fbpx
วิกิพีเดีย

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (อังกฤษ: Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อประเทศว่า สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศในปี พ.ศ. 2546 ในชื่อ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย (พ.ศ. 2535–2546)
สหภาพรัฐแห่งเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (พ.ศ. 2546–2549)

อักษรซีริลลิก: Србија и Црна Гора
อักษรโรมัน: Srbija i Crna Gora
เซรอะบียา อี เซรอะนา กอรา
2535–2549
ตราแผ่นดิน
เพลงชาติเฮ สลาฟ
("Hey, Slavs") เรา ชาวสลาฟ

เมืองหลวงเบลเกรด
ภาษาทั่วไปภาษาเซอร์เบีย
การปกครองสหพันธ์สาธารณรัฐ
(1992-2003)
  • ระบบพรรคเด่น
    (1993-2000)
    สมาพันธ์สาธารณรัฐ
    (2003–2006)
ประธานาธิบดี 
• 1992-1993
โดรบิชา โชชิช
• 1993-1997
Zoran Lilić
• 1997-2000
สโลโบดัน มิโลเชวิช
• 2000-2003
วอยิสลาฟ กอชตูนิชา
• 2003-2006
สเวทอซาร์ มารอวิช
ยุคประวัติศาสตร์หลังสงครามเย็น
• ก่อตั้ง
27 เมษายน 2535
• ก่อตั้ง
28 เมษายน 2535
1 พฤศจิกายน 2543
• สหภาพรัฐ
4 กุมภาพันธ์ 2535
• สลายตัว
5 มิถุนายน 2549
พื้นที่
พ.ศ. 2549102,350 ตารางกิโลเมตร (39,520 ตารางไมล์)
ประชากร
• พ.ศ. 2549
10832545
สกุลเงินดีนาร์เซอร์เบียและยูโร

เซอร์เบียและมอนเตเนโกรมีความร่วมมือกันเฉพาะบางด้านในการเมือง (เช่น ผ่านสหพันธ์การป้องกันประเทศ) ทั้ง 2 รัฐมีนโยบายเศรษฐกิจและหน่วยเงินของตนเอง และประเทศไม่มีเมืองหลวงรวมอีกต่อไป โดยที่แบ่งแยกสถาบันที่ใช้ร่วมกันระหว่างเมืองเบลเกรดในเซอร์เบียและเมืองพอดกอรีตซาในมอนเตเนโกร ทั้งสองรัฐแยกออกจากกันหลังจากมอนเตเนโกรจัดให้มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้เกิดประเทศใหม่คือประเทศมอนเตเนโกร ส่วนประเทศเซอร์เบียก็กลายเป็นผู้สืบสิทธิ์ต่าง ๆ ของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ภูมิศาสตร์

ประวัติศาสตร์

ศตวรรษที่ 19

  • ก่อนปี ค.ศ. 1903 - ชนชาติต่าง ๆ ที่จะรวมเป็นยูโกสลาเวียได้มีการรวมตัวเป็นอาณาจักรปกครองตนเองโดยมีเชื้อชาติต่าง ๆ ดังนี้
    • สโลวีเนีย - ชาวสโลวีนตั้งถิ่นฐานเมื่อศตวรรษที่ 6 และได้ยึดถือศาสนาคริสต์ในช่วงศตวรรษที่ 8 โดยพยายามที่จะกำหนดและป้องกันวัฒนธรรมของตนเอง 100 ปีต่อมา ชาวสโลวีนตกอยู่ภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรแฟรงกิสเยอรมันและชาวเยอรมันก็ได้เดินทางมาตั้งรกรากร่วมกับชาวสโลวีน และต่อมาเจ้าแห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์กก็เข้ายึดสโลวีเนีย
    • โครเอเชีย - ชาวโครแอตแห่งโครเอเชียและสโลวีเนียปกครองตนเองระยะหนึ่ง แต่ในที่สุดก็ตกอยู่ภายใต้การปกครองของฮังการีและออสเตรีย ชาวโครแอตแห่งดัลเมเชียอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิฮังการี สาธารณรัฐเวนิส จักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิออสเตรีย ตามลำดับ
    • เซอร์เบีย - อาณาจักรเซอร์เบียมีความรุ่งเรืองเกือบเที่ยบเท่ากับจักรวรรดิไบแซนไทน์ระยะหนึ่งในยุคกลาง แต่ก็ตกไปอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมานกว่า 500 ปี ก่อนที่จะได้รับเอกราชในศตวรรษที่ 19
    • มอนเตเนโกร - ชาวมอนเตเนโกรอยู่ภายใต้การปกครองของนักบวชเป็นศตวรรษ ๆ และปกป้องประเทศภูเขาของตนให้ปราศจากผู้รุกรานได้อย่างดี
    • บอสเนีย - บอสเนียเปลี่ยนศาสนาเป็นอิสลามภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน และได้ถูกจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีกลืนกินในช่วงต่อมา
    • มาซิโดเนีย - ชาวมาซิโดเนียประกอบด้วยชนกลุ่มน้อยจากหลายเผ่าพันธุ์ อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

  • ค.ศ. 1921 ถึง ค.ศ. 1928 - ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียปกครองโดยสมาชิกรัฐสภา (Parliamentarian kingdom)
  • ค.ศ. 1929 ถึง ค.ศ. 1941 - ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียปกครองด้วยอำนาจเผด็จการโดยพระมหากษัตริย์ (Authoritarian kingdom)
  • ค.ศ. 1931 - สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 ยุติการปกครองประเทศแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และเริ่มการปกครองแบบรัฐธรรมนูญที่มีระบอบประชาธิปไตยแบบจำกัด และวิกฤติเศรษฐกิจโลกส่งผลกระทบต่อยูโกสลาเวีย
  • 26 สิงหาคม ค.ศ. 1939 - คณะผู้สำเร็จราชการฯ ลงนามในความตกลงให้โครเอเชียมีสิทธิปกครองตนเอง โดยยูโกสลาเวียยังคงดูแลด้านการทหาร การต่างประเทศ การค้า และการคมนาคมให้กับโครเอเซีย

สงครามโลกครั้งที่สอง

  • 6 เมษายน ค.ศ. 1941 - กองทัพอากาศนาซี (The Luftwaffe) ทิ้งระเบิดที่กรุงเบลเกรด และ เข้าควบคุมกองทัพ สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พร้อมด้วยรัฐบาลลี้ภัยออกนอกประเทศ

สงครามเย็น

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยยูโกสลาเวีย และ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
  • 14 มกราคม ค.ศ. 1953 - จอมพลตีโตก้าวขึ้นเป็นประธานาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย
  • ค.ศ. 1963 - เปลี่ยนชื่อประเทศเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
  • 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1974 - ยูโกสลาเวียออกพระราชบัญญัติระบุให้จอมพลตีโตเป็นประธานาธิบดีตลอดกาลแห่งยูโกสลาเวีย
  • 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 - จอมพลตีโตถึงแก่อสัญกรรม ความแตกแยกระหว่างรัฐต่างๆ ที่ประกอบเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียเริ่มปรากฏ

การล่มสลายของยูโกสลาเวีย

 
เขตแดนของสาธารณรัฐต่างๆของยูโกสลาเวียที่แยกตัวออกเป็นประเทศเอกราช ในระหว่าง และ ภายหลังสงคราม.
ดูบทความหลักที่: สงครามยูโกสลาเวีย
  • 6 เมษายน ค.ศ. 1991 - เกิดสงครามระหว่างรัฐบาลบอสเนียกับชาวพื้นเมืองเชื้อสายเซิร์บเนื่องจากพยายามแยกตัวเป็นอิสระ
  • 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 นายมิโลเชวิชได้ร่วมกับประธานาธิบดีโครเอเชียและบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา ลงนามในข้อตกลงสันติภาพ ภายหลังจากการโจมตีทางอากาศของนาโต
  • 6 ตุลาคม ค.ศ. 2000 - นายมิโลเชวิชพ่ายแพ้การเลือกตั้งต่อนายวอยีสลาฟ คอชตูนีตซา
  • 7 ตุลาคม ค.ศ. 2000 - นายวอยีสลาฟ คอชตูนีตซา สาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดี
  • 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2002 - เปลี่ยนชื่อประเทศจากสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียเป็นเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
  • 21 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 - ประชาชนมอนเตเนโกรได้ลงประชามติให้มอนเตเนโกรเป็นอิสระจากเซอร์เบีย
  • 5 มิถุนายน ค.ศ. 2006 - เซอร์เบียได้ประกาศการแยกตัวอย่างเป็นทางการระหว่างเซอร์เบียและมอนเตเนโกร โดยเซอร์เบียจะเป็นผู้สืบสิทธิ์ของยูโกสลาเวีย

วิกฤตการณ์ยูโกสลาเวีย

ดูบทความหลักที่: วิกฤตการณ์ยูโกสลาเวีย

ความแตกแยกของยูโกสลาเวียในปัจจุบันมีที่มาเป็นปัจจัยพื้นฐานหลายประการ ที่สำคัญประการหนึ่งคือปัจจัยทางประวัติศาสตร์ ซึ่งสั่งสมมานานกว่าพันปีจากการที่สาธารณรัฐต่าง ๆ ซึ่งมาร่วมกันเป็นสหพันธ์ฯ มีเชื้อชาติ ศาสนา ความเป็นมาทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์แตกต่างกัน ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติจึงเป็นปัญหาที่คุกรุ่นมาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างชาวโครแอต ชาวเซิร์บ และชาวมุสลิม ในอดีตสโลวีเนียและโครเอเชียเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมันและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี แห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์ก (Hapsburg Empire) มาเป็นเวลาหลายศตวรรษ จึงมีความเกี่ยวพันทางสังคม วัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และจิตใจกับยุโรปตะวันตก ในขณะที่รัฐทั้งหลายทางตอนใต้ คือ เซอร์เบีย มอนเตเนโกร บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และมาซิโดเนีย เคยอยู่ภายใต้อำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine) และจักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman) มานับพันปี จึงได้รับการหล่อหลอมวัฒนธรรมแบบบอลข่าน คือ แบบมุสลิมหรือคริสเตียนตะวันออก (Orthodox) ถึงแม้ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงด้วยการล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และมีการก่อตั้ง "ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน" (Kingdom of Serbs, Croates and Slovenes) เป็นประเทศเอกราช โดยมีกษัตริย์ปกครอง แต่เสถียรภาพทางการเมืองภายในยังคงคลอนแคลน เพราะรัฐต่าง ๆ ซึ่งมีความแตกต่างด้านเชื้อชาติและศาสนา ยังคงมีความขัดแย้งกันลึก ๆ ในปี 1929 กษัตริย์อาเลกซานดาร์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย" (Kingdom of Yugoslavia) และปกครองประเทศด้วยนโยบายเด็ดขาดโดยความร่วมมือของทหารตลอดมา จนได้รับขนานนามว่าเป็น “Royal Dictatorship” เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง ประธานาธิบดียอซีป ตีโต สามารถยึดเหนี่ยวรัฐต่าง ๆ ของยูโกสลาเวียให้รวมกันอยู่ต่อไป ทั้งนี้ โดยใช้นโยบายอันเด็ดขาดกอปรกับอัจฉริยภาพของประธานาธิบดีตีโตเอง จนกระทั่งเมื่อประธานาธิบดีตีโตถึงแก่กรรมเมื่อปี 1980 ความแตกแยกระหว่างรัฐทั้งหลายที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐยูโกสลาเวียก็เริ่มปรากฏขึ้น และเมื่อนายสโลโบดัน มิโลเชวิช ผู้นำเชื้อสายเซิร์บ ซึ่งมีแนวคิดชาตินิยม ก้าวขึ้นสู่อำนาจในปี 1989 ความขัดแย้งภายในจึงได้ทวีความรุนแรงจนเกิดวิกฤตการณ์ยูโกสลาเวียเดิมประกอบด้วย 6 สาธารณรัฐ กล่าวคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย โครเอเชีย เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และมาซิโดเนีย รวมทั้งจังหวัดปกครองตนเองคอซอวอและวอยวอดีนา ซึ่งเป็นมณฑลปกครองตนเอง เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1991 สาธารณรัฐสโลวีเนียและโครเอเชียได้ประกาศแยกตัวเป็นเอกราช ไม่อยู่ภายใต้การปกครองของยูโกสลาเวียอีกต่อไป ภายหลังจากการออกเสียงประชามติทั่วประเทศในสาธารณรัฐทั้งสอง การประกาศเป็นเอกราชดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของวิกฤติการณ์ยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ขยายตัวเป็นสงครามกลางเมืองในเวลาต่อมา เมื่อสาธารณรัฐมาซิโดเนียและบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ได้ประกาศยกตัวออกเป็นรัฐเอกราชเช่นเดียวกัน เมื่อเดือนกันยายนและตุลาคม 1991 ตามลำดับ

สถานการณ์ในคอซอวอ

 
อนุสาวรีย์"ทำไม?" (Zašto?), เพื่อรำลึกถึงพนักงานของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติเซอร์เบีย (Radio Television of Serbia:RTS) ในระหว่างกองกำลังนาโตทิ้งระเบิดใส่อาคารสถานีโทรทัศน์เมื่อ ค.ศ. 1999.
ดูบทความหลักที่: สงครามคอซอวอ

คอซอวอเป็นจังหวัดปกครองตนเองแห่งหนึ่งทางภาคใต้ของสาธารณรัฐเซอร์เบีย ประกอบด้วยชาวแอลเบเนียร้อยละ 90 จากประชากรจำนวน 2 ล้านคน ในปี 1998 เคยเกิดการสู้รบอย่างรุนแรงระหว่างกองกำลังชาวคอซอวอเชื้อสายแอลเบเนียกับกองทัพของเซอร์เบียเมื่อเซอร์เบียประกาศยกเลิกสถานะการปกครองตนเองของคอซอวอ การสู้รบขยายตัวไปสู่การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวแอลเบเนียอย่างโหดเหี้ยม ส่งผลให้เกิดผู้ลี้ภัยชาวแอลเบเนียในประเทศเพื่อนบ้านจำนวนมาก

การสู้รบดังกล่าว ยุติลงเมื่อ NATO ใช้ปฏิบัติการทางทหารกับเซอร์เบีย ในปี 1999 ซึ่งต่อมา NATO ได้ส่งกองกำลังคอซอวอ (Kosovo Force, KFOR) เข้าไปปฏิบัติการรักษาสันติภาพในคอซอวอ และสหประชาชาติได้จัดตั้งองค์กรบริหารชั่วคราวขึ้นในคอซอวอ (UNMIK) อย่างไรก็ดี กล่าวได้ว่า สถานการณ์ในคอซอวอหลังปี 1999 ยังไม่สงบนัก เนื่องจากมีการปะทะกันระหว่างชาวคอซอวอเชื้อสายแอลเบเนียกับเชื้อสายเซิร์บอยู่เป็นประจำ ก่อให้เกิดความตึงเครียดเป็นระยะ ๆ

 
นาโตทิ้งระเบิดใส่นคร Novi Sad

การเจรจาระหว่างชาวคอซอวอเชื้อสายแอลเบเนียกับเชื้อสายเซิร์บ

เมื่อวันที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2006 ได้มีการเจรจาแบบเผชิญหน้าครั้งแรกระหว่างฝ่ายเซิร์บกับฝ่ายแอลเบเนียในคอซอวอที่กรุงเวียนนา เพื่อกำหนดสถานะในอนาคตของคอซอวอ โดยเป็นการเจรจาระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับกลางของทั้งสองฝ่าย และมีเจ้าหน้าที่ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเป็นผู้ประสานการเจรจา โดยเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2006 ได้มีการเจรจาระดับสูงระหว่างประธานาธิบดีเซอร์เบียและนายกรัฐมนตรีคอซอวอขึ้นเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 1999 แต่ไม่สามารถตกลงกันได้ในเรื่องสถานะทางการเมืองที่ถาวรของคอซอวอ ฝ่ายเซิร์บยืนกรานให้คอซอวอเป็นส่วนหนึ่งของเซอร์เบีย โดยยินยอมให้อิสระในระดับหนึ่ง ขณะที่ฝ่ายแอลเบเนียต้องการอิสรภาพ สำหรับการเจรจาในระดับเจ้าหน้าที่ครั้งล่าสุดมีขึ้นเมื่อวันที่ 7-8 สิงหาคม ที่ผ่านมายังไม่สามารถหาข้อยุติได้ โดยฝ่ายเซิร์บได้คว่ำบาตรการเจรจาในหัวข้อที่เกี่ยวกับอนาคตของคอซอวอ

การล่มสลายของสหภาพรัฐ

ดูบทความหลักที่: การลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราชมอนเตเนโก

มอนเตเนโกรลงประชามติแยกตัวออกจากประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2006 มอนเตเนโกรได้จัดการลงประชามติเพื่อแยกตัวออกจากประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร โดยมีผู้ลงคะแนนเสียงสนับสนุนให้รัฐมอนเตเนโกรแยกตัวออกจากประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ร้อยละ 55.4 ซึ่งเกินเกณฑ์ขั้นต่ำ (ร้อยละ 55) ที่สหภาพยุโรปกำหนดที่จะให้การรับรอง โดยมีจำนวนผู้ที่มาใช้สิทธิมากถึง ร้อยละ 86.3 จากจำนวนผู้มีสิทธิลงคะแนนทั้งหมด 485,000 คน ซึ่งผลการลงประชามติในครั้งนี้ จะทำให้มอนเตเนโกรกลายเป็นประเทศเกิดใหม่ล่าสุดของโลก และมีแนวโน้มที่มอนเตเนโกรจะได้รับโอกาสในการพัฒนาประเทศและเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้ในที่สุด อย่างไรก็ตาม เซอร์เบียจะเป็นรัฐสืบสิทธิเพียงผู้เดียว สำหรับมอนเตเนโกรนั้น เมื่อแยกตัวออกมาเป็นประเทศเอกราชจะต้องขอรับการรับรองจากนานาประเทศ และสมัครเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ และองค์การระหว่างประเทศอื่น ๆ อีกครั้งหนึ่ง

การเมืองการปกครอง

บริหาร

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
 
สเวทอซาร์ มารอวิช ประธานาธิบดีเซอร์เบียและมอนเตรเนโกร

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรปกครองแบบสาธารณรัฐ โดยประธานาธิบดีเป็นประมุขมาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล ได้รับเลือกตั้งจากสภาสำหรับจังหวัดปกครองตนเองคอซอวออยู่ภายใต้การบริหารของสหประชาชาติ

นิติบัญญัติ

ดูบทความหลักที่: รัฐสภาเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ตุลาการ

ดูบทความหลักที่: กฎหมายเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

การแบ่งเขตการปกครอง

เขตแดนของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ค.ศ. 1992-2006)
เขตแดนของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (มณฑลปกครองตนเอง)

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรประกอบด้วย 2 สาธารณรัฐ (republics) คือ

ภายในสาธารณรัฐเซอร์เบียมี 2 มณฑลปกครองตนเอง (autonomous provinces) คือ

  • จังหวัดปกครองตนเองวอยวอดีนา (เมืองหลวง-นอวีซาด)
  • จังหวัดปกครองตนเองคอซอวอและเมโตฮียา (เมืองหลวง-พรีชตีนา)
  • ส่วนของเซอร์เบียที่ไม่ได้อยู่ในเขตของ 2 มณฑลดังกล่าว (มักเรียกว่า เซนทรัลเซอร์เบีย) ไม่ได้เป็นจังหวัดและไม่มีสถานะพิเศษ รวมทั้งไม่มีเมืองหลวงและรัฐบาล

ในพื้นที่ดินแดนทั้ง 3 แห่งข้างต้น จะแบ่งออกเป็น เขต (districts) รวม 29 เขต และแต่ละเขตแบ่งย่อยลงไปอีกเป็น เทศบาล (municipalities)

ส่วนในสาธารณรัฐมอนเตเนโกรนั้นจะแบ่งออกเป็น 21 เทศบาล

กองทัพ

กำลังกึ่งทหาร

เศรษฐกิจ

กีฬา

ดูบทความหลักที่: เซอร์เบียและมอนเตเนโกรในโอลิมปิก และ เซอร์เบียและมอนเตเนโกรในพาราลิมปิก

ฟุตบอล

ดูบทความหลักที่: สมาคมฟุตบอลเซอร์เบียและมอนเตเนโกร, ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร และ ฟุตบอลหญิงทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

บาสเก็ตบอล

ดูบทความหลักที่: สมาคมบาสเก็ตบอลเซอร์เบียและมอนเตเนโกร, บาสเก็ตบอลทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร และ บาสเก็ตบอลหญิงทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

วอลเลย์บอล

ดูบทความหลักที่: สมาคมวอลเลย์บอลเซอร์เบียและมอนเตเนโกร, วอลเลย์บอลทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร และ วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

วัฒนธรรม

วันหยุด

ดูบทความหลักที่: รายชื่อวันสำคัญของเซอร์เบีย และ รายชื่อวันสำคัญของมอนเตเนโกร
Holidays
วัน ชื่อ หมายเหตุ
1 มกราคม วันปีใหม่ (วันหยุดราชการ)
7 มกราคม วันคริสต์มาส ตามนิกายออร์ทอดอกซ์ (วันหยุด)
27 มกราคม Saint Sava's feast Day — Day of Spirituality
27 เมษายน วันรัฐธรรมนูญ
29 เมษายน วันศุกร์ประเสริฐ (ตามนิกายออร์ทอดอกซ์) จนถึง ค.ศ. 2005
1 พฤษภาคม วันอีสเตอร์ ค.ศ. 2005
วันแรงงานสากล (วันหยุด)
2 พฤษภาคม Easter Monday (ตามนิกายออร์ทอดอกซ์) ค.ศ. 2005
9 พฤษภาคม วันแห่งชัยชนะ
28 มิถุนายน Vidovdan (Martyr's Day) วันรำลึกผู้เสียชีวิตจาก สงครามคอซอวอ
วันหยุดที่มีการเฉลิมฉลองในเซอร์เบีย
วันหยุดที่มีการเฉลิมฉลองในมอนเตเนโกร
  • 13 กรกฎาคม – Statehood Day (วันหยุด)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Country Profile: Serbia and Montenegro, BBC
  • Audio clips: Traditional music of Serbia and Montenegro. Musée d'Ethnographie de Genève. Retrieved 25 November 2010. (ฝรั่งเศส)

พิกัดภูมิศาสตร์: 44°49′N 20°28′E / 44.817°N 20.467°E / 44.817; 20.467

ประเทศเซอร, เบ, ยและมอนเตเนโกร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, เซอร,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir esxrebiyaelamxnetenokr xngkvs Serbia and Montenegro SCG epnchuxkhxngxditshphnthrthsungepnkarrwmxyanghlwm khxngesxrebiyaelamxnetenokr xditsatharnrthkhxngyuokslaewiy tngaet ph s 2546 cnthung ph s 2549 tngxyubnkhabsmuthrbxlkhantxntawntkklang sungaetedimmichuxpraethswa shphnthsatharnrthyuokslaewiy txmakidepliynchuxpraethsinpi ph s 2546 inchux shphaphrthesxrebiyaelamxnetenokrshphnthsatharnrthyuokslaewiy ph s 2535 2546 shphaphrthaehngesxrebiyaelamxnetenokr ph s 2546 2549 xksrsirillik Srbiјa i Crna Goraxksrormn Srbija i Crna Goraesrxabiya xi esrxana kxra2535 2549thngchati traaephndinephlngchati eh slaf Hey Slavs era chawslaf source source track track track track track track track track track track track track track track track track track track track track track track emuxnghlwngeblekrdphasathwipphasaesxrebiykarpkkhrxngshphnthsatharnrth 1992 2003 rabbphrrkhedn 1993 2000 smaphnthsatharnrth 2003 2006 prathanathibdi 1992 1993odrbicha ochchich 1993 1997Zoran Lilic 1997 2000solobdn miolechwich 2000 2003wxyislaf kxchtunicha 2003 2006sewthxsar marxwichyukhprawtisastrhlngsngkhrameyn kxtng27 emsayn 2535 kxtng28 emsayn 2535 smachikshprachachatib1 phvscikayn 2543 shphaphrth4 kumphaphnth 2535 slaytw5 mithunayn 2549phunthiph s 2549102 350 tarangkiolemtr 39 520 tarangiml prachakr ph s 254910832545skulengindinaresxrebiyaelayuorkxnhna thdipshphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiy esxrebiymxnetenokrkhxsxwxesxrebiyaelamxnetenokrmikhwamrwmmuxknechphaabangdaninkaremuxng echn phanshphnthkarpxngknpraeths thng 2 rthminoybayesrsthkicaelahnwyenginkhxngtnexng aelapraethsimmiemuxnghlwngrwmxiktxip odythiaebngaeyksthabnthiichrwmknrahwangemuxngeblekrdinesxrebiyaelaemuxngphxdkxritsainmxnetenokr thngsxngrthaeykxxkcakknhlngcakmxnetenokrcdihmikarlngprachamtiemuxwnthi 21 phvsphakhm ph s 2549 aelaprakasexkrachemuxwnthi 3 mithunayn piediywkn thaihekidpraethsihmkhuxpraethsmxnetenokr swnpraethsesxrebiykklayepnphusubsiththitang khxngpraethsesxrebiyaelamxnetenokr enuxha 1 phumisastr 2 prawtisastr 2 1 stwrrsthi 19 2 2 sngkhramolkkhrngthihnung 2 3 sngkhramolkkhrngthisxng 2 4 sngkhrameyn 2 5 karlmslaykhxngyuokslaewiy 2 6 wikvtkarnyuokslaewiy 2 7 sthankarninkhxsxwx 2 8 karecrcarahwangchawkhxsxwxechuxsayaexlebeniykbechuxsayesirb 2 9 karlmslaykhxngshphaphrth 3 karemuxngkarpkkhrxng 3 1 brihar 3 2 nitibyyti 3 3 tulakar 4 karaebngekhtkarpkkhrxng 5 kxngthph 5 1 kalngkungthhar 6 esrsthkic 7 kila 7 1 futbxl 7 2 basektbxl 7 3 wxlelybxl 8 wthnthrrm 8 1 wnhyud 9 duephim 10 xangxing 11 aehlngkhxmulxunphumisastr aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidprawtisastr aekikhstwrrsthi 19 aekikh kxnpi kh s 1903 chnchatitang thicarwmepnyuokslaewiyidmikarrwmtwepnxanackrpkkhrxngtnexngodymiechuxchatitang dngni solwieniy chawsolwintngthinthanemuxstwrrsthi 6 aelaidyudthuxsasnakhristinchwngstwrrsthi 8 odyphyayamthicakahndaelapxngknwthnthrrmkhxngtnexng 100 pitxma chawsolwintkxyuphayitkarpkkhrxngkhxngrachxanackraefrngkiseyxrmnaelachaweyxrmnkidedinthangmatngrkrakrwmkbchawsolwin aelatxmaecaaehngrachwngshbsburkkekhayudsolwieniy okhrexechiy chawokhraextaehngokhrexechiyaelasolwieniypkkhrxngtnexngrayahnung aetinthisudktkxyuphayitkarpkkhrxngkhxnghngkariaelaxxsetriy chawokhraextaehngdlemechiyxyuphayitkarpkkhrxngkhxngckrwrrdiibaesnithn ckrwrrdihngkari satharnrthewnis ckrwrrdifrngess aelackrwrrdixxsetriy tamladb esxrebiy xanackresxrebiymikhwamrungeruxngekuxbethiybethakbckrwrrdiibaesnithnrayahnunginyukhklang aetktkipxyuitkarpkkhrxngkhxngckrwrrdixxtotmankwa 500 pi kxnthicaidrbexkrachinstwrrsthi 19 mxnetenokr chawmxnetenokrxyuphayitkarpkkhrxngkhxngnkbwchepnstwrrs aelapkpxngpraethsphuekhakhxngtnihprascakphurukranidxyangdi bxseniy bxseniyepliynsasnaepnxislamphayitkarpkkhrxngkhxngckrwrrdixxtotmn aelaidthukckrwrrdixxsetriy hngkariklunkininchwngtxma masiodeniy chawmasiodeniyprakxbdwychnklumnxycakhlayephaphnthu xyuphayitkarpkkhrxngkhxngckrwrrdixxtotmnkh s 1903 ekidclaclinthitang inchwngthickrwrrdixxtotmnaelackrwrrdixxsetriy hngkarixxnaexlngpraethsthimikarepliynaeplngmakthisudidaeksolwieniy odymikarplngchiwitecaphukhrxngpraethscakrachskulhnungodyxikrachskulhnung aelaxyuinrahwangkarepliynaeplngkarpkkhrxngipinrachathipityphayitrththrrmnuysngkhramolkkhrngthihnung aekikh dubthkhwamhlkthi sngkhramolkkhrngthi 1 aela rachxanackryuokslaewiy thnwakhm kh s 1918 faythharesxrebiycdprachumkbchawesirbaelaokhraextthikrungeblekrd aelakxtngrachxanackraehngchawesirb okhraext aelasolwin txmaepliynchuxepnodymismedcphraecaxelksanedxrthi 1 epnkstriyxngkhaerkkhxngyuokslaewiykh s 1921 thung kh s 1928 rachxanackryuokslaewiypkkhrxngodysmachikrthspha Parliamentarian kingdom kh s 1929 thung kh s 1941 rachxanackryuokslaewiypkkhrxngdwyxanacephdckarodyphramhakstriy Authoritarian kingdom kh s 1931 smedcphraecaxelksanedxrthi 1 yutikarpkkhrxngpraethsaebbsmburnayasiththirachy aelaerimkarpkkhrxngaebbrththrrmnuythimirabxbprachathipityaebbcakd aelawikvtiesrsthkicolksngphlkrathbtxyuokslaewiytulakhm kh s 1934 smedcphraecaxelksanedxrthi 1 thukplngphrachnmodychawblaekeriythiemuxngmaresy frngess ecachaypafelaetngtngkhnasaercrachkaraethnmkudrachkumarpietxr26 singhakhm kh s 1939 khnaphusaercrachkar lngnaminkhwamtklngihokhrexechiymisiththipkkhrxngtnexng odyyuokslaewiyyngkhngduaeldankarthhar kartangpraeths karkha aelakarkhmnakhmihkbokhrexesiysngkhramolkkhrngthisxng aekikh dubthkhwamhlkthi sngkhramolkkhrngthi 2 aela rthphuphithksaehngesxrebiy kh s 1941 thung kh s 1945 ekidsngkhramolkkhrngthisxng erimemuxwnthi 1 knyayn kh s 1939 27 minakhm kh s 1941 faythharokhnlmkhnaphusaercrachkar aelasthapnaihmkudrachkumarpietxrepnkstriy sungkhnannmiphrachnmayu 16 phrrsa 6 emsayn kh s 1941 kxngthphxakasnasi The Luftwaffe thingraebidthikrungeblekrd aela ekhakhwbkhumkxngthph smedcphraecapietxrthi 2 aehngyuokslaewiy phrxmdwyrthballiphyxxknxkpraethssngkhrameyn aekikh dubthkhwamhlkthi rthbalechphaakalsatharnrthprachathipityyuokslaewiy aela shphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiy kh s 1944 faykhxmmiwnistyudyuokslaewiy naodycxmphlyxsip brxs hruxtiot7 minakhm kh s 1945 cxmphltiotkawkhunepnnaykrthmntri29 phvscikayn kh s 1945 lmlangrachathipityaelaepliynchuxpraethsepnshphnthsatharnrthprachachnyuokslaewiy14 mkrakhm kh s 1953 cxmphltiotkawkhunepnprathanathibdiaehngyuokslaewiykh s 1963 epliynchuxpraethsepnshphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiy16 phvsphakhm kh s 1974 yuokslaewiyxxkphrarachbyytirabuihcxmphltiotepnprathanathibditlxdkalaehngyuokslaewiy4 phvsphakhm kh s 1980 cxmphltiotthungaekxsykrrm khwamaetkaeykrahwangrthtang thiprakxbepnshphnthsatharnrthyuokslaewiyerimprakt9 thnwakhm kh s 1989 solobdn miolechwich idrbeluxktngepnprathanathibdikarlmslaykhxngyuokslaewiy aekikh ekhtaednkhxngsatharnrthtangkhxngyuokslaewiythiaeyktwxxkepnpraethsexkrach inrahwang aela phayhlngsngkhram dubthkhwamhlkthi sngkhramyuokslaewiy 6 emsayn kh s 1991 ekidsngkhramrahwangrthbalbxseniykbchawphunemuxngechuxsayesirbenuxngcakphyayamaeyktwepnxisra25 mithunayn kh s 1991 okhrexechiyaelasolwieniyprakasaeyktw21 phvscikayn kh s 1995 naymiolechwichidrwmkbprathanathibdiokhrexechiyaelabxseniy ehxresokwina lngnaminkhxtklngsntiphaph phayhlngcakkarocmtithangxakaskhxngnaot15 krkdakhm kh s 1997 naymiolechwichlngcaktaaehnngprathanathibdi24 knyayn kh s 1998 naotyunkhakhadihnaymiolechwichyutikarsurbkbchawkhxsxwxechuxsayaexlebeniy miechnnncathukocmtithangxakas6 tulakhm kh s 2000 naymiolechwichphayaephkareluxktngtxnaywxyislaf khxchtunitsa7 tulakhm kh s 2000 naywxyislaf khxchtunitsa sabantnekharbtaaehnngprathanathibdi4 kumphaphnth kh s 2002 epliynchuxpraethscakshphnthsatharnrthsngkhmniymyuokslaewiyepnesxrebiyaelamxnetenokr21 phvsphakhm kh s 2006 prachachnmxnetenokridlngprachamtiihmxnetenokrepnxisracakesxrebiy5 mithunayn kh s 2006 esxrebiyidprakaskaraeyktwxyangepnthangkarrahwangesxrebiyaelamxnetenokr odyesxrebiycaepnphusubsiththikhxngyuokslaewiywikvtkarnyuokslaewiy aekikh dubthkhwamhlkthi wikvtkarnyuokslaewiy khwamaetkaeykkhxngyuokslaewiyinpccubnmithimaepnpccyphunthanhlayprakar thisakhyprakarhnungkhuxpccythangprawtisastr sungsngsmmanankwaphnpicakkarthisatharnrthtang sungmarwmknepnshphnth miechuxchati sasna khwamepnmathangwthnthrrmaelaprawtisastraetktangkn khwamkhdaeyngrahwangechuxchaticungepnpyhathikhukrunmaodytlxd odyechphaaxyangyingrahwangchawokhraext chawesirb aelachawmuslim inxditsolwieniyaelaokhrexechiyekhyepnswnhnungkhxngxanackrormnaelackrwrrdixxsetriy hngkari aehngrachwngshbsburk Hapsburg Empire maepnewlahlaystwrrs cungmikhwamekiywphnthangsngkhm wthnthrrm phasa sasna aelacitickbyuorptawntk inkhnathirththnghlaythangtxnit khux esxrebiy mxnetenokr bxseniyaelaehxresokwina aelamasiodeniy ekhyxyuphayitxanackhxngckrwrrdiibaesnithn Byzantine aelackrwrrdixxtotmn Ottoman manbphnpi cungidrbkarhlxhlxmwthnthrrmaebbbxlkhan khux aebbmuslimhruxkhrisetiyntawnxxk Orthodox thungaemphayhlngsngkhramolkkhrngthi 1 sinsudlngdwykarlmslaykhxngckrwrrdixxsetriy hngkari aelamikarkxtng rachxanackraehngchawesirb okhraext aelasolwin Kingdom of Serbs Croates and Slovenes epnpraethsexkrach odymikstriypkkhrxng aetesthiyrphaphthangkaremuxngphayinyngkhngkhlxnaekhln ephraarthtang sungmikhwamaetktangdanechuxchatiaelasasna yngkhngmikhwamkhdaeyngknluk inpi 1929 kstriyxaelksandaridthrngepliynchuxpraethsepn rachxanackryuokslaewiy Kingdom of Yugoslavia aelapkkhrxngpraethsdwynoybayeddkhadodykhwamrwmmuxkhxngthhartlxdma cnidrbkhnannamwaepn Royal Dictatorship emuxsngkhramolkkhrngthi 2 idsinsudlng prathanathibdiyxsip tiot samarthyudehniywrthtang khxngyuokslaewiyihrwmknxyutxip thngni odyichnoybayxneddkhadkxprkbxcchriyphaphkhxngprathanathibditiotexng cnkrathngemuxprathanathibditiotthungaekkrrmemuxpi 1980 khwamaetkaeykrahwangrththnghlaythiprakxbkhunepnshphnthrthyuokslaewiykerimpraktkhun aelaemuxnaysolobdn miolechwich phunaechuxsayesirb sungmiaenwkhidchatiniym kawkhunsuxanacinpi 1989 khwamkhdaeyngphayincungidthwikhwamrunaerngcnekidwikvtkarnyuokslaewiyedimprakxbdwy 6 satharnrth klawkhux satharnrthsolwieniy okhrexechiy esxrebiy bxseniyaelaehxresokwina mxnetenokr aelamasiodeniy rwmthngcnghwdpkkhrxngtnexngkhxsxwxaelawxywxdina sungepnmnthlpkkhrxngtnexng emuxwnthi 25 mithunayn 1991 satharnrthsolwieniyaelaokhrexechiyidprakasaeyktwepnexkrach imxyuphayitkarpkkhrxngkhxngyuokslaewiyxiktxip phayhlngcakkarxxkesiyngprachamtithwpraethsinsatharnrththngsxng karprakasepnexkrachdngklaw thuxidwaepncuderimtnkhxngwikvtikarnyuokslaewiy sungidkhyaytwepnsngkhramklangemuxnginewlatxma emuxsatharnrthmasiodeniyaelabxseniyaelaehxresokwina idprakasyktwxxkepnrthexkrachechnediywkn emuxeduxnknyaynaelatulakhm 1991 tamladb sthankarninkhxsxwx aekikh xnusawriy thaim Zasto ephuxralukthungphnkngankhxngsthaniwithyuothrthsnaehngchatiesxrebiy Radio Television of Serbia RTS inrahwangkxngkalngnaotthingraebidisxakharsthaniothrthsnemux kh s 1999 dubthkhwamhlkthi sngkhramkhxsxwx khxsxwxepncnghwdpkkhrxngtnexngaehnghnungthangphakhitkhxngsatharnrthesxrebiy prakxbdwychawaexlebeniyrxyla 90 cakprachakrcanwn 2 lankhn inpi 1998 ekhyekidkarsurbxyangrunaerngrahwangkxngkalngchawkhxsxwxechuxsayaexlebeniykbkxngthphkhxngesxrebiyemuxesxrebiyprakasykeliksthanakarpkkhrxngtnexngkhxngkhxsxwx karsurbkhyaytwipsukarkhalangephaphnthuchawaexlebeniyxyangohdehiym sngphlihekidphuliphychawaexlebeniyinpraethsephuxnbancanwnmakkarsurbdngklaw yutilngemux NATO ichptibtikarthangthharkbesxrebiy inpi 1999 sungtxma NATO idsngkxngkalngkhxsxwx Kosovo Force KFOR ekhaipptibtikarrksasntiphaphinkhxsxwx aelashprachachatiidcdtngxngkhkrbriharchwkhrawkhuninkhxsxwx UNMIK xyangirkdi klawidwa sthankarninkhxsxwxhlngpi 1999 yngimsngbnk enuxngcakmikarpathaknrahwangchawkhxsxwxechuxsayaexlebeniykbechuxsayesirbxyuepnpraca kxihekidkhwamtungekhriydepnraya naotthingraebidisnkhr Novi Sad karecrcarahwangchawkhxsxwxechuxsayaexlebeniykbechuxsayesirb aekikh emuxwnthi 20 21 kumphaphnth 2006 idmikarecrcaaebbephchiyhnakhrngaerkrahwangfayesirbkbfayaexlebeniyinkhxsxwxthikrungewiynna ephuxkahndsthanainxnakhtkhxngkhxsxwx odyepnkarecrcarahwangecahnathiradbklangkhxngthngsxngfay aelamiecahnathisungaetngtngodykhnamntrikhwammnkhngaehngshprachachatiepnphuprasankarecrca odyemuxwnthi 24 krkdakhm 2006 idmikarecrcaradbsungrahwangprathanathibdiesxrebiyaelanaykrthmntrikhxsxwxkhunepnkhrngaerknbtngaetpi 1999 aetimsamarthtklngknidineruxngsthanathangkaremuxngthithawrkhxngkhxsxwx fayesirbyunkranihkhxsxwxepnswnhnungkhxngesxrebiy odyyinyxmihxisrainradbhnung khnathifayaexlebeniytxngkarxisrphaph sahrbkarecrcainradbecahnathikhrnglasudmikhunemuxwnthi 7 8 singhakhm thiphanmayngimsamarthhakhxyutiid odyfayesirbidkhwabatrkarecrcainhwkhxthiekiywkbxnakhtkhxngkhxsxwx karlmslaykhxngshphaphrth aekikh dubthkhwamhlkthi karlngprachamtiephuxaeyktwepnexkrachmxnetenok mxnetenokrlngprachamtiaeyktwxxkcakpraethsesxrebiyaelamxnetenokremuxwnthi 21 phvsphakhm 2006 mxnetenokridcdkarlngprachamtiephuxaeyktwxxkcakpraethsesxrebiyaelamxnetenokr odymiphulngkhaaennesiyngsnbsnunihrthmxnetenokraeyktwxxkcakpraethsesxrebiyaelamxnetenokr rxyla 55 4 sungekineknthkhnta rxyla 55 thishphaphyuorpkahndthicaihkarrbrxng odymicanwnphuthimaichsiththimakthung rxyla 86 3 cakcanwnphumisiththilngkhaaennthnghmd 485 000 khn sungphlkarlngprachamtiinkhrngni cathaihmxnetenokrklayepnpraethsekidihmlasudkhxngolk aelamiaenwonmthimxnetenokrcaidrboxkasinkarphthnapraethsaelaekhaepnsmachikshphaphyuorpidinthisud xyangirktam esxrebiycaepnrthsubsiththiephiyngphuediyw sahrbmxnetenokrnn emuxaeyktwxxkmaepnpraethsexkrachcatxngkhxrbkarrbrxngcaknanapraeths aelasmkhrekhaepnsmachikxngkhkarshprachachati aelaxngkhkarrahwangpraethsxun xikkhrnghnungkaremuxngkarpkkhrxng aekikhbrihar aekikh dubthkhwamhlkthi rthbalesxrebiyaelamxnetenokr sewthxsar marxwich prathanathibdiesxrebiyaelamxnetrenokr praethsesxrebiyaelamxnetenokrpkkhrxngaebbsatharnrth odyprathanathibdiepnpramukhmacakkareluxktngodytrng miwarakardarngtaaehnng 5 pi naykrthmntriepnhwhnarthbal idrbeluxktngcaksphasahrbcnghwdpkkhrxngtnexngkhxsxwxxyuphayitkarbriharkhxngshprachachati nitibyyti aekikh dubthkhwamhlkthi rthsphaesxrebiyaelamxnetenokr tulakar aekikh dubthkhwamhlkthi kdhmayesxrebiyaelamxnetenokrkaraebngekhtkarpkkhrxng aekikh ekhtaednkhxngesxrebiyaelamxnetenokr kh s 1992 2006 ekhtaednkhxngesxrebiyaelamxnetenokr mnthlpkkhrxngtnexng praethsesxrebiyaelamxnetenokrprakxbdwy 2 satharnrth republics khux satharnrthesxrebiy emuxnghlwng eblekrd satharnrthmxnetenokr emuxnghlwng phxdkxritsa phayinsatharnrthesxrebiymi 2 mnthlpkkhrxngtnexng autonomous provinces khux cnghwdpkkhrxngtnexngwxywxdina emuxnghlwng nxwisad cnghwdpkkhrxngtnexngkhxsxwxaelaemothiya emuxnghlwng phrichtina swnkhxngesxrebiythiimidxyuinekhtkhxng 2 mnthldngklaw mkeriykwa esnthrlesxrebiy imidepncnghwdaelaimmisthanaphiess rwmthngimmiemuxnghlwngaelarthbalinphunthidinaednthng 3 aehngkhangtn caaebngxxkepn ekht districts rwm 29 ekht aelaaetlaekhtaebngyxylngipxikepn ethsbal municipalities swninsatharnrthmxnetenokrnncaaebngxxkepn 21 ethsbalkxngthph aekikhdubthkhwamhlkthi kxngthphesxrebiyaelamxnetenokr swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkalngkungthhar aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidesrsthkic aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkila aekikhdubthkhwamhlkthi esxrebiyaelamxnetenokrinoxlimpik aela esxrebiyaelamxnetenokrinpharalimpik futbxl aekikh dubthkhwamhlkthi smakhmfutbxlesxrebiyaelamxnetenokr futbxlthimchatiesxrebiyaelamxnetenokr aela futbxlhyingthimchatiesxrebiyaelamxnetenokr swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidbasektbxl aekikh dubthkhwamhlkthi smakhmbasektbxlesxrebiyaelamxnetenokr basektbxlthimchatiesxrebiyaelamxnetenokr aela basektbxlhyingthimchatiesxrebiyaelamxnetenokr swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidwxlelybxl aekikh dubthkhwamhlkthi smakhmwxlelybxlesxrebiyaelamxnetenokr wxlelybxlthimchatiesxrebiyaelamxnetenokr aela wxlelybxlhyingthimchatiesxrebiyaelamxnetenokr swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidwthnthrrm aekikhwnhyud aekikh dubthkhwamhlkthi raychuxwnsakhykhxngesxrebiy aela raychuxwnsakhykhxngmxnetenokr Holidays wn chux hmayehtu1 mkrakhm wnpiihm wnhyudrachkar 7 mkrakhm wnkhristmas tamnikayxxrthxdxks wnhyud 27 mkrakhm Saint Sava s feast Day Day of Spirituality27 emsayn wnrththrrmnuy29 emsayn wnsukrpraesrith tamnikayxxrthxdxks cnthung kh s 20051 phvsphakhm wnxisetxr kh s 2005wnaerngngansakl wnhyud 2 phvsphakhm Easter Monday tamnikayxxrthxdxks kh s 20059 phvsphakhm wnaehngchychna28 mithunayn Vidovdan Martyr s Day wnralukphuesiychiwitcak sngkhramkhxsxwxwnhyudthimikarechlimchlxnginesxrebiy15 kumphaphnth Sretenje wnchati wnhyud wnhyudthimikarechlimchlxnginmxnetenokr13 krkdakhm Statehood Day wnhyud duephim aekikhxangxing aekikhaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb praethsesxrebiyaelamxnetenokrCountry Profile Serbia and Montenegro BBC Audio clips Traditional music of Serbia and Montenegro Musee d Ethnographie de Geneve Retrieved 25 November 2010 frngess phikdphumisastr 44 49 N 20 28 E 44 817 N 20 467 E 44 817 20 467ekhathungcak https th wikipedia org w index php title praethsesxrebiyaelamxnetenokr amp oldid 9404992, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม