fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ภาษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นการพัฒนาในท้องถิ่นของภาษาลาวในประเทศไทย ผู้พูดในท้องที่ยังคงถือว่าเป็นภาษาลาว รัฐบาลไทยยอมรับภาษานี้เป็นสำเนียงภาษาไทย ทั้งชาวไทยและลาวมีความเข้าใจร่วมกันยาก เพราะแม้ว่าจะมีคำร่วมเชื้อสายในพจนานุกรมกว่าร้อยละ 80 ทั้งลาวและอีสานมีระดับเสียงวรรณยุกต์ที่ต่างกันมากและมักใช้คำจากภาษาไทย จึงทำให้เกิดการขัดขวางความเข้าใจระหว่างกันโดยไม่มีการเปิดรับก่อน

ภาษาไทยถิ่นอีสาน
ภาษาไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ไทยอีสาน, ลาวอีสาน, ลาว (ไม่ทางการ)


ภาษาลาว, ภาษาอีสาน
ประเทศที่มีการพูดประเทศไทย
ภูมิภาคภาคอีสาน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ในพื้นที่ใกล้เคียงและกรุงเทพ
ชาติพันธุ์คนอีสาน (ไทลาว).
ภาษาที่สองหรือสามของชนกลุ่มน้อยหลายกลุ่มในภาคอีสาน
จำนวนผู้พูด13-16 ล้านคน  (2005)
22 ล้านคน (2013)
(L1 และ L2)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนไทน้อย
(อดีต, ฆราวาส)
ไทธรรม
(อดีต, ศาสนา)
อักษรไทย
(โดยพฤตินัย)
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน ไทย
รหัสภาษา
ISO 639-3tts

ภาคอีสานมีบริเวณทางการเกษตรเป็นจำนวนมากและเป็นหนึ่งในภาคที่ยากจนและพัฒนาช้าที่สุดในประเทศไทย ด้วยชาวภาคอีสานหลายที่คนที่ไม่ค่อยมีการศึกษามักไปทำงานที่กรุงเทพหรือเมืองอื่นและแม้แต่ต่างประเทศในฐานะคนงาน, คนทำอาหาร, คนขับแท็กซี, คนงานก่อสร้าง และอื่น ๆ รวมกับอคติทางประวัติศาสตร์อย่างเปิดเผยต่อชาวภาคอีสานและภาษาของพวกเขา ได้เป็นเชื้อเพลิงของความเข้าใจในแง่ลบในภาษานี้ ตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ตัวภาษาได้เปลี่ยนภาษาไปเป็นภาษาไทยอย่างช้า ๆ ส่งผลถึงความอยู่รอดของภาษา อย่างไรก็ตาม ด้วยมุมมองที่ผ่อนคลายลงในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ทางนักวิชาการไทยในมหาวิทยาลัยในภาคอีสานได้ดำเนินงานวิจัยเกี่ยวกับภาษานี้ โดยบางส่วนได้เริ่มมีผลในการช่วยรักษาภาษาที่กำลังหายไป อุปถัมภ์ด้วยการเติบโตในด้านการรับรู้และชื่นชมวัฒนธรรม, วรรณกรรม และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

สำเนียง

ภาษานี้แบ่งออกเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ

  1. ภาษาลาวเวียงจันทน์ ใช้ในประเทศลาว ท้องที่นครหลวงเวียงจันทน์ แขวงบอลิคำไซ และในประเทศไทยท้องที่จังหวัดชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย (อำเภอเมืองหนองคาย ศรีเชียงใหม่ ท่าบ่อ โพนพิสัย โพธิ์ตาก สังคม(บางหมู่บ้าน) ) ขอนแก่น (อำเภอภูเวียง ชุมแพ สีชมพู ภูผาม่าน หนองนาคำ เวียงเก่า หนองเรือบางหมู่บ้าน โคกโพธิ์ไชยบางหมู่บ้าน) ยโสธร (อำเภอเมืองยโสธร ทรายมูล กุดชุม บางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อำเภอบ้านผือ เพ็ญ บางหมู่บ้าน) ศรีสะเกษ (ในบางหมู่บ้านของอำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอขุขันธ์ อำเภอขุนหาญ)
  2. ภาษาลาวเหนือ ใช้ในประเทศลาวท้องที่แขวงหลวงพระบาง ไซยะบุรี อุดมไซ ในประเทศไทยท้องที่จังหวัดเลย อุตรดิตถ์ (อำเภอบ้านโคก น้ำปาด ฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อำเภอหล่มสัก หล่มเก่า น้ำหนาว) ขอนแก่น (อำเภอภูผาม่าน และบางหมู่บ้านของอำเภอสีชมพู ชุมแพ) ชัยภูมิ (อำเภอคอนสาร) พิษณุโลก (อำเภอชาติตระการและนครไทยบางหมู่บ้าน) หนองคาย (อำเภอสังคม) อุดรธานี (อำเภอน้ำโสม นายูง บางหมู่บ้าน)
  3. ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ในประเทศลาวท้องที่แขวงเชียงขวาง หัวพัน ในประเทศไทยท้องที่บ้านเชียง อำเภอหนองหาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี และบางหมู่บ้านในจังหวัดสกลนคร หนองคาย(บางหมู่บ้านในอำเภอท่าบ่อ อำเภอศรีเชียงใหม่ และอำเภอโพธิ์ตาก) และยังมีชุมชนลาวพวนในภาคเหนือบางแห่งในจังหวัดสุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ ไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้น หนองคาย
  4. ภาษาลาวกลาง แยกออกเป็นสำเนียงถิ่น 2 สำเนียงใหญ่ คือ ภาษาลาวกลางถิ่นคำม่วน และถิ่นสุวรรณเขต ถิ่นคำม่วน จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดนครพนม สกลนคร บึงกาฬ (อำเภอเซกา บึงโขงหลง บางหมู่บ้าน) ถิ่นสุวรรณเขต จังหวัดที่พูดมีจังหวัดเดียว คือ จังหวัดมุกดาหาร
  5. ภาษาลาวใต้ ใช้ในประเทศลาวท้องที่แขวงจำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย จังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร
  6. ภาษาลาวตะวันตก (ภาษาลาวร้อยเอ็ดหรือภาษาอีสาน) ไม่มีใช้ในประเทศลาว เป็นภาษาที่ใช้ในท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ท้องที่ร้อยเอ็ด​ อุดรธานี ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม บุรีรัมย์ หนองคาย (บางหมู่บ้าน) นครราชสีมา (บางอำเภอ) และบริเวณใกล้เคียงมณฑลร้อยเอ็ดของสยาม สำเนียงนี้มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในพื้นที่ส่วนมากของภาคอีสานสำเนียงนี้ส่วนมากจะใช้"สระเอียแทนสระเอือ"ในปัจจุบันจนได้ขึ้นชื่อว่าเป็นสำเนียงกลางหรือสำเนียงมาตรฐานของภาษาอีสาน เทียบเท่ากับ แหลงใต้ อู้คำเมือง พูดไทยกลาง ของแต่ละภาค

ส่วนภาษาเขียนในอดีตใช้อักษรธรรมล้านช้างหรือตัวธรรม สำหรับบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมะหรือพระพุทธศาสนา และเขียนด้วยอักษรไทน้อยหรือตัวลาวเดิม (เป็นอักษรลาวล้านช้างโบราณ มีความแตกต่างกับอักษรลาวในประเทศลาวในปัจจุบันเล็กน้อย) สำหรับเรื่องราวทางโลก อักษรลาวล้านช้าง (ตัวลาวหรืออักษรไทน้อย) มีพยัญชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บางท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือแต่จะใช้สระเอียแทน ในปัจจุบันนิยมใช้อักษรไทยสำหรับเขียนบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งในทางโลกและทางธรรม เนื่องจากผู้คนส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านตัวอักษรธรรมและอักษรลาวออก แต่ความนิยมในการเขียนบันทึกเป็นภาษาถิ่นไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก โดยส่วนใหญ่ภาษาเขียนในท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยจะใช้อักษรไทยและบันทึกเป็นภาษาไทยกลางเป็นหลักแทน

ตัวอย่างประโยคภาษาไทยถิ่นอีสาน

ตัวอย่าง ความหมาย
กินเข่าแล้วบ่,กินเข่าแล้วติ กินข้าวแล้วเหรอ
กี่ซี้นงัว เนื้อวัวย่าง
งามเติบ , งามหลาย สวยมาก
งึดแฮง, งึดหลาย ประหลาดใจเหลือเกิน ประหลาดใจมาก
จบหลาย, สวยมาก
จ่มดู๋ ขี้บ่น, พูดมาก
เซาเว่า, เซาปาก หยุดพูด
ตาเหลียโตน , หลูโตน , ลิโตน สงสาร
บ่พ้อกันโดนและเนาะ ไม่ได้เจอกันนานแล้วนะ
ผู้ฮ่ายหลาย ขี้เหร่มาก
พออยู่พอเซา พอกินพออยู่
มาแต่ไส ไปไหนมา
สูนแฮง โมโหมาก
ฮ่าง, เพ พัง, ใช้งานไม่ได้
เฮียน, เฮือน บ้าน
เมียเฮียน,เมือเฮือน , เมียบ้าน กลับบ้าน
สมัยแต่กี้ สมัยก่อน
มื่ออื่น พรุ่งนี้
ซุมื่อ ทุกวัน
ยามแลง ตอนเย็น
ย่าน กลัว
ขี้เดียด รังเกียจ
ซังแฮง, ซังอีหลี เกลียดมาก
ซี้นหลอด เนื้อตากแห้ง
คีง เนื้อตัว ร่างกาย
บาย แตะ ลูบ
เกิบ รองเท้า

อ้างอิง

  1. International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination. (2011). Reports submitted by States parties under article 9 of the Convention: First to third periodic reports of States parties due in 2008, Thailand. (GE.11-46262 (E) 141011 181011). New York NY: United Nations.
  2. Paul, L. M., Simons, G. F. and Fennig, C. D. (eds.). 2013. Ethnologue: Languages of the World, Seventeenth edition. Dallas, Texas: SIL International. Retrieved from http://www.ethnologue.com
  3. Nidhi Eoseewong (2012-11-12). "ภาษามลายูถิ่นในประเทศไทย [Malay dialects in Thailand]". Selected Messages & Good Article for People Ideas and Social Justice. สืบค้นเมื่อ 2014-07-26.
  4. Keyes, Charles F. (1966). "Ethnic Identity and Loyalty of Villagers in Northeastern Thailand". Asian Survey.
  5. Draper, John (2004). . Second Language Learning and Teaching. 4. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2014-03-11.
  6. Simpson, A. & Thammasathien, N. (2007). "Thailand and Laos", Simpson, A. (ed.) in Language and National Identity in Asia. Oxford: Oxford University Press. (p. 401).
  7. Chanthao, R. (2002). Code-mixing between Central Thai and Northeastern Thai of the Students in Khon Kaen Province. Bangkok: Mahidol University.
  8. Phra Ariyuwat. (1996). Phya Khankhaak, the Toad King: A Translation of an Isan Fertility Myth in Verse . Wajuppa Tossa (translator). (pp. 27–34). Lewisburg, PA: Bucknell University Press.

อ่านเพิ่ม

  • Hayashi, Yukio. (2003). Practical Buddhism among the Thai-Lao. Trans Pacific Press. ISBN 4-87698-454-9.
  • เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. ภาษาถิ่นตระกูลไทย. กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบทมหาวิทยาลัยมหิดล. 2531.
  • อีสานร้อยแปด. พจนานุกรมภาษาอีสาน. อีสาน : https://esan108.com/dict

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดีย อินคิวเบเตอร์ มีการทดสอบโครงการ:
วิกิพีเดียในภาษาไทยถิ่นอีสาน
  • Basic Isaan phrases (Some basic Isaan phrases with sound files).
  • McCargo, Duncan, and Krisadawan Hongladarom. "Contesting Isan‐ness: discourses of politics and identity in Northeast Thailand." Asian Ethnicity 5.2 (2004): 219-234.
  • พจนานุกรมภาษาอีสาน
  • โครงการอักษรอีสาน
  • อักษรไทน้อย
  • ความเป็นมาของอักษรไทยน้อย
  • ความเป็นมาของอักษรธรรมอีสาน


ภาษาไทยถ, นอ, สาน, หร, ภาษาลาวอ, สาน, เป, นการพ, ฒนาในท, องถ, นของภาษาลาวในประเทศไทย, ดในท, องท, งคงถ, อว, าเป, นภาษาลาว, ฐบาลไทยยอมร, บภาษาน, เป, นสำเน, ยงภาษาไทย, งชาวไทยและลาวม, ความเข, าใจร, วมก, นยาก, เพราะแม, าจะม, คำร, วมเช, อสายในพจนาน, กรมกว, าร, อยละ. phasaithythinxisan hrux phasalawxisan epnkarphthnainthxngthinkhxngphasalawinpraethsithy phuphudinthxngthiyngkhngthuxwaepnphasalaw 4 rthbalithyyxmrbphasaniepnsaeniyngphasaithy thngchawithyaelalawmikhwamekhaicrwmknyak ephraaaemwacamikharwmechuxsayinphcnanukrmkwarxyla 80 thnglawaelaxisanmiradbesiyngwrrnyuktthitangknmakaelamkichkhacakphasaithy cungthaihekidkarkhdkhwangkhwamekhaicrahwangknodyimmikarepidrbkxn 5 phasaithythinxisanphasaithyphakhtawnxxkechiyngehnux ithyxisan lawxisan law imthangkar phasalaw phasaxisanpraethsthimikarphudpraethsithyphumiphakhphakhxisan phakhtawnxxkechiyngehnux inphunthiiklekhiyngaelakrungethphchatiphnthukhnxisan ithlaw phasathisxnghruxsamkhxngchnklumnxyhlaykluminphakhxisancanwnphuphud13 16 lankhn 2005 1 22 lankhn 2013 L1 aela L2 1 2 trakulphasakhra ith klumphasaithklumphasaithtawntkechiyngitlaw phuithlawphasaithythinxisanrabbkarekhiynithnxy xdit khrawas iththrrm xdit sasna 3 xksrithy odyphvtiny sthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin ithyrhsphasaISO 639 3ttsphakhxisanmibriewnthangkarekstrepncanwnmakaelaepnhnunginphakhthiyakcnaelaphthnachathisudinpraethsithy dwychawphakhxisanhlaythikhnthiimkhxymikarsuksamkipthanganthikrungethphhruxemuxngxunaelaaemaettangpraethsinthanakhnngan khnthaxahar khnkhbaethksi khnngankxsrang aelaxun rwmkbxkhtithangprawtisastrxyangepidephytxchawphakhxisanaelaphasakhxngphwkekha idepnechuxephlingkhxngkhwamekhaicinaenglbinphasani tngaetklangstwrrsthi 20 twphasaidepliynphasaipepnphasaithyxyangcha sngphlthungkhwamxyurxdkhxngphasa 6 7 xyangirktam dwymummxngthiphxnkhlaylnginchwngplaystwrrsthi 20 epntnma thangnkwichakarithyinmhawithyalyinphakhxisaniddaeninnganwicyekiywkbphasani odybangswniderimmiphlinkarchwyrksaphasathikalnghayip xupthmphdwykaretibotindankarrbruaelachunchmwthnthrrm wrrnkrrm aelaprawtisastrthxngthin 8 5 enuxha 1 saeniyng 2 twxyangpraoykhphasaithythinxisan 3 xangxing 4 xanephim 5 aehlngkhxmulxunsaeniyng aekikhphasaniaebngxxkepn 6 saeniyngihy khux phasalawewiyngcnthn ichinpraethslaw thxngthinkhrhlwngewiyngcnthn aekhwngbxlikhais aelainpraethsithythxngthicnghwdchyphumi hnxngbwlaphu hnxngkhay xaephxemuxnghnxngkhay sriechiyngihm thabx ophnphisy ophthitak sngkhm banghmuban khxnaekn xaephxphuewiyng chumaeph sichmphu phuphaman hnxngnakha ewiyngeka hnxngeruxbanghmuban okhkophthiichybanghmuban yosthr xaephxemuxngyosthr thraymul kudchum banghmuban xudrthani xaephxbanphux ephy banghmuban srisaeks inbanghmubankhxngxaephxemuxngsrisaeks xaephxkhukhnth xaephxkhunhay phasalawehnux ichinpraethslawthxngthiaekhwnghlwngphrabang isyaburi xudmis inpraethsithythxngthicnghwdely xutrditth xaephxbanokhk napad faktha ephchrburn xaephxhlmsk hlmeka nahnaw khxnaekn xaephxphuphaman aelabanghmubankhxngxaephxsichmphu chumaeph chyphumi xaephxkhxnsar phisnuolk xaephxchatitrakaraelankhrithybanghmuban hnxngkhay xaephxsngkhm xudrthani xaephxnaosm nayung banghmuban phasalawtawnxxkechiyngehnux ichinpraethslawthxngthiaekhwngechiyngkhwang hwphn inpraethsithythxngthibanechiyng xaephxhnxnghan xaephxbanphux cnghwdxudrthani aelabanghmubanincnghwdsklnkhr hnxngkhay banghmubaninxaephxthabx xaephxsriechiyngihm aelaxaephxophthitak aelayngmichumchnlawphwninphakhehnuxbangaehngincnghwdsuokhthy xutrditth aephr imkihmubanethann hnxngkhay phasalawklang aeykxxkepnsaeniyngthin 2 saeniyngihy khux phasalawklangthinkhamwn aelathinsuwrrnekht thinkhamwn cnghwdthiphudinpraethsithy echn cnghwdnkhrphnm sklnkhr bungkal xaephxeska bungokhnghlng banghmuban thinsuwrrnekht cnghwdthiphudmicnghwdediyw khux cnghwdmukdahar phasalawit ichinpraethslawthxngthiaekhwngcapaskdi salawn eskxng xttapux cnghwdthiphudinpraethsithy cnghwdxublrachthani xanacecriy srisaeks yosthr phasalawtawntk phasalawrxyexdhruxphasaxisan immiichinpraethslaw epnphasathiichinthxngthinphakhtawnxxkechiyngehnuxkhxngpraethsithy thxngthirxyexd xudrthani khxnaekn kalsinthu mhasarkham burirmy hnxngkhay banghmuban nkhrrachsima bangxaephx aelabriewniklekhiyngmnthlrxyexdkhxngsyam saeniyngnimikarichknxyangaephrhlayinphunthiswnmakkhxngphakhxisansaeniyngniswnmakcaich sraexiyaethnsraexux inpccubncnidkhunchuxwaepnsaeniyngklanghruxsaeniyngmatrthankhxngphasaxisan ethiybethakb aehlngit xukhaemuxng phudithyklang khxngaetlaphakhswnphasaekhiyninxditichxksrthrrmlanchanghruxtwthrrm sahrbbnthukeruxngrawekiywkbthrrmahruxphraphuththsasna aelaekhiyndwyxksrithnxyhruxtwlawedim epnxksrlawlanchangobran mikhwamaetktangkbxksrlawinpraethslawinpccubnelknxy sahrberuxngrawthangolk xksrlawlanchang twlawhruxxksrithnxy miphyychna 20 esiyng sraediyw 18 esiyng sraprasm 2 3 esiyng bangthxngthinimmiesiyngsraexuxaetcaichsraexiyaethn inpccubnniymichxksrithysahrbekhiynbnthukeruxngrawtang thnginthangolkaelathangthrrm enuxngcakphukhnswnihyimsamarthxantwxksrthrrmaelaxksrlawxxk aetkhwamniyminkarekhiynbnthukepnphasathinimkhxyidrbkhwamniymnk odyswnihyphasaekhiyninthxngthinphakhtawnxxkechiyngehnuxkhxngpraethsithycaichxksrithyaelabnthukepnphasaithyklangepnhlkaethntwxyangpraoykhphasaithythinxisan aekikhtwxyang khwamhmaykinekhaaelwb kinekhaaelwti kinkhawaelwehrxkisinngw enuxwwyangngametib ngamhlay swymakngudaehng ngudhlay prahladicehluxekin prahladicmakcbhlay swymakcmdu khibn phudmakesaewa esapak hyudphudtaehliyotn hluotn liotn sngsarbphxknodnaelaenaa imidecxknnanaelwnaphuhayhlay khiehrmakphxxyuphxesa phxkinphxxyumaaetis ipihnmasunaehng omohmakhang eph phng ichnganimidehiyn ehuxn banemiyehiyn emuxehuxn emiyban klbbansmyaetki smykxnmuxxun phrungnisumux thukwnyamaelng txneynyan klwkhiediyd rngekiyc sngaehng sngxihli ekliydmaksinhlxd enuxtakaehngkhing enuxtw rangkaybay aeta lubekib rxngethaxangxing aekikh 1 0 1 1 International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination 2011 Reports submitted by States parties under article 9 of the Convention First to third periodic reports of States parties due in 2008 Thailand GE 11 46262 E 141011 181011 New York NY United Nations Paul L M Simons G F and Fennig C D eds 2013 Ethnologue Languages of the World Seventeenth edition Dallas Texas SIL International Retrieved from http www ethnologue com Nidhi Eoseewong 2012 11 12 phasamlayuthininpraethsithy Malay dialects in Thailand Selected Messages amp Good Article for People Ideas and Social Justice subkhnemux 2014 07 26 Keyes Charles F 1966 Ethnic Identity and Loyalty of Villagers in Northeastern Thailand Asian Survey 5 0 5 1 Draper John 2004 Isan The planning context for language maintenance and revitalization Second Language Learning and Teaching 4 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2014 03 11 Simpson A amp Thammasathien N 2007 Thailand and Laos Simpson A ed in Language and National Identity in Asia Oxford Oxford University Press p 401 Chanthao R 2002 Code mixing between Central Thai and Northeastern Thai of the Students in Khon Kaen Province Bangkok Mahidol University Phra Ariyuwat 1996 Phya Khankhaak the Toad King A Translation of an Isan Fertility Myth in Verse Wajuppa Tossa translator pp 27 34 Lewisburg PA Bucknell University Press xanephim aekikhHayashi Yukio 2003 Practical Buddhism among the Thai Lao Trans Pacific Press ISBN 4 87698 454 9 eruxngedch pnekhuxnkhtiy phasathintrakulithy kthm sthabnwicyphasaaelawthnthrrmephuxkarphthnachnbthmhawithyalymhidl 2531 xisanrxyaepd phcnanukrmphasaxisan xisan https esan108 com dictaehlngkhxmulxun aekikh wikimiediy xinkhiwebetxr mikarthdsxbokhrngkar wikiphiediyinphasaithythinxisan Basic Isaan phrases Some basic Isaan phrases with sound files McCargo Duncan and Krisadawan Hongladarom Contesting Isan ness discourses of politics and identity in Northeast Thailand Asian Ethnicity 5 2 2004 219 234 phcnanukrmphasaxisan okhrngkarxksrxisan xksrithnxy khwamepnmakhxngxksrithynxy khwamepnmakhxngxksrthrrmxisan bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasaekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaithythinxisan amp oldid 9423681, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม