fbpx
วิกิพีเดีย

อักษรธรรมล้านนา

อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง (คำเมือง: ᩋᨠ᩠ᨡᩁᨵᩢᨾ᩠ᨾ᩺ᩃ᩶ᩣ᩠ᨶᨶᩣ ᩁᩂ ᨲ᩠ᩅᩫᨾᩮᩬᩥᨦ; คำเมืองอักษรไทย: อักขรธัมม์ล้านนา รฤ ตัวเมือง; ไทลื้อ: ᨵᨾ᩠ᨾ [ธรรม] "คัมภีร์") หรือ อักษรยวน ภาษาไทยกลางในอดีตเรียกว่า ไทยเฉียง ลาวเฉียงตามชื่อมณฑลลาวเฉียง เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อ ในประเทศจีน และภาษาไทเขิน ในประเทศพม่า นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) เพราะเนื่องจากอักษรธรรมล้านนาได้แพร่เข้าไปยังอาณาจักรล้านช้างเดิมผ่านความสัมพันธ์ทางการทูตและทางศาสนาระหว่างล้านนากับล้านช้างในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 21 ร่วมสมัยกับพระเจ้าโพธิสารราชและพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้าง เป็นต้น เลยกลายเป็นวิวัฒนาการของแบบอักษรที่เรียกว่าอักษรธรรมลาว(หรือที่เรียกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยว่า "อักษรธรรมอีสาน") ในเวลาต่อมา และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน

อักษรธรรมล้านนา
คำว่า "อักษรธรรม" (อักขรธัมม์) ในภาษากำเมือง
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดไทยถิ่นเหนือ, ไทลื้อ, เขิน, ไทยถิ่นอีสาน และลาว(ชาวลาวและชาวไทยถิ่นอีสานจะใช้แค่ในทางศาสนาเท่านั้น)
ช่วงยุคคริสศตวรรษที่ 13-ปัจจุบัน
ระบบแม่
ชุดอักษรไซนายดั้งเดิม[a]
ระบบลูกไทลื้อใหม่
ช่วงยูนิโคดU+1A20-U+1AAF
ISO 15924Lana
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมีไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหกวรรณยุกต์ ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก่า

ป้ายชื่อวัดหม้อคำตวง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา
ᩅᩢ᩠ᨯᩉ᩠ᨾᩬᩴ᩶ᨤᩣᩴᨴ᩠ᩅᨦ᩺
ถอดเป็นอักษรไทย: "วัดหฺมฺ้อฅำทฺวง์"
คำอ่าน: "วัดหม้อคำตวง"

พยัญชนะ

อักษรธรรมล้านนาจัดตามกลุ่มพยัญชนะวรรคตามพยัญชนะภาษาบาลี แบ่งออกเป็น 5 วรรค วรรคละ 5 ตัว เรียกว่า“พยัญชนะวรรค”หรือ“พยัญชนะในวรรค”อีก 8 ตัวไม่จัดอยู่ในวรรคเรียกว่า“พยัญชนะอวรรค”หรือ“พยัญชนะนอกวรรค”หรือ“พยัญชนะเศษวรรค”ส่วนการอ่านออกเสียงเรียกพยัญชนะทั้งหมดนั้น จะเรียกว่า“ตั๋ว”เช่น ตั๋ว กะ/ก/ ตั๋ว ขะ/ข/ ตั๋ว จะ/จ/ เป็นต้น

พยัญชนะปกติ

อักษรไทยที่ปรากฏเป็นการถ่ายอักษรเท่านั้น เสียงจริงของอักษรแสดงไว้ในสัทอักษรสากล ซึ่งอาจจะออกเสียงต่างไปจากอักษรไทย

วัคค์ (วรรค)
ประเภท อนาสิก นาสิก
หมวด หลัก เติม หลัก เติม หลัก เติม หลัก
ก วัคค์ รูป              
Unicode
ชื่อ ก๋ะ ข๋ะ ข๋ะ (ฃ๋ะ) ก๊ะ คะ (ฅะ) คะ (ฆะ) งะ
ถอดอักษร
สัทอักษร /káʔ/ /xáʔ/,/kʰáʔ/ /xáʔ/,/kʰáʔ/ /ka᷇ʔ/ /xa᷇ʔ/,/kʰa᷇ʔ/ /xa᷇ʔ/,/kʰa᷇ʔ/ /ŋa᷇ʔ/
อักษร สูง สูง ต่ำ
จ วัคค์ รูป          ,   
Unicode ᨫ(ᨩ᩠ᨿ,ᨧ᩠ᨿ)
ชื่อ จ๋ะ ส๋ะ (ฉ๋ะ) จ๊ะ ซะ ซะ (ฌะ) ญะ
ถอดอักษร
สัทอักษร /t͡ɕáʔ/ /sáʔ/,/t͡ɕʰáʔ/ /t͡ɕa᷇ʔ/ /sa᷇ʔ/ /sa᷇ʔ/,/t͡ɕʰa᷇ʔ/ /ɲa᷇ʔ/
อักษร สูง สูง ต่ำ
ฏ วัคค์ รูป    ,       
Unicode ᨮ(ᨳᩛ/ᨭᩛ)
ชื่อ หละต๋ะ (หละฏ๋ะ) หละถ๋ะ (หละฐ๋ะ) ด๋ะ หละทะ (หละฒะ) หละนะ (หละณะ)
ถอดอักษร ฑ,ฎ,ด
สัทอักษร /lə.táʔ/ /lə.tʰáʔ/ /dáʔ/ /lə.tʰa᷇ʔ/ /lə.na᷇ʔ/
อักษร สูง สูง กลาง ต่ำ
ต วัคค์ รูป          
Unicode
ชื่อ ต๋ะ ถ๋ะ ต๊ะ ทะ (ธะ) นะ
ถอดอักษร
สัทอักษร /táʔ/ /tʰáʔ/ /ta᷇ʔ/ /tʰa᷇ʔ/ /na᷇ʔ/
อักษร สูง สูง ต่ำ ต่ำ
ป วัคค์ รูป                
Unicode
ชื่อ บ๋ะ ป๋ะ ผ๋ะ ฝ๋ะ ป๊ะ ฟะ พะ (ภะ) มะ
ถอดอักษร
สัทอักษร /báʔ/,/páʔ/ /páʔ/ /pʰáʔ/ /fáʔ/ /pa᷇ʔ/ /fa᷇ʔ/ /pʰa᷇ʔ/ /ma᷇ʔ/
อักษร กลาง สูง ต่ำ
อวัคค์ (เศษวรรค)
หมวด หลัก เติม หลัก เติม หลัก เติม หลัก
อวัคค์ รูป          
Unicode ᨿ
ชื่อ ญะ (ย) อย๋ะ ละ, ฮะ (ระ) ละ วะ
ถอดอักษร อย
สัทอักษร /ɲa᷇ʔ/ /jáʔ/ /ra᷇ʔ/,/la᷇ʔ/,/ha᷇ʔ/ /la᷇ʔ/ /wa᷇ʔ/
อักษร ต่ำ กลาง ต่ำ ต่ำ ต่ำ
รูป      
Unicode
ชื่อ ส๋ะ (ศ๋ะ) ส๋ะ (ษ๋ะ) ส๋ะ
ถอดอักษร
สัทอักษร /sáʔ/ /sáʔ/ /sáʔ/
อักษร สูง สูง สูง
รูป      ,   
Unicode
ชื่อ ห๋ะ ละ (ฬะ) อ๋ะ ฮะ
ถอดอักษร
สัทอักษร /háʔ/ /la᷇ʔ/ /ʔáʔ/ /ha᷇ʔ/
อักษร สูง ต่ำ กลาง ต่ำ

พยัญชนะซ้อน(พยัญชนะหาง)

พยัญชนะซ้อน (ตัวซ้อน) เป็นพยัญชนะที่ใส่ไว้ใต้พยัญชนะตัวอื่นเพื่อทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ คือ 1. เพื่อห้ามไม่ให้พยัญชนะที่ไปซ้อน (ตัวข่ม) ออกเสียงสระอะ หรือ 2. เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวสะกด ซึ่งพยัญชนะที่ล้านนารับมาจากภาษาอื่นตั้งแต่แรกจะมีรูปพยัญชนะซ้อนทุกตัว ยกเว้น   กับ   เท่านั้นที่ไม่มี พยัญชนะที่มีรูปพยัญชนะซ้อนมีดังต่อไปนี้

 

พยัญชนะนอกเหนือจากนี้ ซึ่งได้แก่   เป็นพยัญชนะที่ล้านนาประดิษฐ์ขึ้นมาเอง ดังนั้นจึงไม่มีรูปพยัญชนะซ้อน แต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเขียนคำที่มาจากภาษาต่างประเทศได้ใกล้เคียงกับภาษาเดิมมากที่สุด จึงสมควรมีการประดิษฐ์รูปพยัญชนะซ้อนของ     และ   ขึ้นมาเพิ่มเติม

พยัญชนะพิเศษ(เฉพาะ)

รูป              
Unicode
ชื่อ อิ๋ แบบบาลี อี แบบบาลี อุ๋ แบบบาลี อู แบบบาลี เอ แบบบาลี ลึ ลือ
ถอดอักษร อิ อี อุ อู เอ ฤ,ฤๅ (ฤๅ)
สัทอักษร /íʔ/ /īː/ /úʔ/ /ūː/ /ēː/ lɯ᷇ʔ /lɯ̄ː/
รูป            
Unicode ᩓ(ᩃᩫ) ᩓ(ᩃ᩻) ᨶᩣ ᨬ᩠ᨬ
ชื่อ แล แล แบบไทลื้อ นา ญะญะ ส สองห้อง ระโฮง
ถอดอักษร แล/และ นา ญฺญ สฺส ร (ควบกล้ำ)
สัทอักษร /lɛ̄ː/ /nāː/ /n.ɲ/ /t.s/, /s.s/, /sː/ /r/, /l/, /ʰ/

สระ

สระจม

เป็นสระที่ไม่สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเอง ต้องนำไปผสมกับพยัญชนะก่อนจึงจะสามารถออกเสียงได้เลย


 

สระลอย

 

เป็นสระที่มาจากภาษาบาลี สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเองไม่จำเป็นต้องนำไปผสมกับพยัญชนะก่อน แต่บางครั้งก็มีการนำไปผสมกับพยัญชนะหรือสระแท้ เช่น คำว่า "เอา" สามารถเขียนได้โดยเขียนสระจากภาษาบาลี 'อู' ตามด้วย สระแท้ 'า' คือ ᩐᩣ  

ตัวเลข

ตัวเลขล้านนามีเลขสองชุด ชุดแรก เลขธรรม สงวนไว้สำหรับพิธีกรรม อีกชุดคือเลขโหราที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

อารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
เลขโหรา
เลขธรรม

วรรณยุกต์

เนื่องจากล้านนาได้นำเอาระบบอักขรวิธีของมอญมาใช้โดยแทบจะไม่มีการปรับเปลี่ยนเลย และภาษามอญเองก็เป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ดังนั้นในอดีตจึงไม่ปรากฏว่ามีการใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ในการเขียนอักษรธรรมล้านนาเลย (เคยมีการถกเถียงกันเรื่องชื่อของล้านนาว่าจริงๆแล้วชื่อ "ล้านนา" หรือ "ลานนา" กันแน่ แต่ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่า "ล้านนา") จนกระทั่งในระยะหลังเมื่ออิทธิพลของสยามแผ่เข้าไปในล้านนาจึงปรากฏการใช้รูปวรรณยุกต์ในการเขียนอักษรธรรมล้านนา

รูป    
Unicode  ◌᩵  ◌᩶
ชื่อ ไม้เยาะ ไม้ขอจ๊าง
ถอดอักษรชื่อ ไม้เหยาะ ไม้ขอช้าง
ถอดอักษรรูป ◌่ ◌้
สัทอักษร /máj.jɔ́ʔ/ /máj.xɔ̌ː.t͡ɕáːŋ/

ภาษาไทยถิ่นเหนือสามารถผันได้ 6 เสียง (จริงๆแล้วมีทั้งหมด 7 หรือ 8 เสียง แต่ในแต่ละท้องถิ่นจะใช้เพียง 6 เสียงเท่านั้น) การผันจะใช้การจับคู่กันระหว่างอักษรสูงกับอักษรต่ำจึงทำให้ต้องใช้วรรณยุกต์เพียง 2 รูปเท่านั้น คือ เอก กับ โท (เทียบภาษาไทยกลาง) เช่น
 

การที่มีรูปวรรณยุกต์เพียง 2 รูปนี้ทำให้เกิดปัญหากับอักษรกลาง คือ ไม่สามารถแทนเสียงได้ครบทั้ง 6 เสียง ดังนั้นจึงอาจอนุโลมให้แต่ละรูปศัพท์แทนการออกเสียงได้ 2 เสียง

เสียงวรรณยุกต์สำเนียงเชียงใหม่มี 6 เสียง คือ เสียงจัตวา, เสียงเอก, เสียงโทพิเศษ, เสียงสามัญ, เสียงโท, และเสียงตรี

เสียงวรรณยุกต์ ตัวอย่าง การถอดรหัสเสียง การออกเสียง ความหมายในภาษาไทย
เสียงจัตวา ขา ᨡᩣ /xǎː/ [xaː˩˦] ขา
เสียงเอก ข่า ᨡ᩵ᩣ /xàː/ [xaː˨˨] ข่า
เสียงโทพิเศษ ข้า ᨡ᩶ᩣ /xa᷇ː/ [xaː˥˧] ฆ่า
เสียงสามัญ ฅา ᨤᩣ /xaː/ [xaː˦˦] หญ้าคา
เสียงโท ไฮ่ ᩁᩱ᩵ /hâjː/ [hajː˦˩] ไร่
เสียงตรี ฟ้า ᨼ᩶ᩣ /fáː/ [faː˦˥˦] ฟ้า

การแสดงเสียงวรรณยุกต์

การแสดงเสียงวรรณยุกต์ของคำเมืองสำเนียงเชียงใหม่

เสียงวรรณยุกต์ คำเป็น สระยาว คำเป็น สระยาว ไม้เอก คำเป็น สระยาว ไม้โท คำตาย สระสั้น คำตาย สระยาว
อักษรสูง เสียงจัตวา เสียงเอก เสียงโทพิเศษ เสียงจัตวา เสียงเอก
อักษรกลาง เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโทพิเศษ เสียงจัตวา เสียงเอก
อักษรต่ำ เสียงสามัญ เสียงโท เสียงตรี เสียงตรี เสียงโท

อักษรธรรมล้านนาในคอมพิวเตอร์

อักษรธรรมล้านนาได้รับการบรรจุลงในยูนิโคดตั้งแต่รุ่น 5.2 ดังนั้นเราจึงสามารถใช้อักษรธรรมล้านนาในคอมพิวเตอร์ได้โดยที่ไม่ต้องอาศัยช่วงรหัสของอักษรอื่นดังเช่นที่เคยทำกันในอดีตอีกต่อไป ระบบปฏิบัติการที่รองรับยูนิโคดอักษรธรรมล้านนาในตอนนี้ ได้แก่ Ubuntu 11.04 โดยอาศัยฟอนต์แบบโอเพ็นไทป์ (OpenType) ส่วนระบบปฏิบัติการ Windows นั้นยังไม่รองรับยูนิโคดอักษรธรรมล้านนา อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่า Windows จะยังไม่รองรับยูนิโคดอักษรธรรมล้านนาแต่เราก็สามารถใช้ยูนิโคดอักษรธรรมล้านนาในเว็บเบราว์เซอร์ได้โดยใช้เว็บเบราว์เซอร์ Mozilla Firefox รุ่น 4.0 ขึ้นไป (อาศัยฟอนต์แบบโอเพ็นไทป์) นอกจากนี้แล้วยังสามารถใช้ยูนิโคดอักษรธรรมล้านนาในโปรแกรมสำนักงานได้โดยใช้โปรแกรม OpenOffice รุ่น 3.2 ขึ้นไป (อาศัยฟอนต์ที่มีตาราง Graphite)

ไทธรรม (ชื่อตามมาตรฐานยูนิโคด)
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1A2x
U+1A3x ᨿ
U+1A4x
U+1A5x  
U+1A6x
U+1A7x     ᩿
U+1A8x            
U+1A9x            
U+1AAx    


อ้างอิง

  1. Diringer, David (1948). Alphabet a key to the history of mankind. p. 411.
  2. Hartmann, John F. (1986). "The spread of South Indic scripts in Southeast Asia". Crossroads: An Interdisciplinary Journal of Southeast Asian Studies. 3 (1): 6–20. JSTOR 40860228.
  3. Penth, Hans (1986). "On the History of Thai scripts" (PDF). Cite journal requires |journal= (help)
  4. จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 139
  5. Natnapang Burutphakdee (October 2004). Khon Muang Neu Kap Phasa Muang: Attitudes of Northern Thai Youth towards Kammuang and the Lanna Script (PDF) (M.A. Thesis). Presented at 4th National Symposium on Graduate Research, Chiang Mai, Thailand, August 10–11, 2004. Asst. Prof. Dr. Kirk R. Person, adviser. Chiang Mai: Payap University. P. 7, digital image 30. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-09. สืบค้นเมื่อ June 8, 2013. The reason why they called this language ‘Kammuang’ is because they used this language in the towns where they lived together, which were surrounded by mountainous areas where there were many hill tribe people. Unknown parameter |trans_title= ignored (help)
  6. Gedney, William J., and Thomas J. Hudak. William J. Gedney's Tai Dialect Studies: Glossaries, Texts, and Translations. Ann Arbor, MI: Center for South and Southeast Asian Studies, The University of Michigan, 1997. Print.

อ่านเพิ่ม

  • Khamjan, Mala (มาลา คำจันทร์). Kham Mueang Dictionary(พจนานุกรมคำเมือง). Chiang Mai: bookworm, 2008. ISBN 978-974-8418-55-1.
  • "Lanna script". Complete information from traditional sources. Sky Knowledge. สืบค้นเมื่อ 2018-07-15.
  • Owen, R. Wyn. 2017. A description and linguistic analysis of the Tai Khuen writing system. Journal of the Southeast Asian Linguistics Society 10.1, 140-164.
  • Trager, Ed. (2014). Hariphunchai Tai Tham Font Project.
  • Wordingham, Richard. Lamphun glyphs (A page with specimen of the font Lamphun). Retrieved 15 May 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ISO/IEC 10646:2003/Amd.5:2008 Universal Multiple-Octet Coded Character Set (UCS) -- Amendment 5: AMENDMENT 5: Tai Tham, Tai Viet, Avestan, Egyptian Hieroglyphs, CJK Unified Ideographs Extension C, and other characters
  • รูปและการออกเสียงของอักษรล้านนา (อังกฤษ)
  • สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • Download Font Lanna

กษรธรรมล, านนา, หร, วเม, อง, คำเม, อง, ᩋᨠ, ᨡᩁᨵ, ᨶᨶ, ᩁᩂ, คำเม, องอ, กษรไทย, กขรธ, มม, านนา, รฤ, วเม, อง, ไทล, ᨵᨾ, ธรรม, มภ, หร, กษรยวน, ภาษาไทยกลางในอด, ตเร, ยกว, ไทยเฉ, ยง, ลาวเฉ, ยงตามช, อมณฑลลาวเฉ, ยง, เป, นอ, กษรท, ใช, ในสามภาษา, ได, แก, ภาษาไทยถ, นเหน, ภาษ. xksrthrrmlanna hrux twemuxng khaemuxng ᩋᨠ ᨡᩁᨵ ᨾ ᨾ ᩃ ᨶᨶ ᩁᩂ ᨲ ᩅ ᨾ ᨦ khaemuxngxksrithy xkkhrthmmlanna rv twemuxng ithlux ᨵᨾ ᨾ thrrm khmphir hrux xksrywn phasaithyklanginxditeriykwa ithyechiyng 4 lawechiyngtamchuxmnthllawechiyng epnxksrthiichinsamphasa idaek phasaithythinehnux phasaithlux inpraethscin aelaphasaithekhin inpraethsphma nxkehnuxcakni xksrlannayngichkblawthrrm hruxlaweka ephraaenuxngcakxksrthrrmlannaidaephrekhaipyngxanackrlanchangedimphankhwamsmphnththangkarthutaelathangsasnarahwanglannakblanchanginchwngplayphuththstwrrsthi 21 rwmsmykbphraecaophthisarrachaelaphraecaichyechsthathirachaehnglanchang epntn elyklayepnwiwthnakarkhxngaebbxksrthieriykwaxksrthrrmlaw hruxthieriykinphakhtawnxxkechiyngehnuxkhxngithywa xksrthrrmxisan inewlatxma aelaphasathinxuninkhmphiriblanphuththaelasmudbnthuk xksrniyngeriyk xksrthrrmhruxxksrywnxksrthrrmlannakhawa xksrthrrm xkkhrthmm inphasakaemuxngchnidxksrsraprakxbphasaphudithythinehnux ithlux ekhin ithythinxisan aelalaw chawlawaelachawithythinxisancaichaekhinthangsasnaethann chwngyukhkhrisstwrrsthi 13 pccubnrabbaemchudxksrisnaydngedim a chudtwxksrfiniechiy a chudtwxksraexraemxik a phrahmithmil phrahmikthmphahruxpllwa 1 pyuhruxmxyeka 1 mxy 2 3 xksrthrrmlannarabblukithluxihmchwngyuniokhdU 1A20 U 1AAFISO 15924Lana a tnkaenidesmitikkhxngxksrphrahmiimepnthiyxmrbinradbsaklbthkhwamnimisylksnsthsastrsthxksrsakl hakimmikarsnbsnunernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxng hruxsylksnxunaethnxkkhrayuniokhdbthkhwamnimikhxkhwam khaemuxng hakimmikarsnbsnunkarernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxnghruxsylksnxunaethnxksrthrrmlannaphasaithythinehnuxepnphasaiklchidkbphasaithyaelaepnsmachikkhxngtrakulphasaechiyngaesn miphuphudekuxb 6 000 000 khninphakhehnuxkhxngpraethsithy aelahlayphnkhninpraethslaw sungmicanwnnxythiruxksrlanna xksrniyngichxyuinphrasngkhxayumak phasaithythinehnuxmihkwrrnyukt khnathiphasaithymihawrrnyukt thaihkarthxdesiyngepnxksrithymipyha mikhwamsnicinxksrlannakhunmaxikbanginhmukhnhnumsaw aetkhwamyungyakephimkhun khux aebbphasaphudsmyihm thieriyk khaemuxng xxkesiyngtangcakaebbeka 5 paychuxwdhmxkhatwng tablsriphumi xaephxemuxngechiyngihm cnghwdechiyngihm ekhiyndwyxksrthrrmlannaᩅ ᨯᩉ ᨾ ᨤ ᨴ ᩅᨦ thxdepnxksrithy wdh m xKhath wng khaxan wdhmxkhatwng enuxha 1 phyychna 1 1 phyychnapkti 1 2 phyychnasxn phyychnahang 1 3 phyychnaphiess echphaa 2 sra 2 1 sracm 2 2 sralxy 3 twelkh 4 wrrnyukt 4 1 karaesdngesiyngwrrnyukt 5 xksrthrrmlannainkhxmphiwetxr 6 xangxing 7 xanephim 8 aehlngkhxmulxunphyychna aekikhxksrthrrmlannacdtamklumphyychnawrrkhtamphyychnaphasabali aebngxxkepn 5 wrrkh wrrkhla 5 tw eriykwa phyychnawrrkh hrux phyychnainwrrkh xik 8 twimcdxyuinwrrkheriykwa phyychnaxwrrkh hrux phyychnanxkwrrkh hrux phyychnaesswrrkh swnkarxanxxkesiyngeriykphyychnathnghmdnn caeriykwa tw echn tw ka k tw kha kh tw ca c epntn phyychnapkti aekikh xksrithythipraktepnkarthayxksrethann esiyngcringkhxngxksraesdngiwinsthxksrsakl sungxaccaxxkesiyngtangipcakxksrithy wkhkh wrrkh praephth xnasik nasikhmwd hlk etim hlk etim hlk etim hlkk wkhkh rup Unicode ᨠ ᨡ ᨢ ᨣ ᨤ ᨰ ᨦchux ka kha kha kha ka kha Kha kha kha ngathxdxksr k kh kh kh Kh kh ngsthxksr kaʔ xaʔ kʰaʔ xaʔ kʰaʔ ka ʔ xa ʔ kʰa ʔ xa ʔ kʰa ʔ ŋa ʔ xksr sung sung tac wkhkh rup Unicode ᨧ ᨨ ᨩ ᨪ ᨫ ᨩ ᨿ ᨧ ᨿ ᨬchux ca sa cha ca sa sa cha yathxdxksr c ch ch s ch ysthxksr t ɕaʔ saʔ t ɕʰaʔ t ɕa ʔ sa ʔ sa ʔ t ɕʰa ʔ ɲa ʔ xksr sung sung tat wkhkh rup Unicode ᨭ ᨮ ᨳ ᨭ ᨯ ᨰ ᨱchux hlata hlata hlatha hlatha da hlatha hlatha hlana hlana thxdxksr t th th d d th nsthxksr le taʔ le tʰaʔ daʔ le tʰa ʔ le na ʔ xksr sung sung klang tat wkhkh rup Unicode ᨲ ᨳ ᨴ ᨵ ᨶchux ta tha ta tha tha nathxdxksr t th th th nsthxksr taʔ tʰaʔ ta ʔ tʰa ʔ na ʔ xksr sung sung ta tap wkhkh rup Unicode ᨷ ᨸ ᨹ ᨺ ᨻ ᨼ ᨽ ᨾchux ba pa pha fa pa fa pha pha mathxdxksr b p ph f ph f ph msthxksr baʔ paʔ paʔ pʰaʔ faʔ pa ʔ fa ʔ pʰa ʔ ma ʔ xksr klang sung taxwkhkh esswrrkh hmwd hlk etim hlk etim hlk etim hlkxwkhkh rup Unicode ᨿ ᩀ ᩁ ᩃ ᩅchux ya y xya la ha ra la wathxdxksr y xy r l wsthxksr ɲa ʔ jaʔ ra ʔ la ʔ ha ʔ la ʔ wa ʔ xksr ta klang ta ta tarup Unicode ᩆ ᩇ ᩈchux sa sa sa sa sathxdxksr s s ssthxksr saʔ saʔ saʔ xksr sung sung sungrup Unicode ᩉ ᩊ ᩋ ᩌchux ha la la xa hathxdxksr h l x hsthxksr haʔ la ʔ ʔaʔ ha ʔ xksr sung ta klang taphyychnasxn phyychnahang aekikh phyychnasxn twsxn epnphyychnathiisiwitphyychnatwxunephuxthahnathixyangidxyanghnungdngni khux 1 ephuxhamimihphyychnathiipsxn twkhm xxkesiyngsraxa hrux 2 ephuxthahnathiepntwsakd sungphyychnathilannarbmacakphasaxuntngaetaerkcamirupphyychnasxnthuktw ykewn kb ethannthiimmi phyychnathimirupphyychnasxnmidngtxipni phyychnanxkehnuxcakni sungidaek epnphyychnathilannapradisthkhunmaexng dngnncungimmirupphyychnasxn aetxyangirktamephuxihsamarthekhiynkhathimacakphasatangpraethsidiklekhiyngkbphasaedimmakthisud cungsmkhwrmikarpradisthrupphyychnasxnkhxng aela khunmaephimetim phyychnaphiess echphaa aekikh rup Unicode ᩍ ᩎ ᩏ ᩐ ᩑ ᩂ ᩄchux xi aebbbali xi aebbbali xu aebbbali xu aebbbali ex aebbbali lu luxthxdxksr xi xi xu xu ex v vi vi lsthxksr iʔ iː uʔ uː eː lɯ ʔ lɯ ː rup Unicode ᩓ ᩃ ᩓ ᩃ ᨶ ᨬ ᨬ ᩔ chux ael ael aebbithlux na yaya s sxnghxng raohngthxdxksr ael aela na y y s s r khwbkla sthxksr lɛ ː naː n ɲ t s s s sː r l ʰ sra aekikhsracm aekikh epnsrathiimsamarthxxkesiyngiddwytwexng txngnaipphsmkbphyychnakxncungcasamarthxxkesiyngidely sralxy aekikh epnsrathimacakphasabali samarthxxkesiyngiddwytwexngimcaepntxngnaipphsmkbphyychnakxn aetbangkhrngkmikarnaipphsmkbphyychnahruxsraaeth echn khawa exa samarthekhiynidodyekhiynsracakphasabali xu tamdwy sraaeth a khux ᩐ twelkh aekikhtwelkhlannamielkhsxngchud chudaerk elkhthrrm sngwniwsahrbphithikrrm xikchudkhuxelkhohrathiichinchiwitpracawn xarbik 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9elkhohra ᪀ ᪁ ᪂ ᪃ ᪄ ᪅ ᪆ ᪇ ᪈ ᪉elkhthrrm ᪐ ᪑ ᪒ ᪓ ᪔ ᪕ ᪖ ᪗ ᪘ ᪙wrrnyukt aekikhenuxngcaklannaidnaexarabbxkkhrwithikhxngmxymaichodyaethbcaimmikarprbepliynely aelaphasamxyexngkepnphasathiimmiwrrnyukt dngnninxditcungimpraktwamikarichekhruxnghmaywrrnyuktinkarekhiynxksrthrrmlannaely ekhymikarthkethiyngkneruxngchuxkhxnglannawacringaelwchux lanna hrux lanna knaen aetinthisudkidkhxsrupwa lanna cnkrathnginrayahlngemuxxiththiphlkhxngsyamaephekhaipinlannacungpraktkarichrupwrrnyuktinkarekhiynxksrthrrmlanna rup Unicode chux imeyaa imkhxcangthxdxksrchux imehyaa imkhxchangthxdxksrrup sthxksr maj jɔ ʔ maj xɔ ː t ɕaːŋ phasaithythinehnuxsamarthphnid 6 esiyng cringaelwmithnghmd 7 hrux 8 esiyng aetinaetlathxngthincaichephiyng 6 esiyngethann karphncaichkarcbkhuknrahwangxksrsungkbxksrtacungthaihtxngichwrrnyuktephiyng 2 rupethann khux exk kb oth ethiybphasaithyklang echn karthimirupwrrnyuktephiyng 2 rupnithaihekidpyhakbxksrklang khux imsamarthaethnesiyngidkhrbthng 6 esiyng dngnncungxacxnuolmihaetlarupsphthaethnkarxxkesiyngid 2 esiyngesiyngwrrnyuktsaeniyngechiyngihmmi 6 esiyng khux esiyngctwa esiyngexk esiyngothphiess esiyngsamy esiyngoth aelaesiyngtri 6 esiyngwrrnyukt twxyang karthxdrhsesiyng karxxkesiyng khwamhmayinphasaithyesiyngctwa kha ᨡ xǎː xaː khaesiyngexk kha ᨡ xaː xaː khaesiyngothphiess kha ᨡ xa ː xaː khaesiyngsamy Kha ᨤ xaː xaː hyakhaesiyngoth ih ᩁ hajː hajː iresiyngtri fa ᨼ faː faː fakaraesdngesiyngwrrnyukt aekikh karaesdngesiyngwrrnyuktkhxngkhaemuxngsaeniyngechiyngihm esiyngwrrnyukt khaepn srayaw khaepn srayaw imexk khaepn srayaw imoth khatay srasn khatay srayawxksrsung esiyngctwa esiyngexk esiyngothphiess esiyngctwa esiyngexkxksrklang esiyngsamy esiyngexk esiyngothphiess esiyngctwa esiyngexkxksrta esiyngsamy esiyngoth esiyngtri esiyngtri esiyngothxksrthrrmlannainkhxmphiwetxr aekikhxksrthrrmlannaidrbkarbrrculnginyuniokhdtngaetrun 5 2 dngnneracungsamarthichxksrthrrmlannainkhxmphiwetxridodythiimtxngxasychwngrhskhxngxksrxundngechnthiekhythakninxditxiktxip rabbptibtikarthirxngrbyuniokhdxksrthrrmlannaintxnni idaek Ubuntu 11 04 odyxasyfxntaebboxephnithp OpenType swnrabbptibtikar Windows nnyngimrxngrbyuniokhdxksrthrrmlanna xyangirktam thungaemwa Windows cayngimrxngrbyuniokhdxksrthrrmlannaaeteraksamarthichyuniokhdxksrthrrmlannainewbebrawesxridodyichewbebrawesxr Mozilla Firefox run 4 0 khunip xasyfxntaebboxephnithp nxkcakniaelwyngsamarthichyuniokhdxksrthrrmlannainopraekrmsanknganidodyichopraekrm OpenOffice run 3 2 khunip xasyfxntthimitarang Graphite iththrrm chuxtammatrthanyuniokhd Unicode org chart PDF 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E FU 1A2x ᨠ ᨡ ᨢ ᨣ ᨤ ᨥ ᨦ ᨧ ᨨ ᨩ ᨪ ᨫ ᨬ ᨭ ᨮ ᨯU 1A3x ᨰ ᨱ ᨲ ᨳ ᨴ ᨵ ᨶ ᨷ ᨸ ᨹ ᨺ ᨻ ᨼ ᨽ ᨾ ᨿU 1A4x ᩀ ᩁ ᩂ ᩃ ᩄ ᩅ ᩆ ᩇ ᩈ ᩉ ᩊ ᩋ ᩌ ᩍ ᩎ ᩏU 1A5x ᩐ ᩑ ᩒ ᩓ ᩔ U 1A6x U 1A7x U 1A8x ᪀ ᪁ ᪂ ᪃ ᪄ ᪅ ᪆ ᪇ ᪈ ᪉ U 1A9x ᪐ ᪑ ᪒ ᪓ ᪔ ᪕ ᪖ ᪗ ᪘ ᪙ U 1AAx ᪧ xangxing aekikh 1 0 1 1 Diringer David 1948 Alphabet a key to the history of mankind p 411 Hartmann John F 1986 The spread of South Indic scripts in Southeast Asia Crossroads An Interdisciplinary Journal of Southeast Asian Studies 3 1 6 20 JSTOR 40860228 Penth Hans 1986 On the History of Thai scripts PDF Cite journal requires journal help citr phumiskdi khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aelalksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati phimphkhrngthi 6 krungethph chnniym 2556 hna 139 Natnapang Burutphakdee October 2004 Khon Muang Neu Kap Phasa Muang Attitudes of Northern Thai Youth towards Kammuang and the Lanna Script PDF M A Thesis Presented at 4th National Symposium on Graduate Research Chiang Mai Thailand August 10 11 2004 Asst Prof Dr Kirk R Person adviser Chiang Mai Payap University P 7 digital image 30 ekb PDF cakaehlngedimemux 2013 06 09 subkhnemux June 8 2013 The reason why they called this language Kammuang is because they used this language in the towns where they lived together which were surrounded by mountainous areas where there were many hill tribe people Unknown parameter trans title ignored help Gedney William J and Thomas J Hudak William J Gedney s Tai Dialect Studies Glossaries Texts and Translations Ann Arbor MI Center for South and Southeast Asian Studies The University of Michigan 1997 Print xanephim aekikhKhamjan Mala mala khacnthr Kham Mueang Dictionary phcnanukrmkhaemuxng Chiang Mai bookworm 2008 ISBN 978 974 8418 55 1 Lanna script Complete information from traditional sources Sky Knowledge subkhnemux 2018 07 15 Owen R Wyn 2017 A description and linguistic analysis of the Tai Khuen writing system Journal of the Southeast Asian Linguistics Society 10 1 140 164 Trager Ed 2014 Hariphunchai Tai Tham Font Project Wordingham Richard Lamphun glyphs A page with specimen of the font Lamphun Retrieved 15 May 2019 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb xksrthrrmlannaISO IEC 10646 2003 Amd 5 2008 Universal Multiple Octet Coded Character Set UCS Amendment 5 AMENDMENT 5 Tai Tham Tai Viet Avestan Egyptian Hieroglyphs CJK Unified Ideographs Extension C and other characters rupaelakarxxkesiyngkhxngxksrlanna xngkvs sanksngesrimsilpwthnthrrm mhawithyalyechiyngihm Download Font Lanna ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xksrthrrmlanna amp oldid 9942273, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม