fbpx
วิกิพีเดีย

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) หรือ พระปทุมวรราชสุริยวงษ ในจารึกพระเจ้าอินแปงออกนามว่า เจ้าพระปทุม ชาวเมืองอุบลราชธานีในสมัยโบราณนิยมออกนามว่า อาชญาหลวงเฒ่า ดำรงตำแหน่งเจ้าประเทศราชครองเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราชคนแรก (ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานีในภาคอีสานของประเทศไทย) นามเดิมว่า เจ้าคำผง เป็นโอรสในเจ้าพระตา (เจ้าพระวรราชปิตา) เจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลุ่มภู) กับพระนางบุศดี สมภพเมื่อ พ.ศ. 2252นครเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์อันเก่าแก่ อันเนื่องมาจากพระอัยยิกา (ย่า) ของพระองค์ซึ่งเป็นพระมเหสีของเจ้าปางคำ (ปู่) มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ จึงเป็นเหตุให้มีสร้อยราชทินนาม (รวมทั้งของเจ้าฝ่ายหน้า-ผู้อนุชา) มีคำว่า สุริยวงศ์ ต่อท้ายนาม

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์
พระปรมาภิไธยเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงษ์
พระอิสริยยศเจ้าประเทศราช
ราชวงศ์สุวรรณปางคำ
ครองราชย์พ.ศ. 2335
รัชกาล3 ปี
รัชกาลก่อนไม่ปรากฏ
รัชกาลถัดไปเจ้าพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าทิดพรหม)
ข้อมูลส่วนพระองค์
ประสูติพ.ศ. 2252
พิราลัยพ.ศ. 2338
พระบิดาเจ้าพระวรราชปิตา
พระมารดาพระนางบุศดี
พระมเหสีเจ้านางตุ่ย
หม่อมเจ้านางสีดา
พระบุตร10 องค์

อีกทั้งยังสืบเชื้อสายมาจากพระอัยกา (ปู่) คือ พระเจ้าสุวรรณปางคำ ทรงเป็นเจ้านายเชื้อสายไทลื้อแห่งราชวงศ์เชียงรุ่งแสนหวีฟ้า อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง และสืบเชื้อมาแต่สายราชวงศ์สุวรรณปางคำ ปฐมกษัตริย์ผู้สร้างนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (จังหวัดหนองบัวลำภูในปัจจุบัน)

อนึ่ง พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เป็นต้นสกุลพระราชทาน ณ อุบล แห่งจังหวัดอุบลราชธานี ในภาคอีสานของประเทศไทย

ประวัติ

ในปี พ.ศ. 2311 เจ้าพระตากับเจ้าพระวอ เกิดผิดพระทัยกันกับสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๓ หรือสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารแห่งนครเวียงจันทน์ จึงอพยพไพร่พลมาตั้งแข็งข้ออยู่เมืองหนองบัวลุ่มภูซึ่งพระบิดาของตนเคยปกครองมาก่อน อันมีสาเหตุมาจากความหวาดระแวงของเจ้าสิริบุญสาร เนื่องด้วยเมืองหนองบัวลุ่มภูเป็นเมืองใหญ่ มีไพร่พลมาก อีกทั้งเจ้าพระตายังเป็นเชื้อเครือญาติกับเจ้ากิงกิสราชพระเจ้าล้านช้างหลวงพระบาง(เชื้อสายเจ้าไทลื้อจากเมืองเชียงรุ้งเหมือนกัน) ล้านช้างหลวงพระบางและล้านช้างเวียงจันทน์ก็เป็นอริต่อกัน แม้ว่าเจ้าพระตาเจ้าพระวอจะได้เคยช่วยเหลือเจ้าสิริบุญสารด้วยการให้หลบราชภัยที่เมืองหนองบัวลุ่มภูนานนับสิบปี ช่วงที่เกิดการแย่งชิงราชบัลลังก์ในล้านช้างเวียงจันทน์ และได้นำทัพช่วยออกรบเพื่อชิงบัลลังก์ให้เจ้าสิริบุญสารจนได้นั่งเมืองมาแล้วก็ตาม ดังนั้นเมื่อเสร็จศึก เจ้าสิริบุญสารจึงยังไม่ให้ทัพเจ้าพระตาเจ้าพระวอกลับเมืองหนองบัวลุ่มภู แต่ได้ขอให้ไปช่วยรักษาการที่ด่านหินโงมแทน ต่อมาก็ได้ขอให้พระธิดาของเจ้าพระตาไปเป็นหม่อมห้ามของพระองค์เพื่อเป็นตัวประกัน โดยอ้างสัมพันธไมตรีอันดีระหว่างเจ้านายราชวงศ์เวียงจันทน์และเจ้านายราชวงศ์เชียงรุ้งซึ่งเคยมีมาแต่ครั้งพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช เจ้าพระตาและเจ้าพระวอไม่พอพระทัยจึงยกไพร่พลมาสร้างค่ายคูประตูหอรบที่เมืองหนองบัวลุ่มภูแล้วยกขึ้นเป็นเมืองเอกราชนามว่า นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน สถาปนาพระองค์เป็นกษัตริย์ไม่ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการถวายกรุงเวียงจันทน์ พร้อมทั้งส่งเจ้านายกรมการเมืองจำนวนมากออกไปตั้งเมืองใหม่ อาทิ เมืองผ้าขาว เมืองพันนา เมืองภูเขียว เมืองภูเวียง เป็นต้น ฝ่ายนครเวียงจันทน์ได้ยกทัพมาตีเมืองหนองบัวลุ่มภูซึ่งแต่เดิมเป็นเมืองขอบด่านขึ้นแก่นครเวียงจันทน์มาแต่โบราณ การต่อสู้นั้นใช้ระยะเวลายาวนานอยู่ถึง 3 ปี ฝ่ายเมืองหนองบัวลุ่มภูเห็นว่านานไปจะสู้ฝ่ายนครเวียงจันทน์ไม่ได้ จึงส่งทูตไปขอกองทัพจากพม่าที่นครเชียงใหม่มาช่วยรบ แต่กองทัพพม่าได้ยกมาสมทบกับกองทัพนครเวียงจันทน์ตีเมืองหนองบัวลุ่มภูแตก เป็นเหตุให้เจ้าพระตาสิ้นพระชนม์ในสนามรบ ฝ่ายเจ้าพระวอกับเจ้าคำผงและพวกจึงต้องทิ้งเมืองหนีไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จนได้ไปพึ่งพระราชบารมีในสมเด็จพระพุทธเจ้าองค์หลวงไชยกุมารแห่งนครจำปาศักดิ์ โดยตั้งค่ายอยู่บ้านดู่บ้านแก แขวงเมืองจำปาศักดิ์ ฝ่ายสมเด็จพระพุทธเจ้าองค์หลวงไชยกุมารทรงแบ่งรับแบ่งสู้ด้วยทรงเห็นว่าอาจเป็นการทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างนครเวียงจันทน์กับนครจำปาศักดิ์ร้าวฉานได้ แต่ก็ทรงพระเมตตาขอเอาเจ้านางตุ่ย พระธิดาในเจ้ามหาอุปฮาชธรรมเทโว อุปราชนครจำปาศักดิ์ ให้เป็นพระชายาของเจ้าคำผง และทรงแต่งตั้งให้เจ้าคำผงเป็นที่ พระปทุมสุรราช ผู้ช่วยเจ้าพระวอ นายกองนอก ต่อมาพระปทุมสุรรราช (เจ้าคำผง) จึงขออพยพไพร่พลมาอยู่ดอนมดแดง และสถาปนาเมืองขึ้นชั่วคราว คนทั่วไปเรียกว่า เมืองดอนมดแดง (ปัจจุบันคืออำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี)

ต่อมาเมื่อสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารทรงทราบว่า เจ้าพระวอกับพวกมาตั้งอยู่ที่ค่ายบ้านดู่บ้านแกแขวงเมืองนครจำปาศักดิ์ และเจ้าพระวอมีกำลังพลน้อยตั้งขัดแข็งอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุโพยกทัพมาตีค่ายบ้านดู่บ้านแกแตก โดยตั้งใจว่าจะให้นำตัวพระวอมาเข้าเฝ้าและยอมอ่อนน้อมต่อเวียงจันทน์ แต่สงครามกลับเป็นเหตุให้เจ้าพระวอสิ้นพระชนม์ในสนามรบ ฝ่ายพระปทุมสุรราช (เจ้าคำผง) เห็นว่าจะสู้กองทัพนครเวียงจันทน์ไม่ได้ จึงให้ท้าวก่ำพระอนุชา (ต่อมาได้เป็นเจ้าเมืองเขมราฐธานีในฐานะเจ้าประเทศราช) แอบนำพระราชสาส์นไปขอความช่วยเหลือจากเจ้าเมืองธนบุรี (สิน) เจ้าเมืองธนบุรี (สิน) จีงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพมาช่วย เมื่อทราบสาเหตุจากพระปทุมสุรราช (เจ้าคำผง) แล้ว สยามจึงยกทัพตามตีทัพพระยาสุโพไปจนถึงนครเวียงจันทน์ ได้รบกันอยู่นาน 4 เดือน นครเวียงจันทน์จึงแตกเมื่อ พ.ศ. 2322 ส่งผลให้หัวเมืองลาวและหัวเมืองของชาติพันธุ์ต่างๆ ในแถบสองฝั่งแม่น้ำโขงทั้งฝั่งอีสานและฝั่งลาวถูกเผาจนย่อยยับ สงครามครั้งนี้ส่งผลให้อาณาจักรล้านช้างทั้ง 3 แห่ง ตลอดจนราชธานีใหญ่ ๆ ในลาวและอีสานตกเป็นประเทศราชของสยามสืบมา จนกระทั่งสยามเสียดินแดนเหล่านี้ให้แก่ฝรั่งเศสในสมัยรัชกาลที่ 5

ในปี พ.ศ. 2319 เกิดน้ำท่วมใหญ่ที่ดอนมดแดง พระประทุมสุรราช (เจ้าคำผง) จึงพาไพร่พลอพยพหนีน้ำมาอยู่ที่ดอนริมห้วยแจระแม (อยู่เหนือตัวเมืองอุบลราชธานีปัจจุบันประมาณ 8 ก.ม.) เมื่อน้ำลดลงจึงย้ายไปอยู่ที่ดงอู่ผึ้งริมฝั่งแม่น้ำมูลเพื่อสร้างเมืองใหม่คนทั่วไปเรียกว่า เมืองอู่บน ฝ่ายสยามเห็นเป็นโอกาสเหมาะจึงบังคับขู่เข็ญให้พระปทุมสุรราช (เจ้าคำผง) เป็นเมืองขึ้นของธนบุรี เพื่อเป็นข้อแลกเปลี่ยนที่สยามเคยยกทัพมาช่วยเหลือ โดยที่ฝ่ายเจ้าพระปทุมสุรราช (คำผง) และพี่น้องของพระองค์เองก็หาได้พอพระทัยไม่ เมื่อสร้างเมืองแล้วเสร็จฝ่ายพระปทุมสุรราช (คำผง) จึงจำใจมีใบบอกลงไปกราบทูลเจ้าเมืองธนบุรี (สิน) ขอตั้งเป็นเมืองขึ้น เจ้าเมืองธนบุรี (สิน) จึงให้ตั้งเมืองตามที่ขอไปว่า เมืองอุบล เพื่อรำลึกถึงเมืองหนองบัวที่เจ้านายเมืองอุบลทั้งหลายได้จากมา แล้วทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระปทุมสุรรราชเป็น พระปทุมราชวงศา เจ้าเมืองอุบลองค์แรกเมื่อ พ.ศ. 2321

ต่อมาเมื่อพระประทุมราชวงศา (เจ้าคำผง) ร่วมมือกับเจ้าฝ่ายหน้าผู้อนุชา ซึ่งไปตั้งกองนอกเก็บส่วยอยู่ที่บ้านสิงห์โคกสิงห์ท่า (เมืองยโสธรหรือเมืองยศสุนทรในเวลาต่อมา) และถูกบังคับให้ช่วยเหลือกองทัพเมืองนครราชสีปราบปรามกบฏอ้ายเชียงแก้วได้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระประทุมราชวงศา เป็นที่ พระปทุมวรราชสุริยวงษ ทรงยกเมืองอุบลขึ้นเป็น อุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราช ยกฐานะเมืองอุบลราชธานีเป็นเมืองประเทศราช (ลาวเรียกว่า เมืองลาดหรือเมืองสุทุดสะราช) ให้ขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร เมื่อวันจันทร์ แรม 13 ค่ำ เดือน 8 จุลศักราช 1154 (พ.ศ. 2335) ส่วนเจ้าฝ่ายหน้า (ท้าวหน้า) พระอนุชาก็ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองนครจำปาศักดิ์ มีพระอิสริยยศเป็นที่ เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช เพื่อเป็นการแก้แค้นที่เจ้านครจำปาศักดิ์องค์เดิมไม่ยอมให้ความช่วยเหลือฝ่ายของตน เมื่อครั้งทัพนครเวียงจันทน์ยกมาตี เหตุการณ์นี้ยังนำมาซึ่งความไม่พอพระทัยของบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายจำปาศักดิ์สายเดิมซึ่งจะมีสิทธิ์ในการขึ้นเสวยราชย์นครจำปาศักดิ์ในลำดับถัดไปด้วย

ประวัติจากพงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาณเอกสารฝ่ายสยาม

ในเอกสาร "พงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาณ" ซึ่งเรียบเรียงโดย หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือประชุมพงศาวดาร ภาค 4 เมื่อปีเถาะสัปตศก พ.ศ. 2458 ได้กล่าวถึงประวัติของพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ไว้โดยละเอียด ดังต่อไปนี้

จุลศักราช ๑๑๒๙ ปีกุญนพศก พระเจ้าองค์หล่อผู้ครองกรุงศรีสัตนาคนหุตถึงแก่พิราไลย หามีโอรสที่จะสืบตระกูลไม่ แสนท้าวพระยาแลนายวอ นายตา(ถูกกดไว้มิให้เป็นเจ้าและอยู่ในฐานะองค์ประกัน) จึ่งได้พร้อมกันเชิญกุมารสองคน (มิได้ปรากฏนาม) ซึ่งเปนเชื้อวงษ์พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตคนเก่า (ไม่ปรากฏว่าคนไหน) อันได้หนีไปอยู่กับนายวอ นายตา เมื่อพระเจ้าองค์หล่อยกกำลังมาจับพระยาเมืองแสนฆ่านั้น ขึ้นครองกรุงศรีสัตนาคนหุต แล้วนายวอ นายตา จะขอเปนที่มหาอุปราชฝ่ายน่า ราชกุมารทั้งสองเห็นว่า นายวอ นายตา มิได้เปนเชื้อเจ้า จึ่งตั้งให้นายวอ นายตา เปนแต่ตำแหน่งพระเสนาบดีณกรุงศรีสัตนาคนหุต แล้วราชกุมารผู้เชษฐาจึ่งตั้งราชกุมารผู้เปนอนุชาให้เปนมหาอุปราชขึ้น ฝ่ายพระวอ พระตาก็มีความโทมนัศ ด้วยมิได้เปนที่มหาอุปราชดังความประสงค์ จึ่งได้อพยพครอบครัวพากันมาตั้งสร้างเวียงขึ้นบ้านหนองบัวลำภู แขวงเวียงจันท์เสร็จแล้วยกขึ้นเปนเมือง ให้ชื่อว่าเมืองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน ฝ่ายพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตทราบเหตุดังนั้น จึ่งให้แสนท้าวพระยาไปห้ามปรามมิให้ พระวอ พระตา ตั้งเปนเมือง พระวอ พระตา ก็หาฟังไม่ พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตจึ่งได้ยกกองทัพมาตีพระวอพระตา สู้รบกันอยู่ได้ประมาณสามปี พระวอ พระตา เห็นจะต้านทานมิได้ จึ่งได้แต่งคนไปอ่อนน้อมต่อพม่า ขอกำลังมาช่วย ฝ่ายผู้เปนใหญ่ในพม่าจึ่งได้แต่งให้มองละแงะเปนแม่ทัพคุมกำลังจะมาช่วยพระวอ พระตา ฝ่ายพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตทราบดังนั้น จึ่งแต่งเครื่องบรรณาการ ให้แสนท้าวพระยาคุมลงมาดักกองทัพพม่าอยู่กลางทาง แล้วพูดเกลี้ยกล่อมชักชวนเอาพวกพม่าเข้าเปนพวกเดียวกันได้แล้ว พากันยกทัพมาตีพระวอ พระตาก็แตก พระตาตายในที่รบ ยังอยู่แต่พระวอกับท้าวฝ่ายน่า ท้าวคำผง ท้าวทิดพรหม ผู้เปนบุตรพระตา แลท้าวทิดก่ำ ผู้บุตรพระวอ แล้วจึ่งพาครอบครัวแตกหนีอพยพลงไปขอพึ่งอยู่กับพระเจ้าองค์หลวงเจ้าไชยกุมาร เมืองจำปาศักดิ ตั้งอยู่ที่ตำบลเวียงดอนกอง คือ ที่เรียกว่าบ้านดู่ บ้านแกแขวงเมืองจำปาศักดิณบัดนี้.........

ครั้นลุจุลศักราช ๑๑๓๘ ปีวอกอัฐศก ฝ่ายพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต รู้ข่าวว่าพระวอมีความอริวิวาทกันกับพระเจ้านครจำปาศักดิ ยกครอบครัวมาตั้งอยู่ณดอนมดแดง จึ่งแต่งให้พระยาสุโพคุมกองทัพมาตีพระวอๆ เห็นจะสู้มิได้ จึ่งพาครอบครัวอพยพหนีขึ้นมาตั้งอยู่ตำบลเวียงดอนกองตามเดิม แล้วแต่งคนให้ไปขอกำลังพระเจ้านครจำปาศักดิมาช่วย พระเจ้าจำปาศักดิก็หาช่วยไม่ กองทัพพระยาสุโพก็ยกตามขึ้นมาล้อมเวียงไว้ จับพระวอได้แล้วก็ให้ฆ่าเสียที่ตำบลเวียงดอนกอง (ที่ซึ่งพระวอตายนี้ ภายหลังท้าวฝ่ายน่าบุตรพระตาได้เปนที่เจ้าจำปาศักดิได้สร้างเจดีย์สวมไว้ คำในพื้นเมืองเรียกว่าธาตุพระวอ อยู่ณวัดบ้านศักดิ แขวงเมืองจำปาศักดิตราบเท่าบัดนี้) ฝ่ายท้าวก่ำบุตรพระวอ กับท้าวฝ่ายน่า ท้าวคำผง ท้าวทิดพรหม บุตรพระตาหนีออกจากที่ล้อมได้จึ่งมีบอกแต่งให้คนถือมายังเมืองนครราชสิมา ให้นำกราบบังคมทูลพระเจ้ากรุงธนบุรีขอกำลังกองทัพมาช่วย.........

ลุจุลศักราช ๑๑๔๐ ปีจอสัมฤทธิศก.........ในปีนี้เจ้าสุริโย, ราชวงษ์เมืองจำปาศักดิถึงแก่กรรม มีบุตรชื่อเจ้าหมาน้อย ๑ แลท้าวคำผงบุตรพระตาไปได้นางตุ่ยบุตรเจ้าอุปราชธรรมเทโวเปนภรรยา เจ้าปาศักดิไชยกุมารเห็นว่า ท้าวคำผงมาเกี่ยวเปนเขยแลเปนผู้มีครอบครัวบ่าวไพร่มาก จึ่งตั้งให้ท้าวคำผงเปนพระประทุมสุรราช เปนนายกองใหญ่ควบคุมครอบครัวตัวเลขเปนกองขึ้น เมืองจำปาศักดิ ตั้งอยู่ณบ้านเวียงดอนกอง (คือที่เรียกว่าบ้านดู บ้านแก บัดนี้) ภายหลังเมื่อจุลศักราช ๑๑๔๘ ปีมเมีย พระประทุมจึ่งได้ย้ายมาตั้งอยู่ณตำบลห้วยแจะละแม๊ะ คือตำบลซึ่งตั้งอยู่ทิศเหนือเมืองอุบลบัดนี้ คำที่เรียกว่าห้วยแจะละแม๊ะนั้นมีตำนานมาว่า เดิมมีคนไปตั้งต้มเกลืออยู่ที่ห้วยนั้น คนเดินทางผ่านห้วยนั้นไปมาก็มักจะแวะเข้าไปขอเกลือต่อผู้ต้มเกลือว่าขอแจะละแม๊ะ คือแตะกินสักหน่อยเถิด จึ่งได้มีนาม ปรากฏว่าห้วยแจะละแม๊ะมาแต่เหตุนั้น แต่บัดนี้ฟังสำเนียงที่เรียกกันเลือนๆ เปนแจละแมฤๅจาละแมไป พระประทุมสุรราชมีบุตรชื่อท้าวโท ๑ ท้าวทะ ๑ ท้าวกุทอง๑ นางพิม๑ นางคำ ๑ นางคำสิง ๑ นางจำปา ๑

ลุจุลศักราช ๑๑๕๓ ปีกุญตรีศก อ้ายเชียงแก้วซึ่งตั้งอยู่ตำบลเขาโองฝั่งโขงตวันออกแขวงเมืองโขง แสดงตนเปนผู้วิเศษ มีคนนับถือมาก อ้ายเชียงแก้วรู้ข่าวว่า เจ้าจำปาศักดิไชยกุมารป่วยหนักอยู่ เห็นเปนโอกาศอันดี จึ่งคิดการเปนขบถยกกำลังมาล้อมเมืองจำปาศักดิไว้ ขณะนั้นเจ้าจำปาศักดิไชยกุมารทราบข่าวว่า อ้ายเชียงแก้วยกมาตีเมืองจำปาศักดิก็ตกใจอาการโรคกำเริบขึ้นก็เลยถึงแก่พิราไลย อายุได้ ๘๑ ปี ครองเมืองจำปาศักดิได้ ๕๓ ปี มีบุตรชายชื่อเจ้าหน่อเมือง ๑ บุตรหญิงชื่อเจ้าป่อมหัวขวากุมารี ๑ เจ้าท่อนแก้ว ๑ ฝ่ายกองทัพอ้ายเชียงแก้วก็เข้าตีเอาเมืองจำปาศักดิได้ ความทราบถึงกรุงเทพ ฯ จึ่งโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้าพระยานครราชสิมา (ทองอิน) แต่ครั้งยังเปนพระพรหมยกรบัตร ยกกองทัพขึ้นไปกำจัดอ้ายเชียงแก้ว แต่พระพรหมไปยังมิทันถึง ฝ่ายพระประทุมสรราชบ้านห้วยแจละแมผู้พี่ กับท้าวฝ่ายน่าซึ่งไปตั้งอยู่บ้านสิงทา (คือเปนเมืองยโสธรเดี๋ยวนี้) ผู้น้อง จึ่งพากันยกกำลังไปตีอ้ายเชียงแก้วๆ ยกกองทัพออกต่อสู้ที่แก่งตนะ (อยู่ในลำน้ำมูลแขวงเมืองพิมูลบัดนี้) กองทัพอ้ายเชียงแก้วแตกหนี ท้าวฝ่ายน่าจับตัวอ้ายเชียงแก้วได้ให้ฆ่าเสียแล้ว พอกองทัพเมืองนครราชสิมายกไปถึงก็พากันไปเมืองจำปาศักดิ แลพากันยกเลยไปตีพวกข่าชาติกระเสงสวางจะรายระแดร์ ซึ่งตั้งอยู่ฝั่งโขงตวันออกจับได้มาเปนอันมาก จึ่งได้มีไพร่ข่าแลประเพณีตีข่ามาแต่ครั้งนั้น แล้วโปรดเกล้าฯ ตั้งให้ท้าวฝ่ายน่าบุตรพระตาผู้มีความชอบ เปนเจ้าพระวิไชยราชขัติยวงษาครองเมืองจำปาศักดิ โปรดให้เจ้าเชษฐ เจ้านู ขึ้นไปช่วยราชการอยู่ด้วยเจ้าพระวิไชยราช จึ่งได้ย้ายเมืองขึ้นมาตั้งอยู่ทางเหนือ คือที่เรียกว่าเมืองเก่าคันเกิงณบัดนี้ เจ้าพระวิไชยราชขัติยวงษา จึ่งตั้งท้าวสิงผู้หลานอยู่ณบ้านสิงทาเปนราชวงษ์เมืองโขง (สีทันดร) แลทูลขอตั้งให้ท้าวบุตร เปนเจ้าเมืองนครพนม (อันเปนเมืองเก่าแขวง มณฑลอุดร) แลโปรดเกล้าฯ ตั้งให้พระประทุมสุรราช (คำผง) เปนเจ้าเมือง ยกบ้านห้วยแจละแมขึ้นเปนเมืองอุบลราชธานี (ตามนามพระประทุม) ขึ้นกรุงเทพฯ ทำส่วยผึ้ง ๒ เลข ต่อเบี้ย น้ำรัก ๒ ขวด ต่อ เบี้ยป่าน ๒ เลขต่อขอด พระประทุมจึ่งย้ายเมืองมาตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านร้างริมลำพมูล ใต้ห้วยแจละแมประมาณทาง ๑๒๐ เส้น คือ ที่ซึ่งเปนเมืองอุบลเดี๋ยวนี้ แลได้สร้างวัดหลวงขึ้นวัดหนึ่ง เขตรแดนเมืองอุบลมีปรากฏในเวลานั้นว่า ทิศเหนือถึงน้ำยังตกลำน้ำพาชีไปยอดบังอี่ ตามลำบังอี่ไปถึงแก่งตนะไปภูจอกอ ไปช่องนาง ไปยอดห้วยอะลีอะลองตัดไปดงเปื่อยไปสระดอกเกษ ไปตามลำกะยุงตกลำน้ำมูล ปันให้เมืองสุวรรณภูมิ ฝ่ายเหนือหินสิลาเลขหนองกองแก้วตีนภูเขียว ทางใต้ ปากเสียวตกลำน้ำมูล ยอดห้วยกากวากเกี่ยวชี ปันให้เมืองขุขันธ์ แต่ปากห้วยทัพทันตกมูลถึงภูเขาวงก์

พิราลัย

พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (คำผง) ครองเมืองอุบลราชธานีมาแต่ตั้งเมืองเป็นเวลารวมได้ 17 ปี จนถึง พ.ศ. 2338 จึงถึงแก่พิราลัย สิริรวมชนมายุได้ 85 ปี มีการประกอบพระราชทานเพลิงศพด้วยเมรุนกสักกะไดลิงก์ (เมรุนกสักกะไดลิง) ณ ทุ่งศรีเมือง แล้วเก็บอัฐิธาตุบรรจุในพระธาตุเจดีย์ไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมือง ณ บริเวณที่เป็นธนาคารออมสิน สาขาอุบลราชธานีทุกวันนี้ ต่อมาภายหลัง เมื่อมีการสร้างเรือนจำขึ้นในบริเวณดังกล่าว จึงย้ายอัฐิไปประดิษฐาน ณ วัดหลวงเมืองอุบลราชธานีจนทุกวันนี้ ปัจจุบันมีอนุสาวรีย์ของพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ประดิษฐานอยู่ที่ริมทุ่งศรีเมือง กลางเมืองอุบลราชธานี และทุกวันที่ 10-11 พฤศจิกายนของทุกปี ชาวอุบลราชธานีและหน่วยงานราชการต่างๆ จะมีการจัดงาน สดุดีวีรกรรม พระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ขึ้น ซึ่งภายในงานมีการจัดขบวนอัญเชิญเครื่องประกอบพระอิสริยยศเจ้าเมืองอุบลราชธานี พิธีการวางขันหมากเบ็งและเครื่องสักการะ นิทรรศการเล่าเรื่องเมืองอุบลราชธานี และการแสดงมหรสพต่างๆ

พระนามในจารึกท้องถิ่นและเอกสารประวัติศาสตร์

ในจารึกพระเจ้าอินแปง

ในจารึกศิลาพระเจ้าอินแปง รูปทรงใบเสมา ด้านที่ 1 อักษรธรรมลาวหรืออักษรธัมม์อีสาน พุทธศักราช 2350 ภาษาลาว มี 24 บรรทัด ขนาดจารึกกว้าง 60 เซนติเมตร สูง 59 เซนติเมตร หนา 19 เซนติเมตร ได้ปรากฏพระนามของพระองค์ว่า

"...ฯะ จุลศักราชได้ ๑๔๙ ตัว ปีเมิงมด เจ้าพระปทุมได้มาตั้งเมิงอุบลได้ ๒๓ ปี ฯะ สังกราษได้ ๑๔๒ ตัว ปีกดสง้า จึงเถิงอนิจกรรม ล่วงไปด้วยลำดับปีเดินหั้นแล ฯะ สังกราษได้ ๑๕๔ ตัว ปีเต่าสัน พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ ได้ขึน้ เสวียเมิงอุบล ได้ ๑๕ ปี สังกราษ (ได้) ๑๖๗ ตัว ปีรวงเล้า จึงมาได้สร้างวิหารอารามในวัดป่าหลวงมณีโช (ติ) ศรีสวัสสัสดีเพื่อให้เป็นที่สำราญแก่ (พระ) พุทธรูปเจ้า สังกราษได้ร้อย ๖๙ ตัว ปีเมิงเม้า มหาราชครูศรีสัทธรรมวงศา พาลูกศิษย์สร้าง (พระ) พุทธรูปดิน (แ) ลอิฐ ชทาย ใส่วัด ล่วงเดิน ๕ เพ็ง วัน ๑ มื้อ รวงไก๊ ฤกษ์ ๑๔ ลูกชื่อว่า จิตตะ อยู่ในรษีกันย์ เบิกแล้ว ยามแถใกล้ค่ำ จึงได้ชื่อว่า พระเจ้าอินแปง..."

ในจดหมายเหตุ ร.๑

ในจดหมายเหตุ ร.1 จ.ศ. 1154 เลขที่ 2 สมุดไทยดำ เรื่องตั้งให้พระประทุม เป็นพระประทุมวรราชสุริยวงษ เมืองอุบลราชธานี ได้ปรากฏพระนามของพระองค์ ดังนี้

"...ด้วย พระบาทสมเดจ์พระพุทธิเจ้าอยหัวผู้พานพิภพกรุงเทพพระมหาณครศรีอยุทธยา มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ตั้งให้พระประทุม เปนพระประทุมววราชสุริยวงษ ครองเมืองอุบลราชธานีศรีวนาไลประเทษราช เศกให้ ณ วัน ๑๑ ฯ  ค่ำ จุลศักราช ๑๑๕๔ ปีชวด จัตวาศก..."

พระนามในวรรณกรรมประวัติศาสตร์

ในพื้นเมืองอุบน

ในพื้นพะวอพะตา

พระอนุชาและพระขนิษฐา

เจ้าพระตา (เจ้าพระวรราชปิตา) พระราชโอรสในเจ้าปางคำแห่งนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลุ่มภู) ทรงมีโอรสธิดาทั้งหมด 9 องค์ ดังนี้

  • เจ้าพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เจ้าผู้ครองเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราช องค์ที่ ๑
  • เจ้าพระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช (เจ้าฝ่ายหน้า) เจ้าผู้ครองนครกาลจำบากนัคบุรีศรีจำปาศักดิ์ องค์ที่ ๓
  • เจ้าพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าทิดพรหม) เจ้าเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราช องค์ที่ ๒
  • อัญญาเจ้าโคต (เจ้าโคตร) พระบิดาของท้าวสีหาราช (พลสุข บุตโรบล) ปู่ของเจ้าราชบุตร (สุ่ย บุตโรบล) ทวดของท้าวสุรินทรชมภู (หมั้น บุตโรบล) ผู้เป็นบิดาของอัญญานางเจียงคำ บุตโรบล (หม่อมเจียงจำชุมพล ณ อยุธยา) ในกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์
  • อัญญานางมิ่ง
  • อัญญาท้าวซุย อยู่บ้านเขื่องใน
  • พระศรีบริบาล
  • อัญญานางเหมือนตา อยู่บ้านสะพือตระการ
  • อัญญาท้าวสุ่ย บิดาของอัญญาท้าวสิงห์ ต้นตระกูลสิงหัษฐิต ท้าวสิงห์มีบุตรธิดาคือ อัญญานางทอง ๑ อัญญาท้าวสีหาราช (หมั้น) ๑ อัญญานางบัว ๑ อัญญานางจันที ๑ อัญญานางวันดี ๑ อัญญาท้าวมา ๑ อัญญานางสีทา (ไม่มีบุตรธิดา) ๑ อัญญานางแพงแสน ๑ ฝ่ายอัญญาท้าวสีหาราช (หมั้น) นั้น สมรสกับอัญญานางสุนี ธิดาเจ้าราชบุตร (สุ่ย บุตโรบล) มีบุตรธิดาคือ พระวิภาคย์พจนกิจ (เล็ก สิงหัษฐิต) ๑ อัญญาท้าวสี ๑ อัญญาครูจำปาแดง ๑ อัญญานางบุญกว้าง ๑

สกุลที่สืบเชื้อสาย

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์เป็นต้นกำเนิดของสายสกุลต่างๆ ในเมืองอุบลราชธานีหลายสกุล เช่น

  • ณ อุบล สกุลนี้สืบเชื้อสายเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เจ้าเมืองอุบลราชธานีลำดับที่ 1 ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุลสายนี้คือ พระอุบลเดชประชารักษ์ (เสือ ณ อุบล) กรมการเมืองพิเศษเมืองอุบลราชธานีในสมัยรัชกาลที่ 5
  • สุวรรณกูฏ สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีลำดับที่ 3 บุตรในเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุลคือ รองอำมาตย์เอก พระบริคุฏคามเขต (โหง่นคำ สุวรรณกูฏ)
  • สิงหัษฐิต สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทาง ท้าวสิงผู้เป็นบุตรของเจ้าพระตา ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุล คือ อำมาตย์ตรี พระวิภาคย์พจนกิจ (เล็ก สิงหัษฐิต) บิดาของนายเติม วิภาคย์พจนกิจ ผู้เขียนหนังสือ ฝั่งขวาแม่น้ำโขง และ ประวัติศาสตร์อีสาน
  • บุตโรบล สายนี้สืบมาจากท้าวโคตซึ่งเป็นบุตรในเจ้าพระตา และเป็นอนุชาในพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ผู้รับพระราชทานสกุลคือ ร้อยโท พระอุบลกิจประชากร (บุญเพ็ง บุตโรบล) สายสกุลนี้เป็นสายสกุลของอัญญานางเจียงคำ บุตโรบล (หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา) ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์
  • พรหมวงศานนท์ สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางท้าวพรหมวงษา ผู้ขอรับพระราชทานนามสกุลคือ รองอำมาตย์โท พระอุบลการประชานิตย์ (บุญชู พรหมวงศานนท์) อดีตข้าหลวงบริเวณอุบลราชธานี (2450)
  • ทองพิทักษ์ สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางเจ้าอุปฮาด (สุดตา) เชษฐาของพระพรหมราชวงศา (กุทอง สุวรรณกูฏ) พระราชโอรสในเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์
  • อมรดลใจ สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางพระอมรดลใจ (อ้ม สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองตระการพืชผลองค์แรก ท่านเป็นบุตรในพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีลำดับที่ 3 และเป็นเขยในเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์
  • โทนุบล สกุลนี้สืบเชื้อสายผ่านทางเจ้าเมืองมหาชนะชัย หรือท้าวคำพูน สุวรรณกูฏ ผู้เป็นบุตรในพระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (กุทอง สุวรรณกูฏ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีลำดับที่ 3 โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามท้าวคำพูนว่า พระเรืองชัยชนะ เจ้าเมืองมหาชนะชัย ขึ้นตรงต่อเมืองอุบลราชธานี ต่อมาภายหลังเมืองมหาชนะชัยได้ถูกลดฐานะเป็นอำเภอภายใต้การปกครองของเมืองอุบลราชธานี โดยมีหลวงวัฒนวงศ์ โทนุบล (โทน สุวรรณกูฏ) ผู้เป็นนัดดาในพระเรืองชัยชนะ เป็นนายอำเภอคนแรก


อนึ่ง ทายาทบุตรหลานสายใดก็ดีหรือสกุลใดก็ดี ที่ถือกำเนิดจากเชื้อสายของเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) และเจ้านายตุ่ยพระมเหสี นั้นนับว่าเป็นผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์นับได้ถึง ๓ ราชวงศ์ อันได้แก่ ราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์ ราชวงศ์เชียงรุ้งแสนหวีฟ้า และราชวงศ์ล้านช้างจำปาศักดิ์

พงศาวลี

อ้างอิง

ก่อนหน้า เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล) ถัดไป
เริ่มตั้งเมืองอุบลราชธานี    
ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
(พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2338)
  พระพรหมวรราชสุริยวงศ์

เจ, าพระประท, มวรราชส, ยวงศ, เจ, าคำผง, บล, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ecaphraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng hrux phrapthumwrrachsuriywngs incarukphraecaxinaepngxxknamwa ecaphrapthum chawemuxngxublrachthaniinsmyobranniymxxknamwa xachyahlwngetha darngtaaehnngecapraethsrachkhrxngemuxngxublrachthanisriwnalypraethsrachkhnaerk pccubnkhuxcnghwdxublrachthaniinphakhxisankhxngpraethsithy namedimwa ecakhaphng epnoxrsinecaphrata ecaphrawrrachpita ecaphukhrxngnkhrekhuxnkhnthkabaekwbwban hnxngbwlumphu kbphranangbusdi smphphemux ph s 2252 n nkhrewiyngcnthn subechuxsayecanaylawcakrachwngslanchangewiyngcnthnxnekaaek xnenuxngmacakphraxyyika ya khxngphraxngkhsungepnphramehsikhxngecapangkha pu miskdiepnphrarachnddainsmedcphraecasuriywngsathrrmikrach phramhakstriyaehngrachxanackrlanchangewiyngcnthn cungepnehtuihmisrxyrachthinnam rwmthngkhxngecafayhna phuxnucha mikhawa suriywngs txthaynamecaphraprathumwrrachsuriywngsphraprmaphiithyecaphraprathumwrrachsuriywngsphraxisriyysecapraethsrachrachwngssuwrrnpangkhakhrxngrachyph s 2335rchkal3 pirchkalkxnimpraktrchkalthdipecaphraphrhmwrrachsuriywngs ecathidphrhm khxmulswnphraxngkhprasutiph s 2252phiralyph s 2338phrabidaecaphrawrrachpitaphramardaphranangbusdiphramehsiecanangtuyhmxmecanangsidaphrabutr10 xngkhxikthngyngsubechuxsaymacakphraxyka pu khux phraecasuwrrnpangkha thrngepnecanayechuxsayithluxaehngrachwngsechiyngrungaesnhwifa xanackrhxkhaechiyngrung aelasubechuxmaaetsayrachwngssuwrrnpangkha pthmkstriyphusrangnkhrekhuxnkhnthkabaekwbwban cnghwdhnxngbwlaphuinpccubn xnung phraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng epntnskulphrarachthan n xubl aehngcnghwdxublrachthani inphakhxisankhxngpraethsithy enuxha 1 prawti 2 prawticakphngsawdarhwemuxngmnthlxisanexksarfaysyam 3 phiraly 4 phranamincarukthxngthinaelaexksarprawtisastr 4 1 incarukphraecaxinaepng 4 2 incdhmayehtu r 1 5 phranaminwrrnkrrmprawtisastr 5 1 inphunemuxngxubn 5 2 inphunphawxphata 6 phraxnuchaaelaphrakhnistha 7 skulthisubechuxsay 8 phngsawli 9 xangxingprawti aekikhinpi ph s 2311 ecaphratakbecaphrawx ekidphidphrathyknkbsmedcphraecaichyechsthathirachthi 3 hruxsmedcphraecasiribuysaraehngnkhrewiyngcnthn cungxphyphiphrphlmatngaekhngkhxxyuemuxnghnxngbwlumphusungphrabidakhxngtnekhypkkhrxngmakxn xnmisaehtumacakkhwamhwadraaewngkhxngecasiribuysar enuxngdwyemuxnghnxngbwlumphuepnemuxngihy miiphrphlmak xikthngecaphratayngepnechuxekhruxyatikbecakingkisrachphraecalanchanghlwngphrabang echuxsayecaithluxcakemuxngechiyngrungehmuxnkn lanchanghlwngphrabangaelalanchangewiyngcnthnkepnxritxkn aemwaecaphrataecaphrawxcaidekhychwyehluxecasiribuysardwykarihhlbrachphythiemuxnghnxngbwlumphunannbsibpi chwngthiekidkaraeyngchingrachbllngkinlanchangewiyngcnthn aelaidnathphchwyxxkrbephuxchingbllngkihecasiribuysarcnidnngemuxngmaaelwktam dngnnemuxesrcsuk ecasiribuysarcungyngimihthphecaphrataecaphrawxklbemuxnghnxngbwlumphu aetidkhxihipchwyrksakarthidanhinongmaethn txmakidkhxihphrathidakhxngecaphrataipepnhmxmhamkhxngphraxngkhephuxepntwprakn odyxangsmphnthimtrixndirahwangecanayrachwngsewiyngcnthnaelaecanayrachwngsechiyngrungsungekhymimaaetkhrngphraecasuriywngsathrrmikrach ecaphrataaelaecaphrawximphxphrathycungykiphrphlmasrangkhaykhupratuhxrbthiemuxnghnxngbwlumphuaelwykkhunepnemuxngexkrachnamwa nkhrekhuxnkhnthkabaekwbwban sthapnaphraxngkhepnkstriyimyxmsngekhruxngrachbrrnakarthwaykrungewiyngcnthn phrxmthngsngecanaykrmkaremuxngcanwnmakxxkiptngemuxngihm xathi emuxngphakhaw emuxngphnna emuxngphuekhiyw emuxngphuewiyng epntn faynkhrewiyngcnthnidykthphmatiemuxnghnxngbwlumphusungaetedimepnemuxngkhxbdankhunaeknkhrewiyngcnthnmaaetobran kartxsunnichrayaewlayawnanxyuthung 3 pi fayemuxnghnxngbwlumphuehnwananipcasufaynkhrewiyngcnthnimid cungsngthutipkhxkxngthphcakphmathinkhrechiyngihmmachwyrb aetkxngthphphmaidykmasmthbkbkxngthphnkhrewiyngcnthntiemuxnghnxngbwlumphuaetk epnehtuihecaphratasinphrachnminsnamrb fayecaphrawxkbecakhaphngaelaphwkcungtxngthingemuxnghniipthangthistawnxxkechiyngit cnidipphungphrarachbarmiinsmedcphraphuththecaxngkhhlwngichykumaraehngnkhrcapaskdi odytngkhayxyubandubanaek aekhwngemuxngcapaskdi faysmedcphraphuththecaxngkhhlwngichykumarthrngaebngrbaebngsudwythrngehnwaxacepnkarthaihkhwamsmphnthrahwangnkhrewiyngcnthnkbnkhrcapaskdirawchanid aetkthrngphraemttakhxexaecanangtuy phrathidainecamhaxuphachthrrmethow xuprachnkhrcapaskdi ihepnphrachayakhxngecakhaphng aelathrngaetngtngihecakhaphngepnthi phrapthumsurrach phuchwyecaphrawx naykxngnxk txmaphrapthumsurrrach ecakhaphng cungkhxxphyphiphrphlmaxyudxnmdaedng aelasthapnaemuxngkhunchwkhraw khnthwiperiykwa emuxngdxnmdaedng pccubnkhuxxaephxdxnmdaedng cnghwdxublrachthani txmaemuxsmedcphraecasiribuysarthrngthrabwa ecaphrawxkbphwkmatngxyuthikhaybandubanaekaekhwngemuxngnkhrcapaskdi aelaecaphrawxmikalngphlnxytngkhdaekhngxyu cungoprdekla ihphrayasuophykthphmatikhaybandubanaekaetk odytngicwacaihnatwphrawxmaekhaefaaelayxmxxnnxmtxewiyngcnthn aetsngkhramklbepnehtuihecaphrawxsinphrachnminsnamrb fayphrapthumsurrach ecakhaphng ehnwacasukxngthphnkhrewiyngcnthnimid cungihthawkaphraxnucha txmaidepnecaemuxngekhmraththaniinthanaecapraethsrach aexbnaphrarachsasnipkhxkhwamchwyehluxcakecaemuxngthnburi sin ecaemuxngthnburi sin cingoprdekla ihecaphrayackriaelaecaphrayasursihykthphmachwy emuxthrabsaehtucakphrapthumsurrach ecakhaphng aelw syamcungykthphtamtithphphrayasuophipcnthungnkhrewiyngcnthn idrbknxyunan 4 eduxn nkhrewiyngcnthncungaetkemux ph s 2322 sngphlihhwemuxnglawaelahwemuxngkhxngchatiphnthutang inaethbsxngfngaemnaokhngthngfngxisanaelafnglawthukephacnyxyyb sngkhramkhrngnisngphlihxanackrlanchangthng 3 aehng tlxdcnrachthaniihy inlawaelaxisantkepnpraethsrachkhxngsyamsubma cnkrathngsyamesiydinaednehlaniihaekfrngessinsmyrchkalthi 5inpi ph s 2319 ekidnathwmihythidxnmdaedng phraprathumsurrach ecakhaphng cungphaiphrphlxphyphhninamaxyuthidxnrimhwyaecraaem xyuehnuxtwemuxngxublrachthanipccubnpraman 8 k m emuxnaldlngcungyayipxyuthidngxuphungrimfngaemnamulephuxsrangemuxngihmkhnthwiperiykwa emuxngxubn faysyamehnepnoxkasehmaacungbngkhbkhuekhyihphrapthumsurrach ecakhaphng epnemuxngkhunkhxngthnburi ephuxepnkhxaelkepliynthisyamekhyykthphmachwyehlux odythifayecaphrapthumsurrach khaphng aelaphinxngkhxngphraxngkhexngkhaidphxphrathyim emuxsrangemuxngaelwesrcfayphrapthumsurrach khaphng cungcaicmiibbxklngipkrabthulecaemuxngthnburi sin khxtngepnemuxngkhun ecaemuxngthnburi sin cungihtngemuxngtamthikhxipwa emuxngxubl ephuxralukthungemuxnghnxngbwthiecanayemuxngxublthnghlayidcakma aelwthrngoprdekla ihphrapthumsurrrachepn phrapthumrachwngsa ecaemuxngxublxngkhaerkemux ph s 2321txmaemuxphraprathumrachwngsa ecakhaphng rwmmuxkbecafayhnaphuxnucha sungiptngkxngnxkekbswyxyuthibansinghokhksinghtha emuxngyosthrhruxemuxngyssunthrinewlatxma aelathukbngkhbihchwyehluxkxngthphemuxngnkhrrachsiprabpramkbtxayechiyngaekwid phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach cungoprdekla ihphraprathumrachwngsa epnthi phrapthumwrrachsuriywngs thrngykemuxngxublkhunepn xublrachthanisriwnalypraethsrach ykthanaemuxngxublrachthaniepnemuxngpraethsrach laweriykwa emuxngladhruxemuxngsuthudsarach ihkhuntrngtxkrungethphmhankhr emuxwncnthr aerm 13 kha eduxn 8 culskrach 1154 ph s 2335 swnecafayhna thawhna phraxnuchakidrbkaroprdekla ihepnecaemuxngnkhrcapaskdi miphraxisriyysepnthi ecaphrawiichyrachsuriywngskhtiyrach ephuxepnkaraekaekhnthiecankhrcapaskdixngkhedimimyxmihkhwamchwyehluxfaykhxngtn emuxkhrngthphnkhrewiyngcnthnykmati ehtukarnniyngnamasungkhwamimphxphrathykhxngbrrdaphrabrmwngsanuwngsfaycapaskdisayedimsungcamisiththiinkarkhuneswyrachynkhrcapaskdiinladbthdipdwyprawticakphngsawdarhwemuxngmnthlxisanexksarfaysyam aekikhinexksar phngsawdarhwemuxngmnthlxisan sungeriyberiyngody hmxmxmrwngswicitr hmxmrachwngspthm khencr tiphimphkhrngaerkinhnngsuxprachumphngsawdar phakh 4 emuxpiethaasptsk ph s 2458 idklawthungprawtikhxngphrapthumwrrachsuriywngs ecakhaphng iwodylaexiyd dngtxipniculskrach 1129 pikuynphsk phraecaxngkhhlxphukhrxngkrungsristnakhnhutthungaekphiraily hamioxrsthicasubtrakulim aesnthawphrayaaelnaywx nayta thukkdiwmiihepnecaaelaxyuinthanaxngkhprakn cungidphrxmknechiykumarsxngkhn miidpraktnam sungepnechuxwngsphraecakrungsristnakhnhutkhneka impraktwakhnihn xnidhniipxyukbnaywx nayta emuxphraecaxngkhhlxykkalngmacbphrayaemuxngaesnkhann khunkhrxngkrungsristnakhnhut aelwnaywx nayta cakhxepnthimhaxuprachfayna rachkumarthngsxngehnwa naywx nayta miidepnechuxeca cungtngihnaywx nayta epnaettaaehnngphraesnabdinkrungsristnakhnhut aelwrachkumarphuechsthacungtngrachkumarphuepnxnuchaihepnmhaxuprachkhun fayphrawx phratakmikhwamothmns dwymiidepnthimhaxuprachdngkhwamprasngkh cungidxphyphkhrxbkhrwphaknmatngsrangewiyngkhunbanhnxngbwlaphu aekhwngewiyngcnthesrcaelwykkhunepnemuxng ihchuxwaemuxngnkhrekhuxnkhnthkabaekwbwban fayphraecakrungsristnakhnhutthrabehtudngnn cungihaesnthawphrayaiphamprammiih phrawx phrata tngepnemuxng phrawx phrata khafngim phraecakrungsristnakhnhutcungidykkxngthphmatiphrawxphrata surbknxyuidpramansampi phrawx phrata ehncatanthanmiid cungidaetngkhnipxxnnxmtxphma khxkalngmachwy fayphuepnihyinphmacungidaetngihmxnglaaengaepnaemthphkhumkalngcamachwyphrawx phrata fayphraecakrungsristnakhnhutthrabdngnn cungaetngekhruxngbrrnakar ihaesnthawphrayakhumlngmadkkxngthphphmaxyuklangthang aelwphudekliyklxmchkchwnexaphwkphmaekhaepnphwkediywknidaelw phaknykthphmatiphrawx phratakaetk phratatayinthirb yngxyuaetphrawxkbthawfayna thawkhaphng thawthidphrhm phuepnbutrphrata aelthawthidka phubutrphrawx aelwcungphakhrxbkhrwaetkhnixphyphlngipkhxphungxyukbphraecaxngkhhlwngecaichykumar emuxngcapaskdi tngxyuthitablewiyngdxnkxng khux thieriykwabandu banaekaekhwngemuxngcapaskdinbdni khrnluculskrach 1138 piwxkxthsk fayphraecakrungsristnakhnhut rukhawwaphrawxmikhwamxriwiwathknkbphraecankhrcapaskdi ykkhrxbkhrwmatngxyundxnmdaedng cungaetngihphrayasuophkhumkxngthphmatiphrawx ehncasumiid cungphakhrxbkhrwxphyphhnikhunmatngxyutablewiyngdxnkxngtamedim aelwaetngkhnihipkhxkalngphraecankhrcapaskdimachwy phraecacapaskdikhachwyim kxngthphphrayasuophkyktamkhunmalxmewiyngiw cbphrawxidaelwkihkhaesiythitablewiyngdxnkxng thisungphrawxtayni phayhlngthawfaynabutrphrataidepnthiecacapaskdiidsrangecdiyswmiw khainphunemuxngeriykwathatuphrawx xyunwdbanskdi aekhwngemuxngcapaskditrabethabdni faythawkabutrphrawx kbthawfayna thawkhaphng thawthidphrhm butrphratahnixxkcakthilxmidcungmibxkaetngihkhnthuxmayngemuxngnkhrrachsima ihnakrabbngkhmthulphraecakrungthnburikhxkalngkxngthphmachwy luculskrach 1140 picxsmvththisk inpiniecasurioy rachwngsemuxngcapaskdithungaekkrrm mibutrchuxecahmanxy 1 aelthawkhaphngbutrphrataipidnangtuybutrecaxuprachthrrmethowepnphrrya ecapaskdiichykumarehnwa thawkhaphngmaekiywepnekhyaelepnphumikhrxbkhrwbawiphrmak cungtngihthawkhaphngepnphraprathumsurrach epnnaykxngihykhwbkhumkhrxbkhrwtwelkhepnkxngkhun emuxngcapaskdi tngxyunbanewiyngdxnkxng khuxthieriykwabandu banaek bdni phayhlngemuxculskrach 1148 pimemiy phraprathumcungidyaymatngxyuntablhwyaecalaaema khuxtablsungtngxyuthisehnuxemuxngxublbdni khathieriykwahwyaecalaaemannmitananmawa edimmikhniptngtmekluxxyuthihwynn khnedinthangphanhwynnipmakmkcaaewaekhaipkhxekluxtxphutmekluxwakhxaecalaaema khuxaetakinskhnxyethid cungidminam praktwahwyaecalaaemamaaetehtunn aetbdnifngsaeniyngthieriykkneluxn epnaeclaaemvicalaaemip phraprathumsurrachmibutrchuxthawoth 1 thawtha 1 thawkuthxng1 nangphim1 nangkha 1 nangkhasing 1 nangcapa 1luculskrach 1153 pikuytrisk xayechiyngaekwsungtngxyutablekhaoxngfngokhngtwnxxkaekhwngemuxngokhng aesdngtnepnphuwiess mikhnnbthuxmak xayechiyngaekwrukhawwa ecacapaskdiichykumarpwyhnkxyu ehnepnoxkasxndi cungkhidkarepnkhbthykkalngmalxmemuxngcapaskdiiw khnannecacapaskdiichykumarthrabkhawwa xayechiyngaekwykmatiemuxngcapaskdiktkicxakarorkhkaeribkhunkelythungaekphiraily xayuid 81 pi khrxngemuxngcapaskdiid 53 pi mibutrchaychuxecahnxemuxng 1 butrhyingchuxecapxmhwkhwakumari 1 ecathxnaekw 1 faykxngthphxayechiyngaekwkekhatiexaemuxngcapaskdiid khwamthrabthungkrungethph cungoprdekla ihecaphrayankhrrachsima thxngxin aetkhrngyngepnphraphrhmykrbtr ykkxngthphkhunipkacdxayechiyngaekw aetphraphrhmipyngmithnthung fayphraprathumsrrachbanhwyaeclaaemphuphi kbthawfaynasungiptngxyubansingtha khuxepnemuxngyosthrediywni phunxng cungphaknykkalngiptixayechiyngaekw ykkxngthphxxktxsuthiaekngtna xyuinlanamulaekhwngemuxngphimulbdni kxngthphxayechiyngaekwaetkhni thawfaynacbtwxayechiyngaekwidihkhaesiyaelw phxkxngthphemuxngnkhrrachsimaykipthungkphaknipemuxngcapaskdi aelphaknykelyiptiphwkkhachatikraesngswangcarayraaedr sungtngxyufngokhngtwnxxkcbidmaepnxnmak cungidmiiphrkhaaelpraephnitikhamaaetkhrngnn aelwoprdekla tngihthawfaynabutrphrataphumikhwamchxb epnecaphrawiichyrachkhtiywngsakhrxngemuxngcapaskdi oprdihecaechsth ecanu khunipchwyrachkarxyudwyecaphrawiichyrach cungidyayemuxngkhunmatngxyuthangehnux khuxthieriykwaemuxngekakhnekingnbdni ecaphrawiichyrachkhtiywngsa cungtngthawsingphuhlanxyunbansingthaepnrachwngsemuxngokhng sithndr aelthulkhxtngihthawbutr epnecaemuxngnkhrphnm xnepnemuxngekaaekhwng mnthlxudr aeloprdekla tngihphraprathumsurrach khaphng epnecaemuxng ykbanhwyaeclaaemkhunepnemuxngxublrachthani tamnamphraprathum khunkrungethph thaswyphung 2 elkh txebiy nark 2 khwd tx ebiypan 2 elkhtxkhxd phraprathumcungyayemuxngmatngxyuthitablbanrangrimlaphmul ithwyaeclaaempramanthang 120 esn khux thisungepnemuxngxublediywni aelidsrangwdhlwngkhunwdhnung ekhtraednemuxngxublmipraktinewlannwa thisehnuxthungnayngtklanaphachiipyxdbngxi tamlabngxiipthungaekngtnaipphucxkx ipchxngnang ipyxdhwyxalixalxngtdipdngepuxyipsradxkeks iptamlakayungtklanamul pnihemuxngsuwrrnphumi fayehnuxhinsilaelkhhnxngkxngaekwtinphuekhiyw thangit pakesiywtklanamul yxdhwykakwakekiywchi pnihemuxngkhukhnth aetpakhwythphthntkmulthungphuekhawngkphiraly aekikhphraprathumwrrachsuriywngs khaphng khrxngemuxngxublrachthanimaaettngemuxngepnewlarwmid 17 pi cnthung ph s 2338 cungthungaekphiraly sirirwmchnmayuid 85 pi mikarprakxbphrarachthanephlingsphdwyemrunkskkaidlingk emrunkskkaidling n thungsriemuxng aelwekbxthithatubrrcuinphrathatuecdiyiwthangthistawntkechiyngitkhxngemuxng n briewnthiepnthnakharxxmsin sakhaxublrachthanithukwnni txmaphayhlng emuxmikarsrangeruxncakhuninbriewndngklaw cungyayxthiippradisthan n wdhlwngemuxngxublrachthanicnthukwnni pccubnmixnusawriykhxngphrapthumwrrachsuriywngs ecakhaphng pradisthanxyuthirimthungsriemuxng klangemuxngxublrachthani aelathukwnthi 10 11 phvscikaynkhxngthukpi chawxublrachthaniaelahnwynganrachkartang camikarcdngan sdudiwirkrrm phrapthumwrrachsuriywngs ecakhaphng khun sungphayinnganmikarcdkhbwnxyechiyekhruxngprakxbphraxisriyysecaemuxngxublrachthani phithikarwangkhnhmakebngaelaekhruxngskkara nithrrskarelaeruxngemuxngxublrachthani aelakaraesdngmhrsphtangphranamincarukthxngthinaelaexksarprawtisastr aekikhincarukphraecaxinaepng aekikh incaruksilaphraecaxinaepng rupthrngibesma danthi 1 xksrthrrmlawhruxxksrthmmxisan phuththskrach 2350 phasalaw mi 24 brrthd khnadcarukkwang 60 esntiemtr sung 59 esntiemtr hna 19 esntiemtr idpraktphranamkhxngphraxngkhwa a culskrachid 149 tw piemingmd ecaphrapthumidmatngemingxublid 23 pi a sngkrasid 142 tw pikdsnga cungethingxnickrrm lwngipdwyladbpiedinhnael a sngkrasid 154 tw pietasn phraphrhmwrrachsuriywngs idkhun eswiyemingxubl id 15 pi sngkras id 167 tw pirwngela cungmaidsrangwiharxaraminwdpahlwngmnioch ti sriswsssdiephuxihepnthisarayaek phra phuththrupeca sngkrasidrxy 69 tw piemingema mharachkhrusrisththrrmwngsa phaluksisysrang phra phuththrupdin ae lxith chthay iswd lwngedin 5 ephng wn 1 mux rwngik vks 14 lukchuxwa citta xyuinrsikny ebikaelw yamaethiklkha cungidchuxwa phraecaxinaepng incdhmayehtu r 1 aekikh incdhmayehtu r 1 c s 1154 elkhthi 2 smudithyda eruxngtngihphraprathum epnphraprathumwrrachsuriywngs emuxngxublrachthani idpraktphranamkhxngphraxngkh dngni dwy phrabathsmedcphraphuththiecaxyhwphuphanphiphphkrungethphphramhankhrsrixyuththya miphrarachoxngkaroprdeklaoprdkrahmxm tngihphraprathum epnphraprathumwwrachsuriywngs khrxngemuxngxublrachthanisriwnailpraethsrach eskih n wn 2 11 8 kha culskrach 1154 pichwd ctwask phranaminwrrnkrrmprawtisastr aekikhinphunemuxngxubn aekikh inphunphawxphata aekikhphraxnuchaaelaphrakhnistha aekikhecaphrata ecaphrawrrachpita phrarachoxrsinecapangkhaaehngnkhrekhuxnkhnthkabaekwbwban hnxngbwlumphu thrngmioxrsthidathnghmd 9 xngkh dngni ecaphrapthumwrrachsuriywngs ecakhaphng ecaphukhrxngemuxngxublrachthanisriwnalypraethsrach xngkhthi 1 ecaphrawiichyrachsuriywngskhtiyrach ecafayhna ecaphukhrxngnkhrkalcabaknkhburisricapaskdi xngkhthi 3 ecaphraphrhmwrrachsuriywngs ecathidphrhm ecaemuxngxublrachthanisriwnalypraethsrach xngkhthi 2 xyyaecaokht ecaokhtr phrabidakhxngthawsiharach phlsukh butorbl pukhxngecarachbutr suy butorbl thwdkhxngthawsurinthrchmphu hmn butorbl phuepnbidakhxngxyyanangeciyngkha butorbl hmxmeciyngcachumphl n xyuthya inkrmhlwngsrrphsiththiprasngkh xyyanangming xyyathawsuy xyubanekhuxngin phrasribribal xyyanangehmuxnta xyubansaphuxtrakar xyyathawsuy bidakhxngxyyathawsingh tntrakulsinghsthit thawsinghmibutrthidakhux xyyanangthxng 1 xyyathawsiharach hmn 1 xyyanangbw 1 xyyanangcnthi 1 xyyanangwndi 1 xyyathawma 1 xyyanangsitha immibutrthida 1 xyyanangaephngaesn 1 fayxyyathawsiharach hmn nn smrskbxyyanangsuni thidaecarachbutr suy butorbl mibutrthidakhux phrawiphakhyphcnkic elk singhsthit 1 xyyathawsi 1 xyyakhrucapaaedng 1 xyyanangbuykwang 1skulthisubechuxsay aekikhecaphraprathumwrrachsuriywngsepntnkaenidkhxngsayskultang inemuxngxublrachthanihlayskul echn n xubl skulnisubechuxsayecaphraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng ecaemuxngxublrachthaniladbthi 1 phukhxrbphrarachthannamskulsaynikhux phraxubledchpracharks esux n xubl krmkaremuxngphiessemuxngxublrachthaniinsmyrchkalthi 5 suwrrnkut skulnisubechuxsayphanthangphraphrhmwrrachsuriywngs kuthxng suwrrnkut ecaemuxngxublrachthaniladbthi 3 butrinecaphraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng phukhxrbphrarachthannamskulkhux rxngxamatyexk phrabrikhutkhamekht ohngnkha suwrrnkut singhsthit skulnisubechuxsayphanthang thawsingphuepnbutrkhxngecaphrata phukhxrbphrarachthannamskul khux xamatytri phrawiphakhyphcnkic elk singhsthit bidakhxngnayetim wiphakhyphcnkic phuekhiynhnngsux fngkhwaaemnaokhng aela prawtisastrxisan butorbl saynisubmacakthawokhtsungepnbutrinecaphrata aelaepnxnuchainphrapthumwrrachsuriywngs ecakhaphng phurbphrarachthanskulkhux rxyoth phraxublkicprachakr buyephng butorbl sayskulniepnsayskulkhxngxyyanangeciyngkha butorbl hmxmeciyngkha chumphl n xyuthya inphraecabrmwngsethx phraxngkhecachumphlsmophch krmhlwngsrrphsiththiprasngkh phrhmwngsannth skulnisubechuxsayphanthangthawphrhmwngsa phukhxrbphrarachthannamskulkhux rxngxamatyoth phraxublkarprachanity buychu phrhmwngsannth xditkhahlwngbriewnxublrachthani 2450 thxngphithks skulnisubechuxsayphanthangecaxuphad sudta echsthakhxngphraphrhmrachwngsa kuthxng suwrrnkut phrarachoxrsinecaphraprathumwrrachsuriywngs xmrdlic skulnisubechuxsayphanthangphraxmrdlic xm suwrrnkut ecaemuxngtrakarphuchphlxngkhaerk thanepnbutrinphraphrhmwrrachsuriywngs kuthxng suwrrnkut ecaemuxngxublrachthaniladbthi 3 aelaepnekhyinecaphukhrxngnkhrcapaskdi othnubl skulnisubechuxsayphanthangecaemuxngmhachnachy hruxthawkhaphun suwrrnkut phuepnbutrinphraphrhmwrrachsuriywngs kuthxng suwrrnkut ecaemuxngxublrachthaniladbthi 3 odyphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwphrarachthannamthawkhaphunwa phraeruxngchychna ecaemuxngmhachnachy khuntrngtxemuxngxublrachthani txmaphayhlngemuxngmhachnachyidthukldthanaepnxaephxphayitkarpkkhrxngkhxngemuxngxublrachthani odymihlwngwthnwngs othnubl othn suwrrnkut phuepnnddainphraeruxngchychna epnnayxaephxkhnaerkxnung thayathbutrhlansayidkdihruxskulidkdi thithuxkaenidcakechuxsaykhxngecaphraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng aelaecanaytuyphramehsi nnnbwaepnphusubechuxsaycakrachwngsnbidthung 3 rachwngs xnidaek rachwngslanchangewiyngcnthn rachwngsechiyngrungaesnhwifa aelarachwngslanchangcapaskdiphngsawli aekikhphngsawlikhxngecaphraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng n xubl phraecankhrechiyngrungaesnhwifa phraecasuwrrnpangkha ecapangkha aehngnkhrekhuxnkhnthkabaekwbwban phramehsi ecaphrawrrachpita ecaphrata aehngnkhrekhuxnkhnthkabaekwbwban phraecasuriywngsathrrmikrach aehngxanackrlanchang phrarachoxrsphraecasuriywngsathrrmikrach phramehsi phrarachnddainphraecasuriywngsathrrmikrach phrachaya phraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng phrarachbida phranangbusdiethwi phrarachmarda xangxing aekikhhmxmxmrwngswicitr hmxmrachwngspthm khencr phngsawdarhwemuxngmnthlxisan tiphimphinprachumphngsawdar phakh 4 baephy n xubl aelakhna xublrachthani 200 pi krungethph chwnphimph 2535 etim wiphakhyphcnkic prawtisastrxisan krungethph sankphimphsmakhmsngkhmsastraehngpraethsithy 2513 khnakrrmkarcdphimphexksarthangprawtisastr sanknaykrthmntri eruxngthrngtngecapraethsrachkrungrtnoksinthrrchkalthi 1 krungethph sankthrrmeniybnaykrthmntri 2514 http www guideubon com news view php t 5 amp s id 1 amp d id 1 amp page 1 http www moc go th opscenter ub Touring 20 amp 20Interest 20place Toongsrimuang 20Park htm http guideubon com news view php t 15 amp s id 16 amp d id 16 http www sac or th databases inscriptions inscribe image detail php id 2494 https th wikisource org wiki E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 kxnhna ecaphraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng n xubl thdiperimtngemuxngxublrachthani phuwarachkarcnghwdxublrachthani ph s 2325 ph s 2338 phraphrhmwrrachsuriywngsekhathungcak https th wikipedia org w index php title ecaphraprathumwrrachsuriywngs ecakhaphng n xubl amp oldid 9302970, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม