of noun noun subordination strategies among Western Iranic languages PDF Nicholas Kontovas Indiana University Bloomington Bloomington Indiana USA Hanaway Jr William L Persian and West Iranic History and State of Research Part One Persian Grammar Trends in Linguistics State of the Art Reports No 12 1982 56 58 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasaxihrantawntk amp oldid 9303061, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม