fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาทมิฬ

ภาษาทมิฬ (ทมิฬ: தமிழ்;  [t̪ɐmɨɻ] ) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาดราวิเดียน เป็นหนึ่งในภาษาคลาสสิกของโลก วรรณกรรมภาษาทมิฬได้มีมาเป็นเวลา 2,500 ปีแล้ว และเป็นภาษาคลาสสิกภาษาแรกที่มีพัฒนาการเขียนแบบเฉพาะสำหรับบทกวี

ภาษาทมิฬ
தமிழ்
ออกเสียง[t̪ɐmɨɻ] ตะมิฬ
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย และศรีลังกา และมีบางส่วนใน สิงคโปร์ มาเลเซีย มอริเชียส แอฟริกาใต้
ภูมิภาครัฐทมิฬนาฑูและรัฐใกล้เคียง
จำนวนผู้พูด74 ล้าน (พ.ศ. 2542)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ดราวิเดียน
  • ดราวิเดียนใต้
    • ทมิฬ-คันนาดา
      • ทมิฬ-โคดากู
        • ทมิฬ-มลยาฬัม
          • ภาษาทมิฬ
ระบบการเขียนอักษรทมิฬ
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการอินเดีย ศรีลังกา และสิงคโปร์
ผู้วางระเบียบรัฐบาลของรัฐทมิฬนาฑู และสถานศึกษาหลายแห่ง
รหัสภาษา
ISO 639-1ta
ISO 639-2tam
ISO 639-3tam

เสียง "l" ในคำว่า "Tamil" ออกเสียง "คล้าย" กับ "ร" กล่าวคือ ออกเสียงโดยให้ปลายลิ้นส่วนล่างติดกับเพดานปาก และมักจะเขียนเป็น "zh" ในอักษรโรมัน (ตรงกับเสียง j ในภาษาฝรั่งเศส ส่วนภาษาไทยไม่มีเสียงที่เทียบได้ตรง) เชื่อว่าอักษร 'ழ' ซึ่งพบใน 'தமிழ்' (ทมิฬ) มีการออกเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่พบในภาษาอื่น ๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อักษรทมิฬ

ประวัติ

 
จารึกภาษาทมิฬในวิหารพริหเทสวระ ในทันชวุร

หลักฐานเริ่มแรกของภาษาทมิฬมีอายุราว พ.ศ. 243 ภาษานี้พบในอินเดียในฐานะภาษาที่มีวรรณกรรมมากในยุคสันคัม (พ.ศ. 243 – 843) เป็นภาษาที่พบในจารึกมากที่สุดในเอเชียใต้ โดยพบถึง 30,000 ชิ้น วรรณกรรมภาษาทมิฬในยุคสันคัมเป็นวรรณกรรมที่เก่าแก่ที่สุดของตระกูลภาษาดราวิเดียนด้วย การเก็บรักษาวรรณกรรมในอินเดียมี 2 แบบคือ เขียนลงบนใบลานหรือท่องจำแบบมุขปาฐะ นักวิชาการของภาษาทมิฬแบ่งภาษาออกเป็นสามยุคคือ ภาษาทมิฬโบราณ ภาษาทมิฬยุคกลาง ภาษาทมิฬยุคใหม่

ภาษาทมิฬโบราณ

จารึกภาษาทมิฬที่เก่าที่สุดพบราว พ.ศ. 243 เขียนด้วยอักษรทมิฬ-พราหมีที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี ไวยากรณ์ที่เก่าที่สุดคือ โตลกาปปิยัม (Tolkāppiyam) ซึ่งบรรยายเกี่ยวกับกวีและไวยากรณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ายุคคลาสสิกของภาษานี้อยู่ระหว่าง พ.ศ. 243 – 1043 วรรณคดีในยุคสันคัม พบบทกวีกว่า 50,000 บรรทัด เขียนโดยกวี 473 คน รวมทั้งกวีที่เป็นสตรีด้วย ส่วนใหญ่ใช้ในการขับร้อง

ภาษาทมิฬโบราณหลังยุคสันคัม มีวรรณคดีที่สำคัญอยู่ 5 เรื่อง ได้แก่ สิลิปปติการัม มนิเมกาลัย สีวกจินตามนิ วลัยยปฐี และกุนทลเกสิ ซึ่งถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่

ภาษาทมิฬยุคกลาง

ยุคนี้เป็นยุคภักติ วรรณกรรมสำคัญคือรามายณะภาคภาษาทมิฬในชื่อ กัมพะ รามายณัม (พุทธศตวรรษที่ 17) ในช่วงท้ายของยุคนี้ ราวพุทธศตวรรษที่ 19–21 ภาษาทมิฬถูกทำให้เป็นสันสกฤตมากขึ้น เกิดภาษาผสมขึ้นมา

ภาษาทมิฬยุคใหม่

ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 25 เกิดขบวนการทมิฬบริสุทธิ์เรียกร้องให้นำส่วนที่มาจากภาษาสันสกฤตและภาษาอื่น ๆ ออกไปจากภาษาทมิฬ แนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนจากพรรคดราวิเดียนและนักชาตินิยมที่เรียกร้องเอกราชของทมิฬ มีการแทนที่คำยืมจากภาษาสันสกฤตด้วยคำจากภาษาทมิฬที่มีความหมายเหมือนกัน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

 
การแพร่กระจายของผู้พูดภาษาทมิฬในอินเดียใต้และศรีลังกา (พ.ศ. 2504)

ภาษาทมิฬเป็นภาษาหลักในรัฐทมิฬนาฑูของอินเดียและจังหวัดตะวันออกเฉียงเหนือของศรีลังกา และใช้พูดโดยชนกลุ่มเล็ก ๆ ในพื้นที่อื่น ๆ ของทั้งสองประเทศนี้ เช่น รัฐกรณาฏกะ รัฐเกรละ รัฐอานธรประเทศ และรัฐมหาราษฏระของอินเดีย รวมทั้งโคลอมโบและทางตะวันออกของศรีลังกา

จากการอพยพของสมัยอาณานิคมทำให้ปัจจุบันมีผู้พูดภาษาทมิฬกระจายไปในหลายประเทศ เช่น อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ พม่า เวียดนาม แอฟริกาใต้ และมอริเชียส นอกจากนั้นยังพบบ้างในกายอานา ฟีจี ซูรินาม ตรินิแดดและโตเบโก คนเหล่านี้เป็นคนที่พูดภาษาทมิฬมาก่อน แต่ปัจจุบันเริ่มหันไปพูดภาษาอื่น และยังมีผู้อพยพจากอินเดียและศรีลังกาไปอยู่ที่แคนาดา สหรัฐ ออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง และยุโรปตะวันตก

สถานะทางกฎหมาย

ภาษาทมิฬเป็นภาษาราชการของรัฐทมิฬนาฑู เป็นภาษาราชการร่วมในสหภาพพอนดิเชอรี และหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ เป็นหนึ่งในภาษาประจำชาติ 23 ภาษาของอินเดีย เป็นภาษาราชการร่วมของศรีลังกาและสิงคโปร์ ในมาเลเซียมีโรงเรียนประถมศึกษา 543 แห่งสอนเป็นภาษาทมิฬ

เมื่อ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ดร. อับดุล กาลัมประธานาธิบดีอินเดียได้ประกาศยอมรับให้ภาษาทมิฬเป็นภาษาคลาสสิกของอินเดีย

สำเนียง

ความแปรผันของคำยืม

สำเนียงของภาษาทมิฬในรัฐเกรละมีคำยืมจากภาษามลยาฬัมมาก และได้รับอิทธิพลจากการเรียงประโยคของภาษามลยาฬัม สำเนียงของกลุ่มผู้นับถือนิกายไวษณพ ซึ่งอพยพไปอยู่รัฐกรณาฏกะได้พัฒนาสำเนียงเป็นของตนเอง ภาษาทมิฬในศรีลังกามีคำยืมจากภาษาอังกฤษ ภาษาโปรตุเกสและภาษาดัตช์ด้วย

ความผันแปรของท้องถิ่น

ความแตกต่างของภาษาทมิฬขึ้นกับการเปลี่ยยนแปลงการออกเสียงที่ต่างไปจากภาษาทมิฬโบราณ เช่นคำว่า ที่นี่ (iṅku) ในสำเนียงคลาสสิกกลายเป็น iṅkū ในสำเนียงโกนคู inga ในสำเนียงธันชวูร์ และ iṅkai ในบางสำเนียงของศรีลังกา คำว่า iṅkaṇ ในภาษาทมิฬโบราณเป็นแหล่งที่มาของ iṅkane ในสำเนียงติรูเนลเวลี ภาษาทมิฬโบราณ iṅkaṭṭu เป็นที่มาของ iṅkuṭṭu ในสำเนียงมาดูไร และ iṅkaṭe ในสำเนียงทางเหนืออื่น ๆ แม้ว่าปัจจุบันในโจอิมบาตอเรจะเป็นปกติที่จะได้ยิน akkaṭṭa ซึ่งหมายถึงสถานที่นี้ สำเนียงของภาษาทมิฬไม่ได้ต่างกันทางด้านคำศัพท์มากนัก สำเนียงในศรีลังกายังคงรักษาคำศัพท์และรูปแบบไวยากรณ์ที่ไม่พบในการพูดในชีวิตประจำวันในอินเดียและใช้คำบางคำต่างไปบ้าง

ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน

ภาษาทมิฬมีรูปแบบที่แตกต่างกันหลายแบบ เช่น รูปแบบวรรณคดีคลาสสิกที่มาจากภาษายุคโบราณ (สันกัตตามิฬ) รูปแบบการเขียนสมัยใหม่และเป็นทางการ (เจนตามิฬ) และรูปแบบสมัยใหม่สำหรับการพูด (โกฎูนตามิฬ) แต่ละรูปแบบอาจมีลักษณะร่วมกัน เช่น เป็นไปได้ที่จะเขียนแบบเจนตามิฬโดยใช้รูปศัพท์ที่ต่ำกว่า เรียกเจญกัตตามิฬ หรือใช้รูปแบบที่เกี่ยวข้องกับสำเนียงใดสำเนียงหนึ่งกับโกฎูนตามิฬ

ในปัจจุบัน เจนตามิฬเป็นรูปแบบที่ใช้ทั่วไปในการเขียนและพูดอย่างเป็นทางการและเป็นภาษาในตำรา โกฎูนตามิฬเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน และเริ่มนำมาใช้ในภาพยนตร์และการหาเสียงของนักการเมืองทำให้เกิดการพูดแบบมาตรฐานที่ไม่เป็นทางการขึ้น ในอินเดีย มาตรฐานของโกฎูนตามิฬขึ้นกับการพูดของผู้ที่ไม่ใช่พราหมณ์และระดับการศึกษา แต่ได้รับอิทธิพลจากสำเนียงธันชวูร์และมาดูไร ส่วนในศรีลังกามาตรฐานขึ้นกับสำเนียงจาฟนา

ระบบการเขียน

ดูบทความหลักที่: อักษรทมิฬ

อักษรทมิฬมีสระ 12 ตัว พยัญชนะ 18 ตัวและเครื่องหมายพิเศษคืออายตัม สระและพยัญชนะประสมกันได้รูปแบบผสม 216 แบบ ทำให้มีทั้งหมด 247 แบบ พยัญชนะทุกตัวมีพื้นเสียงเป็น /อะ/ ซึ่งเอาออกได้โดยเติมปุลลิซึ่งเป็นจุดอยู่ใต้พยัญชนะ ไม่มีการแยกเสียงโฆษะและอโฆษะ นอกจากอักษรมาตรฐานแล้ว ยังมีอักษรอีก 6 ตัวมาจากอักษรครันถ์ซึ่งเคยใช้เขียนภาษาสันสกฤตในหมู่ชาวทมิฬ และใช้แสดงเสียงที่ไม่ใช่เสียงพื้นฐานของภาษาทมิฬ ซึ่งเป็นคำยืมจากภาษาสันสกฤต ภาษาปรากฤต และภาษาอื่น ๆ

สระ

สระในภาษาทมิฬเรียกอูยิเรฬุตตุ แบ่งเป็นสระเสียงสั้น (กุริล) 5 เสียง เสียงยาว 5 เสียงและสระประสม (/ไอ/และ/เอา/) และสระที่ถูกทำให้สั้น (กุรริยัล) 3 เสียง สระเสียงยาว (เนฏิล) มีเสียงยาวเป็นสองเท่าของสระเสียงสั้น สระประสมออกเสียงเป็น 1.5 เท่าของสระเสียงสั้น แต่ในตำราไวยากรณ์มักเอาไปรวมกับสระเสียงยาว

Short Long
Front Central Back Front Central Back
Close i u
Mid e o
Open a (ai) (aw)
ஒள

พยัญชนะ

พยัญชนะในภาษาทมิฬเรียกว่าเมยเยฬุตตุ แบ่งเป็นสามหมวดคือ เสียงหนัก (วาลิณัม) เสียงเบาหรือเสียงนาสิก (เมลลิณัม) และเสียงกลาง (อิฏายิณัม) ภาษาทมิฬต่างจากภาษาอื่นๆในอินเดียที่ไม่แยกเสียงมีลมและไม่มีลม เสียงนาสิกส่วนมากเป็นเสียงโฆษะ ภาษาทมิฬมีเสียงม้วนลิ้น (ฬ) ซึ่งในตระกูลภาษาดราวิเดียนด้วยกันพบในภาษามลยาฬัม หายไปจากการออกเสียงภาษากันนาดาเมื่อราว พ.ศ. 1543 แต่ยังมีอักษรใช้อยู่ และไม่พบในภาษาเตลูกู

Labial Dental Alveolar Retroflex Palatal Velar
Plosives p (b) t̪ (d̪) ʈ (ɖ) tʃ (dʒ) k (ɡ)
Nasals m n ɳ ɲ ŋ
Tap ɾ̪
Trill r
Central approximants ʋ ɻ j
Lateral approximants ɭ

อายตัม

ในภาษาทมิฬคลาสสิก มีหน่วยเสียงอายตัม เขียนเป็น ‘ஃ' ซึ่งไวยากรณ์ในยุคนั้นแยกเป็นหน่วยเสียงหนึ่ง แต่พบน้อยในภาษาทมิฬสมัยใหม่ ในตำราไวยากรณ์ยุคคลาสสิกกล่าวว่าอายตัมเปลี่ยนเสียงที่เข้ารวมด้วยให้เป็นเสียงจากเส้นเสียงหรือใช้เปลี่ยนเสียงพยัญชนะ ส่วนในภาษาทมิฬสมัยใหม่ ใช้เปลี่ยน pa เป็น fa เมื่อเขียนภาษาอังกฤษด้วยอักษรทมิฬ

ตัวเลขและเครื่องหมายอื่น ๆ

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 100 1000
วัน เดือน ปี debit credit เหมือนข้างบน รูปี numeral

ไวยากรณ์

บทความหลัก:ไวยากรณ์ภาษาทมิฬ

ไวยากรณ์ภาษาทมิฬส่วนใหญ่ได้บรรยายไว้ในตำราไวยากรณ์เก่าสุด "โตลกาปปิยัม" การเขียนภาษาทมิฬสมัยใหม่ใช้ตามตำราไวยากรณ์ เมื่อราว พ.ศ. 1800 Nannūl ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากโตลกาปปิยัมบ้าง ภาษาทมิฬโบราณแบ่งเป็น5ส่วนคือ eluttu, col, porul, yāppu และ ani สองส่วนหลังมักใช้ในวรรณคดี

ภาษาทมิฬเป็นภาษารูปคำติดต่อเช่นเดียวกับตระกูลภาษาดราวิเดียนอื่น ๆ คำภาษาทมิฬประกอบด้วยรากศัพท์ ซึ่งจะต่อท้ายด้วยปัจจัย 1 ตัวหรือมากกว่า ปัจจัยเหล่านี้มีทั้งที่เปลี่ยนความหมายหรือชนิดของคำ และปัจจัยที่แสดงการผันตามบุคคล จำนวน มาลาและกาล ไม่มีข้อกำหนดเกี่ยวกับความยาวของการเติมปัจจัย ทำให้มีการสร้างคำขนาดยาว ประกอบด้วยปัจจัยหลายตัวได้

คำศัพท์

คำศัพท์ภาษาทมิฬสมัยใหม่ ส่วนมากมาจากภาษาทมิฬโบราณ คำยืมจากภาษาสันสกฤตพบได้ทั่วไป นอกจากนั้นมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ซึ่งเป็นผลจากการติดต่อค้าขายในอดีต ตั้งแต่พุทธศตวรรณที่ 25 เริ่มมีคำยืมจากภาษาอังกฤษโดยเฉพาะศัพท์เทคนิค มีการกำหนดศัพท์เทคนิคที่มาจากภาษาทมิฬเช่นกันโดยรัฐบาลศรีลังกาหรือมหาวิทยาลัยทมิฬวิชัล

อ้างอิง

  1. Mahadevan 2003, pp. 90–95
  2. Ramstedt 243
  3. Kesavapany 60
  4. McMahon, Suzanne. "Overview of the South Asian Diaspora". University of California, Berkeley. สืบค้นเมื่อ 2008-04-23.
  5. Ramamoorthy, L. Multilingualism and Second Language Acquisition and Learning in Pondicherry. Retrieved on 2007-08-16.
  6. Sunwani, Vijay K. Amazing Andamans and North-East India: A Panoramic View of States, Societies and Cultures. Retrieved on 2007-08-16.
  7. http://ccat.sas.upenn.edu/~haroldfs/540/handouts/sparadox/sparadox.html
  8. Thirumalai, Ph.D., M. S. (2004). "Tradition, Modernity and Impact of Globalization – Whither Will Tamil Go?". Language in India. 4. สืบค้นเมื่อ 2007-11-17. Unknown parameter |month= ignored (help)
  9. BBC. India sets up classical languages. August 17, 2004. Retrieved on 2007-08-16.
  10. The Hindu. Sanskrit to be declared classical language 2005-10-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. October 28, 2005. Retrieved on 2007-08-16.
  11. Harold Schiffman, "Diglossia as a Sociolinguistic Situation", in Florian Coulmas (ed.), The Handbook of Sociolinguistics. London: Basil Blackwell, Ltd., 1997 at pp. 205 et seq.
  12. Harold Schiffman, "Standardization or restandardization: The case for ‘Standard' Spoken Tamil". Language in Society 27 (1998), pp. 359–385.
  13. V. S. Rajam. "A Reference Grammar of Classical Tamil Poetry: 150 B.C.-Pre-Fifth/Sixth Century A.D." สืบค้นเมื่อ 2007-06-01.
  14. Krishnamurti, Bhadriraju (2003). The Dravidian Languages. Cambridge Language Surveys. Cambridge University Press. p. 154. ISBN 0521771110.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาทมิฬ

ภาษาทม, ทม, தம, ɐmɨɻ, ใช, อม, เป, นหน, งในตระก, ลภาษาดราว, เด, ยน, เป, นหน, งในภาษาคลาสส, กของโลก, วรรณกรรมได, มาเป, นเวลา, แล, และเป, นภาษาคลาสส, กภาษาแรกท, ฒนาการเข, ยนแบบเฉพาะสำหร, บบทกว, தம, ออกเส, ยง, ɐmɨɻ, ตะม, ฬประเทศท, การพ, ดอ, นเด, และศร, งกา, และม, . phasathmil thmil தம ழ t ɐmɨɻ withiich khxmul epnhnungintrakulphasadrawiediyn epnhnunginphasakhlassikkhxngolk wrrnkrrmphasathmilidmimaepnewla 2 500 piaelw aelaepnphasakhlassikphasaaerkthimiphthnakarekhiynaebbechphaasahrbbthkwiphasathmilதம ழ xxkesiyng t ɐmɨɻ tamilpraethsthimikarphudxinediy aelasrilngka aelamibangswnin singkhopr maelesiy mxriechiys aexfrikaitphumiphakhrththmilnathuaelarthiklekhiyngcanwnphuphud74 lan ph s 2542 imphbwnthi trakulphasadrawiediyn drawiediynitthmil khnnadathmil okhdakuthmil mlyalmphasathmilrabbkarekhiynxksrthmilsthanphaphthangkarphasathangkarxinediy srilngka aelasingkhoprphuwangraebiybrthbalkhxngrththmilnathu aelasthansuksahlayaehngrhsphasaISO 639 1taISO 639 2tamISO 639 3tamesiyng l inkhawa Tamil xxkesiyng khlay kb r klawkhux xxkesiyngodyihplaylinswnlangtidkbephdanpak aelamkcaekhiynepn zh inxksrormn trngkbesiyng j inphasafrngess swnphasaithyimmiesiyngthiethiybidtrng echuxwaxksr ழ sungphbin தம ழ thmil mikarxxkesiyngthiepnexklksnthiimphbinphasaxun dukhxmulephimetimthi xksrthmil enuxha 1 prawti 1 1 phasathmilobran 1 2 phasathmilyukhklang 1 3 phasathmilyukhihm 2 karaephrkracaythangphumisastr 3 sthanathangkdhmay 4 saeniyng 4 1 khwamaeprphnkhxngkhayum 4 2 khwamphnaeprkhxngthxngthin 5 khwamaetktangrahwangphasaphudaelaphasaekhiyn 6 rabbkarekhiyn 6 1 sra 6 2 phyychna 6 3 xaytm 6 4 twelkhaelaekhruxnghmayxun 7 iwyakrn 8 khasphth 9 xangxingprawti aekikh carukphasathmilinwiharphrihethswra inthnchwur hlkthanerimaerkkhxngphasathmilmixayuraw ph s 243 phasaniphbinxinediyinthanaphasathimiwrrnkrrmmakinyukhsnkhm ph s 243 843 epnphasathiphbincarukmakthisudinexechiyit odyphbthung 30 000 chin wrrnkrrmphasathmilinyukhsnkhmepnwrrnkrrmthiekaaekthisudkhxngtrakulphasadrawiediyndwy karekbrksawrrnkrrminxinediymi 2 aebbkhux ekhiynlngbniblanhruxthxngcaaebbmukhpatha nkwichakarkhxngphasathmilaebngphasaxxkepnsamyukhkhux phasathmilobran phasathmilyukhklang phasathmilyukhihm phasathmilobran aekikh carukphasathmilthiekathisudphbraw ph s 243 ekhiyndwyxksrthmil phrahmithiphthnamacakxksrphrahmi 1 iwyakrnthiekathisudkhux otlkappiym Tolkappiyam sungbrryayekiywkbkwiaelaiwyakrn sungaesdngihehnwayukhkhlassikkhxngphasanixyurahwang ph s 243 1043 wrrnkhdiinyukhsnkhm phbbthkwikwa 50 000 brrthd ekhiynodykwi 473 khn rwmthngkwithiepnstridwy swnihyichinkarkhbrxngphasathmilobranhlngyukhsnkhm miwrrnkhdithisakhyxyu 5 eruxng idaek silipptikarm mniemkaly siwkcintamni wlyypthi aelakunthleksi sungthuxepnnganthiyingihy phasathmilyukhklang aekikh yukhniepnyukhphkti wrrnkrrmsakhykhuxramaynaphakhphasathmilinchux kmpha ramaynm phuththstwrrsthi 17 inchwngthaykhxngyukhni rawphuththstwrrsthi 19 21 phasathmilthukthaihepnsnskvtmakkhun ekidphasaphsmkhunma phasathmilyukhihm aekikh inchwngphuththstwrrsthi 25 ekidkhbwnkarthmilbrisuththieriykrxngihnaswnthimacakphasasnskvtaelaphasaxun xxkipcakphasathmil aenwkhidniidrbkarsnbsnuncakphrrkhdrawiediynaelankchatiniymthieriykrxngexkrachkhxngthmil mikaraethnthikhayumcakphasasnskvtdwykhacakphasathmilthimikhwamhmayehmuxnknkaraephrkracaythangphumisastr aekikh karaephrkracaykhxngphuphudphasathmilinxinediyitaelasrilngka ph s 2504 phasathmilepnphasahlkinrththmilnathukhxngxinediyaelacnghwdtawnxxkechiyngehnuxkhxngsrilngka aelaichphudodychnklumelk inphunthixun khxngthngsxngpraethsni echn rthkrnatka rthekrla rthxanthrpraeths aelarthmharastrakhxngxinediy rwmthngokhlxmobaelathangtawnxxkkhxngsrilngkacakkarxphyphkhxngsmyxananikhmthaihpccubnmiphuphudphasathmilkracayipinhlaypraeths echn xinodniesiy 2 ithy 3 maelesiy singkhopr phma ewiydnam aexfrikait aelamxriechiys nxkcaknnyngphbbanginkayxana fici surinam triniaeddaelaotebok khnehlaniepnkhnthiphudphasathmilmakxn 4 aetpccubnerimhnipphudphasaxun aelayngmiphuxphyphcakxinediyaelasrilngkaipxyuthiaekhnada shrth xxsetreliy tawnxxkklang aelayuorptawntksthanathangkdhmay aekikhphasathmilepnphasarachkarkhxngrththmilnathu epnphasarachkarrwminshphaphphxndiechxri 5 aelahmuekaaxndamnaelaniokhbar 6 epnhnunginphasapracachati 23 phasakhxngxinediy epnphasarachkarrwmkhxngsrilngkaaelasingkhopr inmaelesiymiorngeriynprathmsuksa 543 aehngsxnepnphasathmil 7 emux 6 mithunayn ph s 2547 dr xbdul kalmprathanathibdixinediyidprakasyxmrbihphasathmilepnphasakhlassikkhxngxinediy 8 9 10 saeniyng aekikhkhwamaeprphnkhxngkhayum aekikh saeniyngkhxngphasathmilinrthekrlamikhayumcakphasamlyalmmak aelaidrbxiththiphlcakkareriyngpraoykhkhxngphasamlyalm saeniyngkhxngklumphunbthuxnikayiwsnph sungxphyphipxyurthkrnatkaidphthnasaeniyngepnkhxngtnexng phasathmilinsrilngkamikhayumcakphasaxngkvs phasaoprtueksaelaphasadtchdwy khwamphnaeprkhxngthxngthin aekikh khwamaetktangkhxngphasathmilkhunkbkarepliyynaeplngkarxxkesiyngthitangipcakphasathmilobran echnkhawa thini iṅku insaeniyngkhlassikklayepn iṅku insaeniyngoknkhu inga insaeniyngthnchwur aela iṅkai inbangsaeniyngkhxngsrilngka khawa iṅkaṇ inphasathmilobranepnaehlngthimakhxng iṅkane insaeniyngtiruenlewli phasathmilobran iṅkaṭṭu epnthimakhxng iṅkuṭṭu insaeniyngmaduir aela iṅkaṭe insaeniyngthangehnuxxun aemwapccubninocximbatxercaepnpktithicaidyin akkaṭṭa sunghmaythungsthanthini saeniyngkhxngphasathmilimidtangknthangdankhasphthmaknk saeniynginsrilngkayngkhngrksakhasphthaelarupaebbiwyakrnthiimphbinkarphudinchiwitpracawninxinediyaelaichkhabangkhatangipbangkhwamaetktangrahwangphasaphudaelaphasaekhiyn aekikhphasathmilmirupaebbthiaetktangknhlayaebb echn rupaebbwrrnkhdikhlassikthimacakphasayukhobran snkttamil rupaebbkarekhiynsmyihmaelaepnthangkar ecntamil aelarupaebbsmyihmsahrbkarphud okduntamil aetlarupaebbxacmilksnarwmkn echn epnipidthicaekhiynaebbecntamilodyichrupsphththitakwa eriykecykttamil hruxichrupaebbthiekiywkhxngkbsaeniyngidsaeniynghnungkbokduntamil 11 inpccubn ecntamilepnrupaebbthiichthwipinkarekhiynaelaphudxyangepnthangkaraelaepnphasaintara okduntamilepnphasathiichinchiwitpracawn aelaerimnamaichinphaphyntraelakarhaesiyngkhxngnkkaremuxngthaihekidkarphudaebbmatrthanthiimepnthangkarkhun inxinediy matrthankhxngokduntamilkhunkbkarphudkhxngphuthiimichphrahmnaelaradbkarsuksa 12 aetidrbxiththiphlcaksaeniyngthnchwuraelamaduir swninsrilngkamatrthankhunkbsaeniyngcafnarabbkarekhiyn aekikhdubthkhwamhlkthi xksrthmil xksrthmilmisra 12 tw phyychna 18 twaelaekhruxnghmayphiesskhuxxaytm sraaelaphyychnaprasmknidrupaebbphsm 216 aebb thaihmithnghmd 247 aebb phyychnathuktwmiphunesiyngepn xa sungexaxxkidodyetimpullisungepncudxyuitphyychna immikaraeykesiyngokhsaaelaxokhsa nxkcakxksrmatrthanaelw yngmixksrxik 6 twmacakxksrkhrnthsungekhyichekhiynphasasnskvtinhmuchawthmil aelaichaesdngesiyngthiimichesiyngphunthankhxngphasathmil sungepnkhayumcakphasasnskvt phasaprakvt aelaphasaxun sra aekikh srainphasathmileriykxuyierluttu aebngepnsraesiyngsn kuril 5 esiyng esiyngyaw 5 esiyngaelasraprasm ix aela exa aelasrathithukthaihsn kurriyl 3 esiyng sraesiyngyaw entil miesiyngyawepnsxngethakhxngsraesiyngsn sraprasmxxkesiyngepn 1 5 ethakhxngsraesiyngsn aetintaraiwyakrnmkexaiprwmkbsraesiyngyaw Short LongFront Central Back Front Central BackClose i u iː uːஇ உ ஈ ஊMid e o eː oːஎ ஒ ஏ ஓOpen a ai aː aw அ ஐ ஆ ஒளphyychna aekikh phyychnainphasathmileriykwaemyeyluttu aebngepnsamhmwdkhux esiynghnk walinm esiyngebahruxesiyngnasik emllinm aelaesiyngklang xitayinm phasathmiltangcakphasaxuninxinediythiimaeykesiyngmilmaelaimmilm esiyngnasikswnmakepnesiyngokhsa phasathmilmiesiyngmwnlin l sungintrakulphasadrawiediyndwyknphbinphasamlyalm hayipcakkarxxkesiyngphasaknnadaemuxraw ph s 1543 aetyngmixksrichxyu aelaimphbinphasaetluku 13 Labial Dental Alveolar Retroflex Palatal VelarPlosives p b t d ʈ ɖ tʃ dʒ k ɡ ப த ட ச கNasals m n n ɳ ɲ ŋம ந ன ண ஞ ஙTap ɾ ரTrill rறCentral approximants ʋ ɻ jவ ழ யLateral approximants l ɭல ளxaytm aekikh inphasathmilkhlassik mihnwyesiyngxaytm ekhiynepn ஃ sungiwyakrninyukhnnaeykepnhnwyesiynghnung 14 aetphbnxyinphasathmilsmyihm intaraiwyakrnyukhkhlassikklawwaxaytmepliynesiyngthiekharwmdwyihepnesiyngcakesnesiynghruxichepliynesiyngphyychna swninphasathmilsmyihm ichepliyn pa epn fa emuxekhiynphasaxngkvsdwyxksrthmil twelkhaelaekhruxnghmayxun aekikh 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 100 1000௦ ௧ ௨ ௩ ௪ ௫ ௬ ௭ ௮ ௯ wn eduxn pi debit credit ehmuxnkhangbn rupi numeral iwyakrn aekikhbthkhwamhlk iwyakrnphasathmiliwyakrnphasathmilswnihyidbrryayiwintaraiwyakrnekasud otlkappiym karekhiynphasathmilsmyihmichtamtaraiwyakrn emuxraw ph s 1800 Nannul sungmikarepliynaeplngipcakotlkappiymbang phasathmilobranaebngepn5swnkhux eluttu col porul yappu aela ani sxngswnhlngmkichinwrrnkhdiphasathmilepnphasarupkhatidtxechnediywkbtrakulphasadrawiediynxun khaphasathmilprakxbdwyraksphth sungcatxthaydwypccy 1 twhruxmakkwa pccyehlanimithngthiepliynkhwamhmayhruxchnidkhxngkha aelapccythiaesdngkarphntambukhkhl canwn malaaelakal immikhxkahndekiywkbkhwamyawkhxngkaretimpccy thaihmikarsrangkhakhnadyaw prakxbdwypccyhlaytwidkhasphth aekikhkhasphthphasathmilsmyihm swnmakmacakphasathmilobran khayumcakphasasnskvtphbidthwip nxkcaknnmikhayumcakphasaepxresiyaelaphasaxahrb sungepnphlcakkartidtxkhakhayinxdit tngaetphuththstwrrnthi 25 erimmikhayumcakphasaxngkvsodyechphaasphthethkhnikh mikarkahndsphthethkhnikhthimacakphasathmilechnknodyrthbalsrilngkahruxmhawithyalythmilwichlxangxing aekikh Mahadevan 2003 pp 90 95 Ramstedt 243 Kesavapany 60 McMahon Suzanne Overview of the South Asian Diaspora University of California Berkeley subkhnemux 2008 04 23 Ramamoorthy L Multilingualism and Second Language Acquisition and Learning in Pondicherry Retrieved on 2007 08 16 Sunwani Vijay K Amazing Andamans and North East India A Panoramic View of States Societies and Cultures Retrieved on 2007 08 16 http ccat sas upenn edu haroldfs 540 handouts sparadox sparadox html Thirumalai Ph D M S 2004 Tradition Modernity and Impact of Globalization Whither Will Tamil Go Language in India 4 subkhnemux 2007 11 17 Unknown parameter month ignored help BBC India sets up classical languages August 17 2004 Retrieved on 2007 08 16 The Hindu Sanskrit to be declared classical language Archived 2005 10 30 thi ewyaebkaemchchin October 28 2005 Retrieved on 2007 08 16 Harold Schiffman Diglossia as a Sociolinguistic Situation in Florian Coulmas ed The Handbook of Sociolinguistics London Basil Blackwell Ltd 1997 at pp 205 et seq Harold Schiffman Standardization or restandardization The case for Standard Spoken Tamil Language in Society 27 1998 pp 359 385 V S Rajam A Reference Grammar of Classical Tamil Poetry 150 B C Pre Fifth Sixth Century A D subkhnemux 2007 06 01 Krishnamurti Bhadriraju 2003 The Dravidian Languages Cambridge Language Surveys Cambridge University Press p 154 ISBN 0521771110 wikiphiediy saranukrmesri inphasathmilekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasathmil amp oldid 9577723, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม