fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาสกอต

ภาษาสกอต เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก ที่ใช้พูดกันในแถบพื้นที่ราบของสกอตแลนด์ และในพื้นที่อัลสเตอร์ (ซึ่งเรียกสำเนียงท้องถิ่นว่าอัลสเตอร์สกอต ชาวสกอตมักเรียกภาษานี้ว่า สกอตที่ราบต่ำ เพื่อไม่ให้สับสนกับภาษาแกลิกสกอต และภาษาเคลต์ซึ่งถูกจำกัดพื้นที่การใช้ตามประวัติศาสตร์ในแถบพื้นที่ราบสูงของสกอตแลนด์ ภาษาสกอตถูกพัฒนาขึ้นในสมัยเดียวกับภาษาอังกฤษสมัยกลาง

สกอต
ภาษาสกอตที่ราบต่ำ/ที่ลุ่ม
(เบรด) สกอตส์, ลัลลันส์ (มาจาก "โลว์แลนด์")
ประเทศที่มีการพูดสหราชอาณาจักร, สาธารณรัฐไอร์แลนด์
ภูมิภาคสกอตแลนด์: พื้นที่ราบสก็อตแลนด์, นอร์ธเทอร์นไอล์ส, อัลสเตอร์ (ไอร์แลนด์)
ชาติพันธุ์ชาวสกอต
จำนวนผู้พูด110,000–125,000  (1999–2011)[ต้องการอ้างอิง]
1.5 ล้าน (ไม่ระบุวันที่)
ในการสำรวจสำมะโนครัว ปี 2011, ผู้ได้รับสำรวจ 30% (1.54 ล้าน) ระบุว่าสามารถพูดภาษาสกอตได้
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
รูปแบบก่อนหน้า
ภาษาอังกฤษเก่า
ภาษาถิ่น
Central
Southern
Ulster
Northern
Insular
ระบบการเขียนLatin
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการไม่มี
— ได้รับการจัดให้เป็น "ภาษาดั้งเดิม" โดยรัฐบาลสกอต
— ได้รับการจัดให้เป็น "ภาษาของชนกลุ่มน้อยท้องถิ่น" ตามกฎบัตรยุโรปว่าด้วยภาษาท้องถิ่นหรือภาษาชนกลุ่มน้อย
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในสหราชอาณาจักร (สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ)
ผู้วางระเบียบสกอตแลนด์: ไม่มี
รหัสภาษา
ISO 639-2sco
ISO 639-3sco
Linguasphere52-ABA-aa (varieties:
52-ABA-aaa to -aav)
Areas where the Scots language was spoken in the 20th century

นับแต่ต้นศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสกอตแลนด์ได้มีวิวัฒนาการ จนกลายเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์แตกต่างจากภาษาอังกฤษและภาษาท้องถิ่นอื่น ๆ ที่พูดกันในอังกฤษ หากแต่ยังขาดชื่อเรียก แต่หลังจาก ปี ค.ศ. 1495 เป็นต้นมา คำว่า สกอตติช (Scottis) ถูกใช้มากขึ้นเพื่ออ้างถึงภาษาพูดในถิ่นที่ลุ่ม ในขณะที่คำว่า Erse ซึ่งแปลว่า ไอริช ถูกใช้เป็นชื่อเรียกภาษาแกลิค ฯ ยกตัวอย่างเช่น ในตอนปลายศตวรรษที่ 15 วิลเลียม ดันบาร์ กวีชาวสกอต ใช้คำว่า Erse เพื่ออ้างถึงภาษาแกลิคและในช่วงต้นศตวรรษที่ 16 กาวิน ดักลาส เริ่มใช้คำว่า Scottis เพื่ออ้างอิงถึงภาษาถิ่นที่ราบลุ่ม ปัจจุบันภาษาแกลิกของสกอตแลนด์มักถูกเรียกว่า ภาษาแกลิก-สกอต หรือ ภาษาแกลิกสกอตแลนด์

อ้างอิง

  1. 7% of the population (100,000–115,000) report using Scots at home in the 2011 census; 10,000 speakers in Ireland are reported by Ethnologue
  2. แม่แบบ:E14
  3. Scotland's Census 2011 – Scots language skills
  4. Grant, William (1931). . Scottish National Dictionary. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 21 January 2012.
  5. Gregg R.J. (1972) The Scotch-Irish Dialect Boundaries in Ulster in Wakelin M.F., Patterns in the Folk Speech of The British Isles, London

ภาษาสกอต, เป, นภาษาในกล, มภาษาเจอร, แมน, ใช, ดก, นในแถบพ, นท, ราบของสกอตแลนด, และในพ, นท, ลสเตอร, งเร, ยกสำเน, ยงท, องถ, นว, าอ, ลสเตอร, สกอต, ชาวสกอตม, กเร, ยกภาษาน, สกอตท, ราบต, เพ, อไม, ให, บสนก, บภาษาแกล, กสกอต, และภาษาเคลต, งถ, กจำก, ดพ, นท, การใช, ตามประ. phasaskxt epnphasainklumphasaecxraemnik thiichphudkninaethbphunthirabkhxngskxtaelnd aelainphunthixlsetxr sungeriyksaeniyngthxngthinwaxlsetxrskxt chawskxtmkeriykphasaniwa skxtthirabta ephuximihsbsnkbphasaaeklikskxt aelaphasaekhltsungthukcakdphunthikarichtamprawtisastrinaethbphunthirabsungkhxngskxtaelnd phasaskxtthukphthnakhuninsmyediywkbphasaxngkvssmyklangskxtphasaskxtthirabta thilum ebrd skxts lllns macak olwaelnd praethsthimikarphudshrachxanackr satharnrthixraelndphumiphakhskxtaelnd phunthirabskxtaelnd nxrthethxrnixls xlsetxr ixraelnd chatiphnthuchawskxtcanwnphuphud110 000 125 000 1999 2011 1 txngkarxangxing 1 5 lan imrabuwnthi 2 inkarsarwcsamaonkhrw pi 2011 phuidrbsarwc 30 1 54 lan rabuwasamarthphudphasaskxtid 3 trakulphasaxinod yuorepiyn ecxraemnikecxraemniktawntkphasaxingwixxnikphasaaexngokl friesiynphasaaexngklikskxtrupaebbkxnhnaphasaxngkvseka phasaxngkvssmyklangphasaskxtyukhtnphasaskxtyukhklangskxtphasathinCentral Southern Ulster Northern InsularrabbkarekhiynLatinsthanphaphthangkarphasathangkarimmi idrbkarcdihepn phasadngedim odyrthbalskxt idrbkarcdihepn phasakhxngchnklumnxythxngthin tamkdbtryuorpwadwyphasathxngthinhruxphasachnklumnxyphasachnklumnxythirbrxnginshrachxanackr skxtaelnd aela ixraelndehnux phuwangraebiyb skxtaelnd immirhsphasaISO 639 2scoISO 639 3scoLinguasphere52 ABA aa varieties 52 ABA aaa to aav Areas where the Scots language was spoken in the 20th century 4 5 nbaettnstwrrsthi 15 epntnma phasaxngkvsthiichinskxtaelndidmiwiwthnakar cnklayepnphasathimiexklksnaetktangcakphasaxngkvsaelaphasathxngthinxun thiphudkninxngkvs hakaetyngkhadchuxeriyk aethlngcak pi kh s 1495 epntnma khawa skxttich Scottis thukichmakkhunephuxxangthungphasaphudinthinthilum inkhnathikhawa Erse sungaeplwa ixrich thukichepnchuxeriykphasaaeklikh yktwxyangechn intxnplaystwrrsthi 15 wileliym dnbar kwichawskxt ichkhawa Erse ephuxxangthungphasaaeklikhaelainchwngtnstwrrsthi 16 kawin dklas erimichkhawa Scottis ephuxxangxingthungphasathinthirablum pccubnphasaaeklikkhxngskxtaelndmkthukeriykwa phasaaeklik skxt hrux phasaaeklikskxtaelndxangxing aekikh 7 of the population 100 000 115 000 report using Scots at home in the 2011 census 10 000 speakers in Ireland are reported by Ethnologue aemaebb E14 Scotland s Census 2011 Scots language skills Grant William 1931 Map 2 Scottish National Dictionary khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 21 January 2012 Gregg R J 1972 The Scotch Irish Dialect Boundaries in Ulster in Wakelin M F Patterns in the Folk Speech of The British Isles London ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaskxt amp oldid 8984473, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม