fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษากงกณี

ภาษากงกณี (อักษรเทวนาครี: कोंकणी ; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมลยาฬัม:കൊംകണീ ; อักษรโรมัน: Konknni) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน แต่เดิมเชื่อกันว่าภาษานี้เป็นภาษาถิ่นของภาษามราฐี แต่หลักฐานที่พบภาษากอนกานีเกิดก่อนภาษามราฐีนานมาก จารึกภาษากอนกานีพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 1730 ขณะที่จารึกภาษามราฐีพบครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. 2100

ภาษากงกณี
कोंकणी Konknni ಕೊಂಕಣಿ കൊംകണീ koṃkaṇī
"กงกณี" ที่เขียนในอักษรเทวนาครี
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย
ภูมิภาคกอนกาน
จำนวนผู้พูด7.6 ล้านคน(ค่าประมาณ)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรเทวนาครี(ทางการ), อักษรละติน, อักษรกันนาดา, อักษรมลยาฬัม และ อักษรอาหรับ
รหัสภาษา
ISO 639-2kok
ISO 639-3มีหลากหลาย:
kok — ภาษากอนกานี (ทั่วไป)
knn — ภาษากอนกานี (เฉพาะ)
gom — ภาษากอนกานีถิ่นกัว

ลักษณะ

ภาษากอนกานีเป็นภาษาที่มีความหลากหลายในด้านการเรียงประโยคและรูปลักษณ์ของภาษา ไม่อาจจำแนกได้ว่าเป็นภาษาที่ใช้การเน้นเสียงหรือเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ เป็นภาษาที่แยกเสียงสั้นยาวของสระเช่นเดียวกับภาษาในกลุ่มอินโด-อารยันอื่น ๆ พยางค์ที่มีสระเสียงยาวมักเป็นพยางค์ที่เน้น

ภาษากอนกานีมีสระพื้นฐาน 16 เสียง พยัญชนะ 36 เสียง เสียงกึ่งสระ 5 เสียง เสียงออกตามไรฟัน 3 เสียง เสียงระบายลม 1 เสียง และมีเสียงประสมจำนวนมาก ความแตกต่างของสระนาสิกเป็นลักษณะพิเศษของภาษากอนกานี

สระ

Front Near-front Central Near-back Back
Close
 
i •
• u
ɪ •
• ʊ
e •
• ɵ
• o
ɛ •
ʌ • ɔ
æ
ɐ
a •
• ɒ
Near‑close
Close‑mid
Mid
Open‑mid
Near‑open
Open

พยัญชนะ

พยัญชนะ
  Labial Dental Alveolar Retroflex Alveopalatal Velar Glottal
ไม่ก้อง
กัก
p

t̪ʰ
  ʈ
ʈʰ

cɕʰ
k
 
ก้อง
กัก
b

d̪ʰ
  ɖ
ɖʰ
ɟʝ
ɟʝʰ
ɡ
ɡʰ
 
ไม่ก้อง
เสียดแทรก
    s   ɕ   h
นาสิก m

n̪ʰ
  ɳ
ɳʰ
ɲ ŋ  
เสียงเหลว ʋ
ʋʰ
  l ɾ
ɾʰ
ɭ ɽ j    

ประวัติ

จุดเริ่มต้น

ภาษากอนกานีพัฒนาขึ้นในบริเวณกอนกานซึ่งเป็นฉนวนแผ่นดินแคบ ๆ ระหว่างเขตภูเขาสหยทริและทะเลอาหรับทางฝั่งตะวันตกของอินเดีย โดยเฉพาะในโคมันตัก (ปัจจุบันคือกัว) ทฤษฎีเกี่ยวกับกำเนิดของภาษากอนกานีมีสองแบบคือ

  • ต้นกำเนิดของภาษากอนกานีคือกลุ่มพราหมณ์สรสวัต ผู้อยู่ตามฝั่งแม่น้ำสรวสวตีในอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือเมื่อประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว จากการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำเมื่อราว 1,357 ปีก่อนพุทธศักราช ทำให้มีการอพยพ กลุ่มผู้อพยพกลุ่มหนึ่งเข้ามาตั้งหลักแหล่งในบริเวณโคมันตัก คนกลุ่มนี้พูดภาษาปรากฤต (ภาษาเศารเสนี) ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นภาษากอนกานี
  • ภาษากอนกานีเป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในหมู่ชาวโกกนาซึ่งถูกทำให้เป็นสันสกฤต ชนกลุ่มนี้ปัจจุบันอยู่ในทางเหนือของรัฐมหาราษฏระและทางใต้ของรัฐคุชราตแต่อาจจะมีต้นกำเนิดมาจากเขตกอนกาน ผู้อพยพชาวอารยันที่เข้าสู่กอนกานนำภาษาของคนในท้องถิ่นมาใช้และเพิ่มศัพท์จากภาษาปรากฤตและภาษาสันสกฤตเข้าไป

ช่วงแรก

ภาษากอนกานีเป็นภาษาหลักในกัว เริ่มแรกเขียนด้วยอักษรพราหมี ต่อมาจึงเขียนด้วยอักษรเทวนาครี ใช้ในทางศาสนาและการค้ารวมทั้งในชีวิตประจำวัน

กลุ่มชนอื่น ๆ ที่ใช้ภาษากอนกานีสำเนียงต่าง ๆ ได้แก่ชาวกอนกานมุสลิมในเขตรัตนกาลีและภัตกัล ซึ่งมีลักษณะของภาษาอาหรับเข้ามาปนมาก ชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ใช้ภาษากอนกานีคือชาวสิททิสซึ่งมาจากเอธิโอเปีย

การอพยพและการแยกเป็นส่วน

การเข้ามาของโปรตุเกสทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงมากในหมู่ของชาวกอนกานี ชาวกอนกานีบางส่วนเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์และอิทธิพลทางศาสนาของโปรตุเกสทำให้ชาวกอนกานีบางส่วนอพยพออกไป การแบ่งแยกระหว่างชาวกอนกานีที่นับถือศาสนาฮินดูและคริสต์ทำให้ภาษากอนกานีแตกเป็นหลายสำเนียงยิ่งขึ้น

ภาษานี้แพร่ไปสู่เขตจนระหรือกรวลี (ชายฝั่งของการณตกะ) โกกัน-ปัตตะ (ชายฝั่งกอนกาน ส่วนของรัฐมหาราษฏระ) และรัฐเกราลาในช่วง 500 ปีหลัง การอพยพของชาวกอนกานีมีสาเหตุมาจากการปกครองกัวของโปรตุเกส

การอพยพของชาวคริสต์และฮินดูเกิดเป็น 3 ระลอก การอพยพครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2103 ซึ่งเป็นช่วงแรกที่โปรตุเกสเข้ามาปกครองกัว ครั้งที่ 2 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2114 ในสงครามกับสุลต่านพิชปูร์ การอพยพครั้งที่ 3 เกิดขึ้นระหว่างสงครามในช่วง พ.ศ. 2226 - 2283 การอพยพในช่วงแรกเป็นผู้นับถือศาสนาฮินดู ส่วนสองครั้งหลัง ส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต์

ภาษากอนกานีในกัวของโปรตุเกส

ในช่วงแรกของการเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส มิชชันนารีให้ความสำคัญกับการแปลคัมภีร์ศาสนาคริสต์เป็นภาษาท้องถิ่นทั้งภาษากอนกานีและภาษามราฐีจนกระทั่ง พ.ศ. 2227 โปรตุเกสห้ามใช้ภาษาถิ่นในเขตปกครองของตน ซึ่งถือว่าเป็นภาษาสำหรับศาสนาฮินดู ให้ใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการแทน ทำให้การใช้ภาษากอนกานีลดลงและทำให้ภาษาโปรตุเกสมีอิทธิพลต่อภาษากอนกานีสำเนียงของชาวคริสต์มาก ส่วนชาวกอนกานีที่นับถือศาสนาฮินดูใช้ภาษามราฐีเป็นภาษาทางศาสนา และจากความสัมพันธ์ในอดีตระหว่างภาษากอนกานีและภาษามราฐี ทำให้ชาวกอนกานีส่วนใหญ่พูดภาษามราฐีเป็นภาษาที่สองและปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันของชาวฮินดูในกัวรวมทั้งชาวกอนกานีด้วย ชาวคริสต์ชั้นสูงใช้ภาษากอนกานีกับชนชั้นที่ต่ำกว่าและยากจน ส่วนในสังคมของตนใช้ภาษาโปรตุเกส

ผู้อพยพชาวกอนกานีนอกกัวยังคงใช้ภาษากอนกานีและภาษามีความแตกต่างกันมากยิ่งขึ้น มีการเขียนภาษากอนกานีด้วยอักษรเทวนาครีในรัฐมหาราษฏระ ในขณะที่ผู้พูดในรัฐกรนาฏกะเขียนด้วยอักษรกันนาดา

การฟื้นฟูภาษากอนกานี

สถานะของภาษากอนกานีจัดว่าน่าเป็นห่วง มีการใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการและภาษาทางสังคมในหมู่ชาวคริสต์ ในหมู่ชาวฮินดูนิยมใช้ภาษามราฐีมากกว่าและมีการแบ่งแยกระหว่างชาวคริสต์และชาวฮินดูมากขึ้น

ยุคหลังได้รับเอกราช

หลังจากอินเดียได้รับเอกราช กัวได้รวมเข้ากับอินเดียเมื่อ พ.ศ. 2504 ได้เกิดข้อโต้แย้งในกัวเกี่ยวกับสถานะของภาษากอนกานีในฐานะภาษาเอกเทศและอนาคตของกัวว่าจะรวมเข้ากับรัฐมหาราษฏระหรือเป็นรัฐต่างหากต่อไป บทสรุปปรากฏว่ากัวเลือกเป็นรัฐต่างหากใน พ.ศ. 2510 ส่วนในด้านภาษา ภาษาที่มีการใช้มากภายในรัฐได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฮินดี ภาษามราฐี ส่วนภาษากอนกานียังไม่ได้รับการใส่ใจ

การกำหนดให้เป็นภาษาเอกเทศ

ในขณะที่มีความเชื่อว่าภาษากอนกานีเป็นสำเนียงของภาษามราฐีไม่ใช่ภาษาเอกเทศ สุนิต กุมาร จัตเตร์ชี ประธานคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์แห่งชาติได้จัดการประชุมทางวิชาการเกี่ยวกับข้อโต้แย้งนี้และได้บทสรุปเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ว่าภาษากอนกานีเป็นภาษาเอกเทศ

สถานะการเป็นภาษาราชการ

กลุ่มผู้รักภาษากอนกานีได้เรียกร้องให้ภาษากอนกานีเป็นภาษาประจำรัฐกัวใน พ.ศ. 2529 ในที่สุดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 รัฐกัวยอมรับให้ภาษากอนกานีเป็นภาษาราชการของรัฐ และได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาประจำชาติของอินเดียเมื่อ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2535

ปัญหา

ภาษากอนกานีเป็นภาษาที่ใกล้ตายเพราะ

  • การแตกแยกเป็นส่วน ๆ ของภาษากอนกานี ทำให้ไม่มีสำเนียงกลางที่เข้าใจระหว่างกันได้
  • การแพร่หลายของวัฒนธรรมตะวันตกในอินเดีย
  • ชาวกอนกานีที่นับถือศาสนาฮินดูในกัวและบริเวณชายฝั่งของรัฐมหาราษฏระ ส่วนใหญ่ใช้ภาษามราฐีได้ด้วย
  • ผู้นับถือศาสนาอิสลามหันไปใช้ภาษาอูรดู
  • ปัญหาการติดต่อของชาวกอนกานีที่มีศาสนาต่างกัน และภาษากอนกานีไม่ได้เป็นภาษาสำคัญทางศาสนา ชาวกอนกานีมักติดต่อในกลุ่มที่นับถือศาสนาเดียวกันและหลีกเลี่ยงการติดต่อระหว่างกลุ่มที่มีศาสนาต่างกัน
  • การอพยพของชาวกอนกานีไปยังบริเวณอื่น ๆ ของอินเดียและทั่วโลก
  • การขาดโอกาสที่จะเรียนภาษากอนกานีในโรงเรียน มีโรงเรียนที่สอนภาษากอนกานีไม่กี่แห่งในกัว ประชาชนที่อยู่นอกเขตที่ใช้ภาษากอนกานีไม่มีโอกาสได้เรียนภาษากอนกานีแม้ตะในแบบไม่เป็นทางการ
  • ความนิยมของประชาชนที่นิยมพูดกับเด็ก ๆ ด้วยภาษาที่ใช้ทำมาหากิน ไม่ใช่ภาษาแม่ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ภาษาอังกฤษของเด็กดีขึ้น

มีความพยายามที่จะฟื้นฟูภาษากอนกานีโดยเฉพาะความพยายามของเศนอย โคเอมพับ ที่พยายามสร้างความสนใจวรรณกรรมภาษากอนกานีขึ้นอีกครั้ง มีองค์ที่สนับสนุนการใช้ภาษากอนกานี เช่น กอนกาน ไทซ ยตระ ที่บริหารโดยมันเดล และองค์กรที่ใหม่กว่าอย่างเช่น วิศวะ กอนกานี ปาริศัด

การใช้หลายภาษา

จากการสำรวจในอินเดีย ผู้พูดภาษากอนกานีพูดได้หลายภาษา ใน พ.ศ. 2544 ค่าเฉลี่ยทั้งประเทศมีผู้ใช้สองภาษาร้อยละ 19.44 และใช้สามภาษาร้อยละ 7.26 ในขณะที่เฉพาะผู้พูดภาษากอนกานี มีผู้ใช้สองภาษาร้อยละ 74.2 และใช้สามภาษาร้อยละ 44.68 ทำให้ชุมชนของชาวกอนกานีเป็นชุมชนของผู้ใช้หลายภาษาในอินเดีย เหตุผลหนึ่งน่าจะมาจากการที่ขาดโรงเรียนที่สอนด้วยภาษากอนกานีเป็นภาษาแรกหรือภาษาที่สอง

การใช้หลายภาษาไม่ใช่สิ่งที่ผิดแต่เป็นการชี้ให้เห็นว่าภาษากอนกานีเป็นภาษาที่ไม่เกิดการพัฒนา ผู้พูดภาษากอนกานีที่ใช้ภาษามราฐีในกัวและมหราราษฏระเชื่อว่าภาษากอนกานีเป็นสำเนียงของภาษามราฐี

ข้อโต้แย้งระหว่างภาษากอนกานีและภาษามราฐี

มีการกล่าวอ้างมานานแล้วว่าภาษากอนกานีเป็นสำเนียงของภาษามราฐีและไม่ใช่ภาษาเอกเทศ ซึ่งมีเหตุผลหลายประการ ได้แก่ ความใกล้เคียงระหว่างภาษามราฐีและภาษากอนกานี ความใกล้เคียงทางภูมิศาสตร์ระหว่างกัวและมหาราษฏระ อิทธิพลอย่างชัดเจนของภาษามราฐีต่อภาษากอนกานีสำเนียงที่ใช้พูดในรัฐมหาราษฏระ การที่ภาษากอนกานีมีวรรณกรรมน้อยและชาวกอนกานีที่นับถือศาสนาฮินดูจะใช้ภาษามราฐีเป็นภาษาที่สอง ทำให้งานเขียนของ Jose Pereira ใน พ.ศ. 2514 กล่าวว่าภาษากอนกานีเป็นสำเนียงของภาษามราฐี งานเขียนของ S. M. Katre ใน พ.ศ. 2509 ได้ใช้การศึกษาทางประวัติศาสตร์สมัยใหม่และเปรียบเทียบสำเนียงของภาษากอนกานีหกสำเนียงได้สรุปว่าจุดกำเนิดของภาษากอนกานีต่างจากภาษามราฐี เศนอย โคเอมพับ ผู้มีบทบาทสำคัญในการฟื้นฟูภาษากอนกานี ได้ต่อต้านการใช้ภาษามราฐีในหมู่ชาวฮินดูและการใช้ภาษาโปรตุเกสในหมู่ของชาวคริสต์

การรวมของกัวเข้ากับอินเดียเมื่อ พ.ศ. 2504 เป็นเวลาที่รัฐในอินเดียมีการจัดตัวใหม่ตามเส้นแบ่งทางภาษา มีความต้องการที่จะรวมกัวเข้ากับรัฐมหาราษฏระเพราะในกัวมีผู้พูดภาษามราฐีจำนวนมาก และภาษากอนกานีถูกจัดให้เป็นสำเนียงของภาษามราฐี ดังนั้นสถานะของภาษากอนกานีในฐานะภาษาเอกเทศหรือเป็นสำเนียงของภาษามราฐีจึงเป็นหัวข้อทางการเมืองในการรวมรัฐกัวด้วย

องค์กรวิชาการสาหิตยะในอินเดียยอมรับภาษากอนกานีในฐานะภาษาเอกเทศเมื่อ พ.ศ. 2518 และภาษากอนกานีที่เขียนด้วยอักษรเทวนาครีได้เป็นภาษาราชการของกัวใน พ.ศ. 2530

การแพร่กระจาย

ภาษกอนกานีใช้พูดทั่วไปในเขตกอนกาน ซึ่งรวมถึง กัว ชายฝั่งตอนใต้ของรัฐมหาราษฏระ ชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ และรัฐเกราลา แต่ละท้องถิ่นมีสำเนียงของตนเอง การแพร่กระจายของผู้พูดภาษานี้มีสาเหตุหลักจากการออพยพของชาวกัวเพื่อหลบหนีการปกครองของโปรตุเกส

ระบบการเขียน

ภาษากอนกานีเขียนด้วยอักษณหลายชนิด ทั้ง อักษรเทวนาครี อักษรโรมัน (เริ่มสมัยอาณานิคมของโปรตุเกส) อักษรกันนาดา ใช้ในเขตมันกาลอร์ และชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ อักษรอาหรับในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่เรียกว่า ภัทกาลี ชนกลุ่มนี้หันมานับถือศาสนาอิสลามในสมัยสุลต่านทิบบู อยู่ในเขตรัฐการณาฏกะ มีผู้เขียนด้วยอักษรมลยาฬัมกลุ่มเล็ก ๆ ในเกราลา แต่ปัจจุบันเริ่มหันมาใช้อักษรเทวนาครีแทน

อักษรที่ใช้เขียนภาษากอนกานี
IPA อักษรเทวนาครีปรับปรุง อักษรเทวนาครีมาตรฐาน อักษรละติน อักษรกันนาดา อักษรมลยาฬัม อักษรอาหรับ
/ɵ/ o ಅ/ಒ ?
/aː/ a ?
/i/ i ?
/iː/ i ?
/u/ u ?
/uː/ u ?
/e/ e ?
/ɛ/ e ?
æ no symbol /e/ ಎ or ಐ ?
/ɵi/ ai/oi ?
/o/ o ?
/ɔ/ o ?
/ɵu/ au/ou ?
/ⁿ/ अं अं om/on ಅಂ അം ?
/k/ k ಕ್ ക് ک
/kʰ/ kh ಖ್ ഖ് که
/g/ g ಗ್ ഗ് ک
/gʱ/ gh ಘ್ ഘ് گه
/ŋ/ ंग ng ങ് ڭ
/ts/ च़ च़ ch ಚ್ ത്സ് څ
/c/ ch ಚ್ ച് چ
/cʰ/ chh ಛ್ ഛ് چه
/z/ ज़ ज़ z ? ز
/ɟ/ j ಜ್ ജ് ج
/zʰ/ झ़ झ़ zh ಝ್ ? زه
/ɟʱ/ jh ಝ್ ഝ് جه
/ɲ/ nh ഞ് ڃ
/ʈ/ tt ಟ್ ട് ټ
/ʈʰ/ tth ಠ್ ഠ് ټه
/ɖ/ dd ಡ್ ഡ് ډ
/ɖʱ/ ddh ಢ್ ഢ് ډه
/ɳ/ nn ಣ್ ണ് ڼ
/t̪/ t ತ್ ത് ت
/t̪ʰ/ th ಥ್ ഥ് ته
/d̪/ d ದ್ ദ് د
/d̪ʰ/ dh ಧ್ ധ് ده
/n/ n ನ್ ന് ن
/p/ p ಪ್ പ് پ
/f/ फ़ f ಫ್ ? ف
/b/ b ಬ್ ബ് ب
/bʱ/ bh ಭ್ ഭ് به
/m/ m ಮ್ മ് م
/j/ i/e/ie ಯ್ യ് ې
/ɾ/ r ರ್ ര് ر
/l/ l ಲ್ ല് ل
/ʃ/ x ಶ್ ഷ് ش
/ʂ/ x ಷ್ ശ് ?
/s/ s ಸ್ സ് س
/ɦ/ h ಹ್ ഹ് ?
/ɭ/ ll ಳ್ ള് ?
/ʋ/ v ವ್ വ് ڤ

การเขียนและหัวข้อเรื่องสำเนียง

ปัญหาทางด้านการใช้ระบบการเขียนหลายชนิดและสำเนียงที่ต่างกันกลายเป็นปัญหาสำคัญในการทำให้ภาษากอนกานีเป็นเอกภาพ การตัดสินใจให้ใช้อักษรเทวนาครีเป็นอักษรทางการและให้สำเนียงอันตรุซเป็นสำเนียงมาตรฐานทำให้มีข้อโต้แย้งตามมา สำเนียงอันตรุซเป็นสำเนียงที่ชาวกัวส่วนใหญ่ไม่เข้าใจและต่างจากภาษากอนกานีสำเนียงอื่น และอักษรเทวนาครีมีการใช้น้อยเมื่อเทียบกับอักษรโรมันในกัวและอักษรกันนาดาในบริเวณชายฝั่งของรัฐกรนาฏกะ ชาวคริสต์คาทอลิกในกัวได้ใช้อักษรโรมันในการเขียนงานวรรณกรรมและต้องการให้อักษรโรมันเป็นอักษรทางการเทียบเท่าอักษรเทวนาครี

ในกรนาฏกะที่มีผู้พูดภาษากอนกานีจำนวนมาก ได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์ให้ใช้อักษรกันนาดาเขียนภาษากอนกานีในโรงเรียนท้องถิ่นแทนอักษรเทวนาครี ในปัจจุบันไม่มีอักษรชนิดใดหรือสำเนียงใดเป็นที่เข้าใจหรือได้รับการยอมรับจากทุกส่วน การที่ขาดสำเนียงที่เป็นกลางและเข้าใจกันได้ทั่วไป ทำให้ผู้พูดภาษากอนกานีต่างสำเนียงกันต้องสื่อสารกันด้วยภาษาอื่น

อ้างอิง

  1. http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=knn
  2. http://www.ethnologue.com/show_family.asp?subid=92010
  3. Caroline Menezes (The National Institute for Japanese language, Tokyo, Japan). "The question of Konkani?" (PDF). Project D2, Typology of Information Structure". สืบค้นเมื่อ 2008-02-10.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  4. Origins of the Konkani Language - Krishnanand Kamat
  5. Tracing the Roots of the Konkani Language - Dr. Nandkumar Kamat
  6. People of India - Siddis
  7. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-09-28. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Konkani Sammelan: Biennial event in North America
  • Learn GSB Konkani online
  • Learn Mangalorean Konkani online 2006-06-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Ethnologue report for Konkani
  • The Origins of the Konkani Language
  • Mother Tongue blues by Madhavi Sardesai
  • List of Prominent Konkanis
  • An excellent article on Konkani history and literature by Goa Konkani Academi
  • Online Konkani (GSB) dictionary
วิกิมีเดีย อินคิวเบเตอร์ มีการทดสอบโครงการ:
วิกิพีเดียในภาษากงกณี

ภาษากงกณ, กษรเทวนาคร, कण, กษรก, นนาดา, ಕಣ, กษรมลยาฬ, കണ, กษรโรม, konknni, เป, นภาษากล, มอ, นโด, อารย, โดยม, คำศ, พท, จากภาษาดราว, เด, ยนปนอย, วย, ได, บอ, ทธ, พลจากภาษาอ, นหลายภาษา, งภาษาโปรต, เกส, ภาษาก, นนาดา, ภาษามราฐ, ภาษาเปอร, เซ, และภาษาอาหร, ดประมาณ, านค. phasakngkni xksrethwnakhri क कण xksrknnada ಕ ಕಣ xksrmlyalm ക കണ xksrormn Konknni epnphasaklumxinod xaryn odymikhasphthcakphasadrawiediynpnxyudwy idrbxiththiphlcakphasaxunhlayphasa thngphasaoprtueks phasaknnada phasamrathi phasaepxresiy aelaphasaxahrb miphuphudpraman 7 6 lankhn 1 2 aetedimechuxknwaphasaniepnphasathinkhxngphasamrathi aethlkthanthiphbphasakxnkaniekidkxnphasamrathinanmak carukphasakxnkaniphbkhrngaerkemux ph s 1730 khnathicarukphasamrathiphbkhrngaerk emuxraw ph s 2100phasakngkniक कण Konknni ಕ ಕಣ ക കണ koṃkaṇi kngkni thiekhiyninxksrethwnakhripraethsthimikarphudxinediyphumiphakhkxnkancanwnphuphud7 6 lankhn khapraman imphbwnthi trakulphasaxinod yuorepiyn phasaklumxinod xiereniynphasaklumxinod xarynphasaklumxinod xaynitphasakngknirabbkarekhiynxksrethwnakhri thangkar xksrlatin xksrknnada xksrmlyalm aela xksrxahrbrhsphasaISO 639 2kokISO 639 3mihlakhlay kok phasakxnkani thwip knn phasakxnkani echphaa gom phasakxnkanithinkw enuxha 1 lksna 1 1 sra 1 2 phyychna 2 prawti 2 1 cuderimtn 2 2 chwngaerk 2 3 karxphyphaelakaraeykepnswn 2 4 phasakxnkaniinkwkhxngoprtueks 3 karfunfuphasakxnkani 3 1 yukhhlngidrbexkrach 3 2 karkahndihepnphasaexkeths 3 3 sthanakarepnphasarachkar 4 pyha 4 1 karichhlayphasa 5 khxotaeyngrahwangphasakxnkaniaelaphasamrathi 6 karaephrkracay 7 rabbkarekhiyn 7 1 karekhiynaelahwkhxeruxngsaeniyng 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunlksna aekikhphasakxnkaniepnphasathimikhwamhlakhlayindankareriyngpraoykhaelaruplksnkhxngphasa imxaccaaenkidwaepnphasathiichkarennesiynghruxepnphasathimiwrrnyukt 3 epnphasathiaeykesiyngsnyawkhxngsraechnediywkbphasainklumxinod xarynxun phyangkhthimisraesiyngyawmkepnphyangkhthiennphasakxnkanimisraphunthan 16 esiyng phyychna 36 esiyng esiyngkungsra 5 esiyng esiyngxxktamirfn 3 esiyng esiyngrabaylm 1 esiyng aelamiesiyngprasmcanwnmak khwamaetktangkhxngsranasikepnlksnaphiesskhxngphasakxnkani sra aekikh Front Near front Central Near back BackClose i u ɪ ʊ e ɵ o ɛ ʌ ɔ ae ɐ a ɒNear closeClose midMidOpen midNear openOpen phyychna aekikh phyychna Labial Dental Alveolar Retroflex Alveopalatal Velar Glottalimkxngkk p pʰ t t ʰ ʈ ʈʰ cɕ cɕʰ k kʰ kxngkk b bʰ d d ʰ ɖ ɖʰ ɟʝ ɟʝʰ ɡ ɡʰ imkxngesiydaethrk s ɕ hnasik m mʰ n n ʰ ɳ ɳʰ ɲ ŋ esiyngehlw ʋ ʋʰ l ɾ lʰ ɾʰ ɭ ɽ j prawti aekikhcuderimtn aekikh phasakxnkaniphthnakhuninbriewnkxnkansungepnchnwnaephndinaekhb rahwangekhtphuekhashythriaelathaelxahrbthangfngtawntkkhxngxinediy odyechphaainokhmntk pccubnkhuxkw thvsdiekiywkbkaenidkhxngphasakxnkanimisxngaebbkhux tnkaenidkhxngphasakxnkanikhuxklumphrahmnsrswt phuxyutamfngaemnasrwswtiinxinediytawntkechiyngehnuxemuxpraman 5 000 pimaaelw cakkarepliynaeplngkhxngaemnaemuxraw 1 357 pikxnphuththskrach thaihmikarxphyph klumphuxphyphklumhnungekhamatnghlkaehlnginbriewnokhmntk khnklumniphudphasaprakvt phasaesaresni sungtxmaphthnaepnphasakxnkani 4 phasakxnkaniepnphasathxngthinthiichphudinhmuchawokknasungthukthaihepnsnskvt chnklumnipccubnxyuinthangehnuxkhxngrthmharastraaelathangitkhxngrthkhuchrataetxaccamitnkaenidmacakekhtkxnkan phuxphyphchawxarynthiekhasukxnkannaphasakhxngkhninthxngthinmaichaelaephimsphthcakphasaprakvtaelaphasasnskvtekhaip 5 chwngaerk aekikh phasakxnkaniepnphasahlkinkw erimaerkekhiyndwyxksrphrahmi txmacungekhiyndwyxksrethwnakhri ichinthangsasnaaelakarkharwmthnginchiwitpracawnklumchnxun thiichphasakxnkanisaeniyngtang idaekchawkxnkanmusliminekhtrtnkaliaelaphtkl sungmilksnakhxngphasaxahrbekhamapnmak chnxikklumhnungthiichphasakxnkanikhuxchawsiththissungmacakexthioxepiy 6 karxphyphaelakaraeykepnswn aekikh karekhamakhxngoprtueksthaihekidkhwamepliynaeplngmakinhmukhxngchawkxnkani chawkxnkanibangswnepliynipnbthuxsasnakhristaelaxiththiphlthangsasnakhxngoprtueksthaihchawkxnkanibangswnxphyphxxkip karaebngaeykrahwangchawkxnkanithinbthuxsasnahinduaelakhristthaihphasakxnkaniaetkepnhlaysaeniyngyingkhunphasaniaephripsuekhtcnrahruxkrwli chayfngkhxngkarntka okkn ptta chayfngkxnkan swnkhxngrthmharastra aelarthekralainchwng 500 pihlng karxphyphkhxngchawkxnkanimisaehtumacakkarpkkhrxngkwkhxngoprtuekskarxphyphkhxngchawkhristaelahinduekidepn 3 ralxk karxphyphkhrngaerkekidkhunemux ph s 2103 sungepnchwngaerkthioprtueksekhamapkkhrxngkw khrngthi 2 ekidemux ph s 2114 insngkhramkbsultanphichpur karxphyphkhrngthi 3 ekidkhunrahwangsngkhraminchwng ph s 2226 2283 karxphyphinchwngaerkepnphunbthuxsasnahindu swnsxngkhrnghlng swnihyepnchawkhrist phasakxnkaniinkwkhxngoprtueks aekikh inchwngaerkkhxngkarepnxananikhmkhxngoprtueks michchnnariihkhwamsakhykbkaraeplkhmphirsasnakhristepnphasathxngthinthngphasakxnkaniaelaphasamrathicnkrathng ph s 2227 oprtuekshamichphasathininekhtpkkhrxngkhxngtn sungthuxwaepnphasasahrbsasnahindu ihichphasaoprtueksepnphasarachkaraethn thaihkarichphasakxnkanildlngaelathaihphasaoprtueksmixiththiphltxphasakxnkanisaeniyngkhxngchawkhristmak swnchawkxnkanithinbthuxsasnahinduichphasamrathiepnphasathangsasna aelacakkhwamsmphnthinxditrahwangphasakxnkaniaelaphasamrathi thaihchawkxnkaniswnihyphudphasamrathiepnphasathisxngaelapccubnepnphasathiichinchiwitpracawnkhxngchawhinduinkwrwmthngchawkxnkanidwy chawkhristchnsungichphasakxnkanikbchnchnthitakwaaelayakcn swninsngkhmkhxngtnichphasaoprtueksphuxphyphchawkxnkaninxkkwyngkhngichphasakxnkaniaelaphasamikhwamaetktangknmakyingkhun mikarekhiynphasakxnkanidwyxksrethwnakhriinrthmharastra inkhnathiphuphudinrthkrnatkaekhiyndwyxksrknnadakarfunfuphasakxnkani aekikhsthanakhxngphasakxnkanicdwanaepnhwng mikarichphasaoprtueksepnphasarachkaraelaphasathangsngkhminhmuchawkhrist inhmuchawhinduniymichphasamrathimakkwaaelamikaraebngaeykrahwangchawkhristaelachawhindumakkhun yukhhlngidrbexkrach aekikh hlngcakxinediyidrbexkrach kwidrwmekhakbxinediyemux ph s 2504 idekidkhxotaeynginkwekiywkbsthanakhxngphasakxnkaniinthanaphasaexkethsaelaxnakhtkhxngkwwacarwmekhakbrthmharastrahruxepnrthtanghaktxip bthsruppraktwakweluxkepnrthtanghakin ph s 2510 swnindanphasa phasathimikarichmakphayinrthidaek phasaxngkvs phasahindi phasamrathi swnphasakxnkaniyngimidrbkarisic karkahndihepnphasaexkeths aekikh inkhnathimikhwamechuxwaphasakxnkaniepnsaeniyngkhxngphasamrathiimichphasaexkeths sunit kumar ctetrchi prathankhnakrrmkarphuechiywchaydanphasasastraehngchatiidcdkarprachumthangwichakarekiywkbkhxotaeyngniaelaidbthsrupemux 26 kumphaphnth ph s 2518 waphasakxnkaniepnphasaexkeths 7 sthanakarepnphasarachkar aekikh klumphurkphasakxnkaniideriykrxngihphasakxnkaniepnphasapracarthkwin ph s 2529 inthisudemuxwnthi 4 kumphaphnth ph s 2530 rthkwyxmrbihphasakxnkaniepnphasarachkarkhxngrth aelaidrbkaryxmrbihepnphasapracachatikhxngxinediyemux 31 singhakhm ph s 2535pyha aekikhphasakxnkaniepnphasathiikltayephraa karaetkaeykepnswn khxngphasakxnkani thaihimmisaeniyngklangthiekhaicrahwangknid karaephrhlaykhxngwthnthrrmtawntkinxinediy chawkxnkanithinbthuxsasnahinduinkwaelabriewnchayfngkhxngrthmharastra swnihyichphasamrathiiddwy phunbthuxsasnaxislamhnipichphasaxurdu pyhakartidtxkhxngchawkxnkanithimisasnatangkn aelaphasakxnkaniimidepnphasasakhythangsasna chawkxnkanimktidtxinklumthinbthuxsasnaediywknaelahlikeliyngkartidtxrahwangklumthimisasnatangkn karxphyphkhxngchawkxnkaniipyngbriewnxun khxngxinediyaelathwolk karkhadoxkasthicaeriynphasakxnkaniinorngeriyn miorngeriynthisxnphasakxnkaniimkiaehnginkw prachachnthixyunxkekhtthiichphasakxnkaniimmioxkasideriynphasakxnkaniaemtainaebbimepnthangkar khwamniymkhxngprachachnthiniymphudkbedk dwyphasathiichthamahakin imichphasaaem odyechphaaphasaxngkvs sungechuxwacathaihphasaxngkvskhxngedkdikhunmikhwamphyayamthicafunfuphasakxnkaniodyechphaakhwamphyayamkhxngesnxy okhexmphb thiphyayamsrangkhwamsnicwrrnkrrmphasakxnkanikhunxikkhrng mixngkhthisnbsnunkarichphasakxnkani echn kxnkan iths ytra thibriharodymnedl aelaxngkhkrthiihmkwaxyangechn wiswa kxnkani parisd karichhlayphasa aekikh cakkarsarwcinxinediy phuphudphasakxnkaniphudidhlayphasa in ph s 2544 khaechliythngpraethsmiphuichsxngphasarxyla 19 44 aelaichsamphasarxyla 7 26 inkhnathiechphaaphuphudphasakxnkani miphuichsxngphasarxyla 74 2 aelaichsamphasarxyla 44 68 thaihchumchnkhxngchawkxnkaniepnchumchnkhxngphuichhlayphasainxinediy ehtuphlhnungnacamacakkarthikhadorngeriynthisxndwyphasakxnkaniepnphasaaerkhruxphasathisxngkarichhlayphasaimichsingthiphidaetepnkarchiihehnwaphasakxnkaniepnphasathiimekidkarphthna phuphudphasakxnkanithiichphasamrathiinkwaelamhrarastraechuxwaphasakxnkaniepnsaeniyngkhxngphasamrathikhxotaeyngrahwangphasakxnkaniaelaphasamrathi aekikhmikarklawxangmananaelwwaphasakxnkaniepnsaeniyngkhxngphasamrathiaelaimichphasaexkeths sungmiehtuphlhlayprakar idaek khwamiklekhiyngrahwangphasamrathiaelaphasakxnkani khwamiklekhiyngthangphumisastrrahwangkwaelamharastra xiththiphlxyangchdecnkhxngphasamrathitxphasakxnkanisaeniyngthiichphudinrthmharastra karthiphasakxnkanimiwrrnkrrmnxyaelachawkxnkanithinbthuxsasnahinducaichphasamrathiepnphasathisxng thaihnganekhiynkhxng Jose Pereira in ph s 2514 klawwaphasakxnkaniepnsaeniyngkhxngphasamrathi nganekhiynkhxng S M Katre in ph s 2509 idichkarsuksathangprawtisastrsmyihmaelaepriybethiybsaeniyngkhxngphasakxnkanihksaeniyngidsrupwacudkaenidkhxngphasakxnkanitangcakphasamrathi esnxy okhexmphb phumibthbathsakhyinkarfunfuphasakxnkani idtxtankarichphasamrathiinhmuchawhinduaelakarichphasaoprtueksinhmukhxngchawkhristkarrwmkhxngkwekhakbxinediyemux ph s 2504 epnewlathirthinxinediymikarcdtwihmtamesnaebngthangphasa mikhwamtxngkarthicarwmkwekhakbrthmharastraephraainkwmiphuphudphasamrathicanwnmak aelaphasakxnkanithukcdihepnsaeniyngkhxngphasamrathi dngnnsthanakhxngphasakxnkaniinthanaphasaexkethshruxepnsaeniyngkhxngphasamrathicungepnhwkhxthangkaremuxnginkarrwmrthkwdwyxngkhkrwichakarsahityainxinediyyxmrbphasakxnkaniinthanaphasaexkethsemux ph s 2518 aelaphasakxnkanithiekhiyndwyxksrethwnakhriidepnphasarachkarkhxngkwin ph s 2530karaephrkracay aekikhphaskxnkaniichphudthwipinekhtkxnkan sungrwmthung kw chayfngtxnitkhxngrthmharastra chayfngkhxngrthkarnatka aelarthekrala aetlathxngthinmisaeniyngkhxngtnexng karaephrkracaykhxngphuphudphasanimisaehtuhlkcakkarxxphyphkhxngchawkwephuxhlbhnikarpkkhrxngkhxngoprtueksrabbkarekhiyn aekikhphasakxnkaniekhiyndwyxksnhlaychnid thng xksrethwnakhri xksrormn erimsmyxananikhmkhxngoprtueks xksrknnada ichinekhtmnkalxr aelachayfngkhxngrthkarnatka xksrxahrbinhmuphunbthuxsasnaxislamthieriykwa phthkali chnklumnihnmanbthuxsasnaxislaminsmysultanthibbu xyuinekhtrthkarnatka miphuekhiyndwyxksrmlyalmklumelk inekrala aetpccubnerimhnmaichxksrethwnakhriaethn xksrthiichekhiynphasakxnkani IPA xksrethwnakhriprbprung xksrethwnakhrimatrthan xksrlatin xksrknnada xksrmlyalm xksrxahrb ɵ अ अ o ಅ ಒ അ aː आ आ a ಆ ആ i इ इ i ಇ ഇ iː ई ई i ಈ ഈ u उ उ u ಉ ഉ uː ऊ ऊ u ಊ ഊ e ए ए e ಎ എ ɛ ऍ ए e ಎ ഏ ae no symbol ए e ಎ or ಐ ഐ ɵi ऐ ऐ ai oi ಐ ഐ o ओ ओ o ಒ ഒ ɔ ऑ ओ o ಒ ഓ ɵu औ ಔ au ou ഔ ⁿ अ अ om on ಅ അ k क क k ಕ ക ک kʰ ख ख kh ಖ ഖ که g ग ग g ಗ ഗ ک gʱ घ घ gh ಘ ഘ گه ŋ ङ ग ng ಙ ങ ڭ ts च च ch ಚ ത സ څ c च च ch ಚ ച چ cʰ छ छ chh ಛ ഛ چه z ज ज z ಜ ز ɟ ज ज j ಜ ജ ج zʰ झ झ zh ಝ زه ɟʱ झ झ jh ಝ ഝ جه ɲ ञ ञ nh ಞ ഞ ڃ ʈ ट ट tt ಟ ട ټ ʈʰ ठ ठ tth ಠ ഠ ټه ɖ ड ड dd ಡ ഡ ډ ɖʱ ढ ढ ddh ಢ ഢ ډه ɳ ण ण nn ಣ ണ ڼ t त त t ತ ത ت t ʰ थ थ th ಥ ഥ ته d द द d ದ ദ د d ʰ ध ध dh ಧ ധ ده n न न n ನ ന ن p प प p ಪ പ پ f फ फ f ಫ ف b ब ब b ಬ ബ ب bʱ भ भ bh ಭ ഭ به m म म m ಮ മ م j य य i e ie ಯ യ ې ɾ र र r ರ ര ر l ल ल l ಲ ല ل ʃ श श x ಶ ഷ ش ʂ ष ष x ಷ ശ s स स s ಸ സ س ɦ ह ह h ಹ ഹ ɭ ळ ळ ll ಳ ള ʋ व व v ವ വ ڤkarekhiynaelahwkhxeruxngsaeniyng aekikh pyhathangdankarichrabbkarekhiynhlaychnidaelasaeniyngthitangknklayepnpyhasakhyinkarthaihphasakxnkaniepnexkphaph kartdsinicihichxksrethwnakhriepnxksrthangkaraelaihsaeniyngxntrusepnsaeniyngmatrthanthaihmikhxotaeyngtamma saeniyngxntrusepnsaeniyngthichawkwswnihyimekhaicaelatangcakphasakxnkanisaeniyngxun aelaxksrethwnakhrimikarichnxyemuxethiybkbxksrormninkwaelaxksrknnadainbriewnchayfngkhxngrthkrnatka chawkhristkhathxlikinkwidichxksrormninkarekhiynnganwrrnkrrmaelatxngkarihxksrormnepnxksrthangkarethiybethaxksrethwnakhriinkrnatkathimiphuphudphasakxnkanicanwnmak idmikarcdkickrrmephuxrnrngkhihichxksrknnadaekhiynphasakxnkaniinorngeriynthxngthinaethnxksrethwnakhri inpccubnimmixksrchnididhruxsaeniyngidepnthiekhaichruxidrbkaryxmrbcakthukswn karthikhadsaeniyngthiepnklangaelaekhaicknidthwip thaihphuphudphasakxnkanitangsaeniyngkntxngsuxsarkndwyphasaxunxangxing aekikh http www ethnologue com show language asp code knn http www ethnologue com show family asp subid 92010 Caroline Menezes The National Institute for Japanese language Tokyo Japan The question of Konkani PDF Project D2 Typology of Information Structure subkhnemux 2008 02 10 CS1 maint multiple names authors list link Origins of the Konkani Language Krishnanand Kamat Tracing the Roots of the Konkani Language Dr Nandkumar Kamat People of India Siddis Sahitya Academy amp Konkani Literature khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 09 28 subkhnemux 2008 06 23 aehlngkhxmulxun aekikhKonkani Sammelan Biennial event in North America Learn GSB Konkani online Learn Mangalorean Konkani online Archived 2006 06 18 thi ewyaebkaemchchin Ethnologue report for Konkani The Origins of the Konkani Language Mother Tongue blues by Madhavi Sardesai List of Prominent Konkanis An excellent article on Konkani history and literature by Goa Konkani Academi Online Konkani GSB dictionary wikimiediy xinkhiwebetxr mikarthdsxbokhrngkar wikiphiediyinphasakngkniekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasakngkni amp oldid 9577670, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม