fbpx
วิกิพีเดีย

แบริออน

แบริออน (อังกฤษ: Baryon) เป็นตระกูลหนึ่งของอนุภาคย่อยของอะตอมแบบผสมที่เกิดจากควาร์ก 3 ตัว (ซึ่งแตกต่างจาก มีซอน ซึ่งประกอบด้วยควาร์ก 1 ตัวและปฏิควาร์ก 1 ตัว) พวกแบริออนและมีซอนต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอนุภาคที่เรียกว่า แฮดรอน ซึ่งเป็นตระกูลอนุภาคที่เกิดจากควาร์ก คำว่า แบริออน มาจากภาษากรีกโบราณว่า βαρύς (แบรีส) มีความหมายว่า "หนัก" เนื่องจากเมื่อครั้งที่ตั้งชื่อนี้นั้น พวกอนุภาคมูลฐานที่รู้จักกันแล้วส่วนใหญ่มีมวลน้อยกว่าพวกแบริออน

เนื่องจากแบริออนประกอบด้วยควาร์ก มันจึงประสพกับอันตรกิริยาอย่างเข้ม ในขณะที่พวกเลปตอน ซึ่งไม่มีส่วนประกอบของควาร์ก ไม่ต้องประสพ พวกแบริออนที่คุ้นเคยมากที่สุดคือ โปรตอน และ นิวตรอน ซึ่งประกอบขึ้นเป็นมวลส่วนใหญ่ของสสารที่มองเห็นได้ในจักรวาล ขณะที่อิเล็กตรอน (ส่วนประกอบหลักอีกอย่างหนึ่งของอะตอม) เป็นเลปตอน

แบริออนแต่ละตัวจะมีคู่ปฏิยานุภาคที่เรียกว่า ปฏิแบริออน ซึ่งควาร์กจะถูกแทนที่ด้วยคู่ตรงข้ามของมันคือ ปฏิควาร์ก ตัวอย่างเช่น โปรตอนประกอบด้วย 2 อัพควาร์ก และ 1 ดาวน์ควาร์ก คู่ปฏิยานุภาคของมันคือ ปฏิโปรตอน ประกอบด้วย 2 อัพปฏิควาร์ก และ 1 ดาวน์ปฏิควาร์ก

จนถึงเร็ว ๆ นี้ ยังคิดกันว่ามีการทดลองบางอย่างที่สามารถแสดงถึงการมีอยู่ของ เพนตาควาร์ก หรือแบริออนประหลาดที่ประกอบด้วยควาร์ก 4 ตัวกับแอนติควาร์ก 1 ตัว ชุมชนนักฟิสิกส์อนุภาคทั้งหมดไม่เคยมองการมีอยู่ของอนุภาคในลักษณะนี้มาก่อนจนกระทั่ง ค.ศ. 2006 แต่ในปี ค.ศ. 2008 มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือซึ่งล้มล้างความเชื่อเรื่องการมีอยู่ของเพนตาควาร์ก

สสารของแบริออน

สสารแบริออน คือสสารที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแบริออน (โดยมวล) ซึ่งรวมถึงอะตอมทุกชนิด (นั่นหมายรวมถึงสสารเกือบทั้งหมดที่เราเคยพบหรือเคยรู้จักในชีวิตประจำวัน รวมถึงร่างกายของเราด้วย) ส่วนสสารแบบนอน-แบริออน ก็คือสสารใด ๆ ที่ไม่ได้มีองค์ประกอบพื้นฐานเป็นแบริออน ซึ่งอาจรวมถึงสสารธรรมดาเช่น นิวตริโน หรืออิเล็กตรอนอิสระ และอาจนับรวมถึงสสารมืดแบบนอน-แบริออนที่แปลกประหลาดบางชนิด เช่น อนุภาค supersymmetric, แอ็กเซียน (axion) หรือ หลุมดำ การแยกแยะระหว่างสสารแบริออนกับสสารนอน-แบริออนมีความสำคัญมากในการศึกษาจักรวาลวิทยา เพราะแบบจำลองบิกแบงนิวคลีโอซินทีสิสได้วางเงื่อนไขอันแน่นหนาเอาไว้เกี่ยวกับปริมาณสสารแบริออนที่ปรากฏขึ้นในเอกภพยุคแรก ๆ

จำนวนแบริออนที่มีอยู่ ก็เป็นประเด็นสำคัญอย่างยิ่งในทางจักรวาลวิทยา เพราะเรากำหนดสมมุติฐานว่า บิกแบงได้สร้างสภาวะที่มีแบริออนกับแอนติแบริออนในจำนวนเท่า ๆ กัน กระบวนการที่ทำให้แบริออนมีจำนวนมากกว่าแอนติแบริออน เรียกว่า แบริโอเจเนซิส

อ้างอิง

  1. H. Muir (2003)
  2. K. Carter (2003)
  3. W.-M. Yao et al. (2006) : Particle listings – Θ+
  4. C. Amsler et al. (2008) : Pentaquarks
  • C. Amsler et al. (Particle Data Group) (2008). "Review of Particle Physics". Physics Letters B]. 667 (1): 1–1340.
  • H. Garcilazo, J. Vijande, and A. Valcarce (2007). "Faddeev study of heavy-baryon spectroscopy". Journal of Physics G. 34 (5): 961–976. doi:10.1088/0954-3899/34/5/014.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  • K. Carter (2006). "The rise and fall of the pentaquark". Fermilab and SLAC. สืบค้นเมื่อ 2008-05-27.
  • W.-M. Yao et al. (Particle Data Group) (2006). "Review of Particle Physics". Journal of Physics G. 33: 1–1232. doi:10.1088/0954-3899/33/1/001.
  • D.M. Manley (2005). "Status of baryon spectroscopy". Journal of Physics: Conference Series. 5: 230–237. doi:10.1088/1742-6596/9/1/043.
  • H. Muir (2003). "Pentaquark discovery confounds sceptics". New Scientist. สืบค้นเมื่อ 2008-05-27.
  • S.S.M. Wong (1998a). "Chapter 2—Nucleon Structure". Introductory Nuclear Physics (2nd ed.). New York (NY): John Wiley & Sons]. pp. 21–56. ISBN 0-471-23973-9.
  • S.S.M. Wong (1998b). "Chapter 3—The Deuteron". Introductory Nuclear Physics (2nd ed.). New York (NY): John Wiley & Sons. pp. 57–104. ISBN 0-471-23973-9.
  • R. Shankar (1994). Principles of Quantum Mechanics (2nd ed.). New York (NY): Plenum Press. ISBN 0-306-44790-8.
  • E. Wigner (1937). "On the Consequences of the Symmetry of the Nuclear Hamiltonian on the Spectroscopy of Nuclei". Physical Review. 51 (2): 106–119. doi:10.1103/PhysRev.51.106.
  • M. Gell-Mann (1964). "A Schematic of Baryons and Mesons". Physics Letters. 8 (3): 214–215. doi:10.1016/S0031-9163 (64) 92001-3 Check |doi= value (help).
  • W. Heisenberg (1932). "Über den Bau der Atomkerne I". Zeitschrift für Physik. 77: 1–11. doi:10.1007/BF01342433. (เยอรมัน)
  • W. Heisenberg (1932). "Über den Bau der Atomkerne II". Zeitschrift für Physik. 78: 156–164. doi:10.1007/BF01337585. (เยอรมัน)
  • W. Heisenberg (1932). "Über den Bau der Atomkerne III". Zeitschrift für Physik. 80: 587–596. doi:10.1007/BF01335696. (เยอรมัน)

แบร, ออน, งกฤษ, baryon, เป, นตระก, ลหน, งของอน, ภาคย, อยของอะตอมแบบผสมท, เก, ดจากควาร, งแตกต, างจาก, ซอน, งประกอบด, วยควาร, วและปฏ, ควาร, พวกและม, ซอนต, างก, เป, นส, วนหน, งของตระก, ลอน, ภาคท, เร, ยกว, แฮดรอน, งเป, นตระก, ลอน, ภาคท, เก, ดจากควาร, คำว, มาจากภาษ. aebrixxn xngkvs Baryon epntrakulhnungkhxngxnuphakhyxykhxngxatxmaebbphsmthiekidcakkhwark 3 tw sungaetktangcak misxn sungprakxbdwykhwark 1 twaelaptikhwark 1 tw phwkaebrixxnaelamisxntangkepnswnhnungkhxngtrakulxnuphakhthieriykwa aehdrxn sungepntrakulxnuphakhthiekidcakkhwark khawa aebrixxn macakphasakrikobranwa barys aebris mikhwamhmaywa hnk enuxngcakemuxkhrngthitngchuxninn phwkxnuphakhmulthanthiruckknaelwswnihymimwlnxykwaphwkaebrixxnenuxngcakaebrixxnprakxbdwykhwark mncungprasphkbxntrkiriyaxyangekhm inkhnathiphwkelptxn sungimmiswnprakxbkhxngkhwark imtxngprasph phwkaebrixxnthikhunekhymakthisudkhux oprtxn aela niwtrxn sungprakxbkhunepnmwlswnihykhxngssarthimxngehnidinckrwal khnathixielktrxn swnprakxbhlkxikxyanghnungkhxngxatxm epnelptxnaebrixxnaetlatwcamikhuptiyanuphakhthieriykwa ptiaebrixxn sungkhwarkcathukaethnthidwykhutrngkhamkhxngmnkhux ptikhwark twxyangechn oprtxnprakxbdwy 2 xphkhwark aela 1 dawnkhwark khuptiyanuphakhkhxngmnkhux ptioprtxn prakxbdwy 2 xphptikhwark aela 1 dawnptikhwarkcnthungerw ni yngkhidknwamikarthdlxngbangxyangthisamarthaesdngthungkarmixyukhxng ephntakhwark hruxaebrixxnprahladthiprakxbdwykhwark 4 twkbaexntikhwark 1 tw 1 2 chumchnnkfisiksxnuphakhthnghmdimekhymxngkarmixyukhxngxnuphakhinlksnanimakxncnkrathng kh s 2006 3 aetinpi kh s 2008 mihlkthanthinaechuxthuxsunglmlangkhwamechuxeruxngkarmixyukhxngephntakhwark 4 ssarkhxngaebrixxn aekikhssaraebrixxn khuxssarthimixngkhprakxbswnihyepnaebrixxn odymwl sungrwmthungxatxmthukchnid nnhmayrwmthungssarekuxbthnghmdthieraekhyphbhruxekhyruckinchiwitpracawn rwmthungrangkaykhxngeradwy swnssaraebbnxn aebrixxn kkhuxssarid thiimidmixngkhprakxbphunthanepnaebrixxn sungxacrwmthungssarthrrmdaechn niwtrion hruxxielktrxnxisra aelaxacnbrwmthungssarmudaebbnxn aebrixxnthiaeplkprahladbangchnid echn xnuphakh supersymmetric aexkesiyn axion hrux hlumda karaeykaeyarahwangssaraebrixxnkbssarnxn aebrixxnmikhwamsakhymakinkarsuksackrwalwithya ephraaaebbcalxngbikaebngniwkhlioxsinthisisidwangenguxnikhxnaennhnaexaiwekiywkbprimanssaraebrixxnthipraktkhuninexkphphyukhaerk canwnaebrixxnthimixyu kepnpraednsakhyxyangyinginthangckrwalwithya ephraaerakahndsmmutithanwa bikaebngidsrangsphawathimiaebrixxnkbaexntiaebrixxnincanwnetha kn krabwnkarthithaihaebrixxnmicanwnmakkwaaexntiaebrixxn eriykwa aebrioxecensisxangxing aekikh H Muir 2003 K Carter 2003 W M Yao et al 2006 Particle listings 8 C Amsler et al 2008 Pentaquarks C Amsler et al Particle Data Group 2008 Review of Particle Physics Physics Letters B 667 1 1 1340 H Garcilazo J Vijande and A Valcarce 2007 Faddeev study of heavy baryon spectroscopy Journal of Physics G 34 5 961 976 doi 10 1088 0954 3899 34 5 014 CS1 maint multiple names authors list link K Carter 2006 The rise and fall of the pentaquark Fermilab and SLAC subkhnemux 2008 05 27 W M Yao et al Particle Data Group 2006 Review of Particle Physics Journal of Physics G 33 1 1232 doi 10 1088 0954 3899 33 1 001 D M Manley 2005 Status of baryon spectroscopy Journal of Physics Conference Series 5 230 237 doi 10 1088 1742 6596 9 1 043 H Muir 2003 Pentaquark discovery confounds sceptics New Scientist subkhnemux 2008 05 27 S S M Wong 1998a Chapter 2 Nucleon Structure Introductory Nuclear Physics 2nd ed New York NY John Wiley amp Sons pp 21 56 ISBN 0 471 23973 9 S S M Wong 1998b Chapter 3 The Deuteron Introductory Nuclear Physics 2nd ed New York NY John Wiley amp Sons pp 57 104 ISBN 0 471 23973 9 R Shankar 1994 Principles of Quantum Mechanics 2nd ed New York NY Plenum Press ISBN 0 306 44790 8 E Wigner 1937 On the Consequences of the Symmetry of the Nuclear Hamiltonian on the Spectroscopy of Nuclei Physical Review 51 2 106 119 doi 10 1103 PhysRev 51 106 M Gell Mann 1964 A Schematic of Baryons and Mesons Physics Letters 8 3 214 215 doi 10 1016 S0031 9163 64 92001 3 Check doi value help W Heisenberg 1932 Uber den Bau der Atomkerne I Zeitschrift fur Physik 77 1 11 doi 10 1007 BF01342433 eyxrmn W Heisenberg 1932 Uber den Bau der Atomkerne II Zeitschrift fur Physik 78 156 164 doi 10 1007 BF01337585 eyxrmn W Heisenberg 1932 Uber den Bau der Atomkerne III Zeitschrift fur Physik 80 587 596 doi 10 1007 BF01335696 eyxrmn bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title aebrixxn amp oldid 7293117, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม