fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษากงกัณ

ภาษากงกัณ (Kōṅkaṇī) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่พูดโดยชาวกงกัณส่วนใหญ่ในแคว้นชายฝั่งตะวันตก (กงกัณ) ของอินเดีย ซึ่งเป็นหนึ่งใน 22 รายการภาษาที่ถูกระบุในกำหนดรายการที่แปดของรัฐธรรมนูญอินเดีย และเป็นภาษาทางการของกัว จารึกภาษากงกัณอักแรกเขียนใน ค.ศ. 1187 ภาษานี้เป็นภาษาชนกลุ่มน้อยในรัฐกรณาฏกะ, รัฐมหาราษฏระ, รัฐเกรละ, รัฐคุชราตและดาดราและนครหเวลี และดามันและดีอู

ภาษากงกัณ
कोंकणी / ಕೊಂಕಣಿ/ Konknni/ കോങ്കണീ/ کونکڼی
"กงกัณ" ที่เขียนในอักษรเทวนาครี
ออกเสียง[kõkɳi] (ตัวภาษา), [kõkɵɳi] (แผลงเป็นอังกฤษ)
ประเทศที่มีการพูดประเทศอินเดีย
ภูมิภาคกงกัณ (รวมกัวและพื้นที่ชายฝั่งของรัฐกรณาฏกะ, มังคาลอร์, รัฐมหาราษฏระและบางส่วนของรัฐเกรละ, รัฐคุชราต (Dang district) และ Dadra and Nagar Haveli and Daman and Diu)
ชาติพันธุ์ชาวกงกัณ
จำนวนผู้พูด2.3 ล้าน  (2011 census)
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
กลุ่มสำเนียง: Canara Konkani, Goan Konkani, Maharashtrian Konkani
สำเนียงเฉพาะ: Malvani, Mangalorean, Chitpavani, Antruz, Bardeskari, Saxtti, Daldi, Pednekari, Koli และ Aagri
ระบบการเขียนอดีต:
พราหมี
Nāgarī
Goykanadi
โมฑี
ปัจจุบัน: เทวนาครี (ทางการ)
โรมัน
กันนาดา
มลยาฬัม
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ อินเดีย
ผู้วางระเบียบKarnataka Konkani Sahitya Academy และรัฐบาลกัว
รหัสภาษา
ISO 639-2kok
ISO 639-3kok – รหัสรวม
รหัสเอกเทศ:
gom — Goan Konkani
knn — [[Maharashtrian Konkani]]
พื้นที่ที่มีผ้พูดภาษากงกัณเป็นภาษาแม่ในประเทศอินเดีย

ลักษณะ

ภาษากงกัณ (กงกณีภาษา) เป็นภาษาที่มีความหลากหลายในด้านการเรียงประโยคและรูปลักษณ์ของภาษา ไม่อาจจำแนกได้ว่าเป็นภาษาที่ใช้การเน้นเสียงหรือเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ เป็นภาษาที่แยกเสียงสั้นยาวของสระเช่นเดียวกับภาษาในกลุ่มอินโด-อารยันอื่น ๆ พยางค์ที่มีสระเสียงยาวมักเป็นพยางค์ที่เน้น

ภาษากงกัณมีสระพื้นฐาน 16 เสียง พยัญชนะ 36 เสียง เสียงกึ่งสระ 5 เสียง เสียงออกตามไรฟัน 3 เสียง เสียงระบายลม 1 เสียง และมีเสียงประสมจำนวนมาก ความแตกต่างของสระนาสิกเป็นลักษณะพิเศษของภาษากงกัณ

สระ

สระ
หน้า กลาง หลัง
ปิด i ĩ u ũ
กลางปิด e ɵ ɵ̃ o õ
กลางเปิด ɛ ɛ̃ ʌ ɔ ɔ̃
เปิด (æ) a ã

พยัญชนะ

พยัญชนะ
ริมฝีปาก ฟัน/
ปุ่มเหงือก
ปลายลิ้นม้วน หลัง
ปุ่มเหงือก
เพดานอ่อน เส้นเสียง
หยุด p (pʰ)
b
t
d
ʈ ʈʰ
ɖ ɖʱ
k
ɡ ɡʱ
 
กักเสียดแทรก ts tsʰ
dz dzʱ
tɕʰ
dʑʱ
 
เสียดแทรก f  s   ɕ   h
นาสิก m n ɳ ɳʱ ɲ ŋ
เหลว ʋ ʋʱ ɾ ɾʱ
l
ɽ
แม่แบบ:PUA
j    

ประวัติ

จุดเริ่มต้น

ภาษากงกัณพัฒนาขึ้นในบริเวณกงกัณซึ่งเป็นฉนวนแผ่นดินแคบ ๆ ระหว่างเขตภูเขาสหยทริและทะเลอาหรับทางฝั่งตะวันตกของอินเดีย โดยเฉพาะในโคมันตัก (ปัจจุบันคือกัว) ทฤษฎีเกี่ยวกับกำเนิดของภาษากงกัณมีสองแบบคือ

  • ต้นกำเนิดของภาษากงกัณคือกลุ่มพราหมณ์สรสวัต ผู้อยู่ตามฝั่งแม่น้ำสรวสวตีในอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือเมื่อประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว จากการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำเมื่อราว 1,357 ปีก่อนพุทธศักราช ทำให้มีการอพยพ กลุ่มผู้อพยพกลุ่มหนึ่งเข้ามาตั้งหลักแหล่งในบริเวณโคมันตัก คนกลุ่มนี้พูดภาษาปรากฤต (ภาษาเศารเสนี) ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นภาษากงกัณ
  • ภาษากงกัณเป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในหมู่ชาวโกกนาซึ่งถูกทำให้เป็นสันสกฤต ชนกลุ่มนี้ปัจจุบันอยู่ในทางเหนือของรัฐมหาราษฏระและทางใต้ของรัฐคุชราตแต่อาจจะมีต้นกำเนิดมาจากเขตกงกัณ ผู้อพยพชาวอารยันที่เข้าสู่กงกัณนำภาษาของคนในท้องถิ่นมาใช้และเพิ่มศัพท์จากภาษาปรากฤตและภาษาสันสกฤตเข้าไป

ช่วงแรก

ภาษากงกัณเป็นภาษาหลักในกัว เริ่มแรกเขียนด้วยอักษรพราหมี ต่อมาจึงเขียนด้วยอักษรเทวนาครี ใช้ในทางศาสนาและการค้ารวมทั้งในชีวิตประจำวัน

กลุ่มชนอื่น ๆ ที่ใช้ภาษากงกัณสำเนียงต่าง ๆ ได้แก่ชาวกงกัณมุสลิมในเขตรัตนกาลีและภัตกัล ซึ่งมีลักษณะของภาษาอาหรับเข้ามาปนมาก ชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ใช้ภาษากงกัณคือชาวสิททิสซึ่งมาจากเอธิโอเปีย

การอพยพและการแยกเป็นส่วน

การเข้ามาของโปรตุเกสทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงมากในหมู่ของชาวกงกัณ ชาวกงกัณบางส่วนเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์และอิทธิพลทางศาสนาของโปรตุเกสทำให้ชาวกงกัณบางส่วนอพยพออกไป การแบ่งแยกระหว่างชาวกงกัณที่นับถือศาสนาฮินดูและคริสต์ทำให้ภาษากงกัณแตกเป็นหลายสำเนียงยิ่งขึ้น

ภาษานี้แพร่ไปสู่เขตจนระหรือกรวลี (ชายฝั่งของการณตกะ) โกกัน-ปัตตะ (ชายฝั่งกงกัณ ส่วนของรัฐมหาราษฏระ) และรัฐเกราลาในช่วง 500 ปีหลัง การอพยพของชาวกงกัณมีสาเหตุมาจากการปกครองกัวของโปรตุเกส

การอพยพของชาวคริสต์และฮินดูเกิดเป็น 3 ระลอก การอพยพครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2103 ซึ่งเป็นช่วงแรกที่โปรตุเกสเข้ามาปกครองกัว ครั้งที่ 2 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2114 ในสงครามกับสุลต่านพิชปูร์ การอพยพครั้งที่ 3 เกิดขึ้นระหว่างสงครามในช่วง พ.ศ. 2226 - 2283 การอพยพในช่วงแรกเป็นผู้นับถือศาสนาฮินดู ส่วนสองครั้งหลัง ส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต์

ภาษากงกัณในกัวของโปรตุเกส

ในช่วงแรกของการเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส มิชชันนารีให้ความสำคัญกับการแปลคัมภีร์ศาสนาคริสต์เป็นภาษาท้องถิ่นทั้งภาษากงกัณและภาษามราฐีจนกระทั่ง พ.ศ. 2227 โปรตุเกสห้ามใช้ภาษาถิ่นในเขตปกครองของตน ซึ่งถือว่าเป็นภาษาสำหรับศาสนาฮินดู ให้ใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการแทน ทำให้การใช้ภาษากงกัณลดลงและทำให้ภาษาโปรตุเกสมีอิทธิพลต่อภาษากงกัณสำเนียงของชาวคริสต์มาก ส่วนชาวกงกัณที่นับถือศาสนาฮินดูใช้ภาษามราฐีเป็นภาษาทางศาสนา และจากความสัมพันธ์ในอดีตระหว่างภาษากงกัณและภาษามราฐี ทำให้ชาวกงกัณส่วนใหญ่พูดภาษามราฐีเป็นภาษาที่สองและปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันของชาวฮินดูในกัวรวมทั้งชาวกงกัณด้วย ชาวคริสต์ชั้นสูงใช้ภาษากงกัณกับชนชั้นที่ต่ำกว่าและยากจน ส่วนในสังคมของตนใช้ภาษาโปรตุเกส

ผู้อพยพชาวกงกัณนอกกัวยังคงใช้ภาษากงกัณและภาษามีความแตกต่างกันมากยิ่งขึ้น มีการเขียนภาษากงกัณด้วยอักษรเทวนาครีในรัฐมหาราษฏระ ในขณะที่ผู้พูดในรัฐกรนาฏกะเขียนด้วยอักษรกันนาดา

การฟื้นฟูภาษากงกัณ

สถานะของภาษากงกัณจัดว่าน่าเป็นห่วง มีการใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการและภาษาทางสังคมในหมู่ชาวคริสต์ ในหมู่ชาวฮินดูนิยมใช้ภาษามราฐีมากกว่าและมีการแบ่งแยกระหว่างชาวคริสต์และชาวฮินดูมากขึ้น

ยุคหลังได้รับเอกราช

หลังจากอินเดียได้รับเอกราช กัวได้รวมเข้ากับอินเดียเมื่อ พ.ศ. 2504 ได้เกิดข้อโต้แย้งในกัวเกี่ยวกับสถานะของภาษากงกัณในฐานะภาษาเอกเทศและอนาคตของกัวว่าจะรวมเข้ากับรัฐมหาราษฏระหรือเป็นรัฐต่างหากต่อไป บทสรุปปรากฏว่ากัวเลือกเป็นรัฐต่างหากใน พ.ศ. 2510 ส่วนในด้านภาษา ภาษาที่มีการใช้มากภายในรัฐได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฮินดี ภาษามราฐี ส่วนภาษากงกัณยังไม่ได้รับการใส่ใจ

การกำหนดให้เป็นภาษาเอกเทศ

ในขณะที่มีความเชื่อว่าภาษากงกัณเป็นสำเนียงของภาษามราฐีไม่ใช่ภาษาเอกเทศ สุนิต กุมาร จัตเตร์ชี ประธานคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์แห่งชาติได้จัดการประชุมทางวิชาการเกี่ยวกับข้อโต้แย้งนี้และได้บทสรุปเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ว่าภาษากงกัณเป็นภาษาเอกเทศ

สถานะการเป็นภาษาราชการ

กลุ่มผู้รักภาษากงกัณได้เรียกร้องให้ภาษากงกัณเป็นภาษาประจำรัฐกัวใน พ.ศ. 2529 ในที่สุดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 รัฐกัวยอมรับให้ภาษากงกัณเป็นภาษาราชการของรัฐ และได้รับการยอมรับให้เป็นภาษาประจำชาติของอินเดียเมื่อ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2535

ปัญหา

ภาษากงกัณเป็นภาษาที่ใกล้ตายเพราะ

  • การแตกแยกเป็นส่วน ๆ ของภาษากงกัณ ทำให้ไม่มีสำเนียงกลางที่เข้าใจระหว่างกันได้
  • การแพร่หลายของวัฒนธรรมตะวันตกในอินเดีย
  • ชาวกงกัณที่นับถือศาสนาฮินดูในกัวและบริเวณชายฝั่งของรัฐมหาราษฏระ ส่วนใหญ่ใช้ภาษามราฐีได้ด้วย
  • ผู้นับถือศาสนาอิสลามหันไปใช้ภาษาอูรดู
  • ปัญหาการติดต่อของชาวกงกัณที่มีศาสนาต่างกัน และภาษากงกัณไม่ได้เป็นภาษาสำคัญทางศาสนา ชาวกงกัณมักติดต่อในกลุ่มที่นับถือศาสนาเดียวกันและหลีกเลี่ยงการติดต่อระหว่างกลุ่มที่มีศาสนาต่างกัน
  • การอพยพของชาวกงกัณไปยังบริเวณอื่น ๆ ของอินเดียและทั่วโลก
  • การขาดโอกาสที่จะเรียนภาษากงกัณในโรงเรียน มีโรงเรียนที่สอนภาษากงกัณไม่กี่แห่งในกัว ประชาชนที่อยู่นอกเขตที่ใช้ภาษากงกัณไม่มีโอกาสได้เรียนภาษากงกัณแม้ตะในแบบไม่เป็นทางการ
  • ความนิยมของประชาชนที่นิยมพูดกับเด็ก ๆ ด้วยภาษาที่ใช้ทำมาหากิน ไม่ใช่ภาษาแม่ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ภาษาอังกฤษของเด็กดีขึ้น

มีความพยายามที่จะฟื้นฟูภาษากงกัณโดยเฉพาะความพยายามของเศนอย โคเอมพับ ที่พยายามสร้างความสนใจวรรณกรรมภาษากงกัณขึ้นอีกครั้ง มีองค์ที่สนับสนุนการใช้ภาษากงกัณ เช่น กงกัณ ไทซ ยตระ ที่บริหารโดยมันเดล และองค์กรที่ใหม่กว่าอย่างเช่น วิศวะ กงกัณ ปาริศัด

การใช้หลายภาษา

จากการสำรวจในอินเดีย ผู้พูดภาษากงกัณพูดได้หลายภาษา ใน พ.ศ. 2544 ค่าเฉลี่ยทั้งประเทศมีผู้ใช้สองภาษาร้อยละ 19.44 และใช้สามภาษาร้อยละ 7.26 ในขณะที่เฉพาะผู้พูดภาษากงกัณ มีผู้ใช้สองภาษาร้อยละ 74.2 และใช้สามภาษาร้อยละ 44.68 ทำให้ชุมชนของชาวกงกัณเป็นชุมชนของผู้ใช้หลายภาษาในอินเดีย เหตุผลหนึ่งน่าจะมาจากการที่ขาดโรงเรียนที่สอนด้วยภาษากงกัณเป็นภาษาแรกหรือภาษาที่สอง

การใช้หลายภาษาไม่ใช่สิ่งที่ผิดแต่เป็นการชี้ให้เห็นว่าภาษากงกัณเป็นภาษาที่ไม่เกิดการพัฒนา ผู้พูดภาษากงกัณที่ใช้ภาษามราฐีในกัวและมหราราษฏระเชื่อว่าภาษากงกัณเป็นสำเนียงของภาษามราฐี

ข้อโต้แย้งระหว่างภาษากงกัณและภาษามราฐี

มีการกล่าวอ้างมานานแล้วว่าภาษากงกัณเป็นสำเนียงของภาษามราฐีและไม่ใช่ภาษาเอกเทศ ซึ่งมีเหตุผลหลายประการ ได้แก่ ความใกล้เคียงระหว่างภาษามราฐีและภาษากงกัณ ความใกล้เคียงทางภูมิศาสตร์ระหว่างกัวและมหาราษฏระ อิทธิพลอย่างชัดเจนของภาษามราฐีต่อภาษากงกัณสำเนียงที่ใช้พูดในรัฐมหาราษฏระ การที่ภาษากงกัณมีวรรณกรรมน้อยและชาวกงกัณที่นับถือศาสนาฮินดูจะใช้ภาษามราฐีเป็นภาษาที่สอง ทำให้งานเขียนของ Jose Pereira ใน พ.ศ. 2514 กล่าวว่าภาษากงกัณเป็นสำเนียงของภาษามราฐี งานเขียนของ S. M. Katre ใน พ.ศ. 2509 ได้ใช้การศึกษาทางประวัติศาสตร์สมัยใหม่และเปรียบเทียบสำเนียงของภาษากงกัณหกสำเนียงได้สรุปว่าจุดกำเนิดของภาษากงกัณต่างจากภาษามราฐี เศนอย โคเอมพับ ผู้มีบทบาทสำคัญในการฟื้นฟูภาษากงกัณ ได้ต่อต้านการใช้ภาษามราฐีในหมู่ชาวฮินดูและการใช้ภาษาโปรตุเกสในหมู่ของชาวคริสต์

การรวมของกัวเข้ากับอินเดียเมื่อ พ.ศ. 2504 เป็นเวลาที่รัฐในอินเดียมีการจัดตัวใหม่ตามเส้นแบ่งทางภาษา มีความต้องการที่จะรวมกัวเข้ากับรัฐมหาราษฏระเพราะในกัวมีผู้พูดภาษามราฐีจำนวนมาก และภาษากงกัณถูกจัดให้เป็นสำเนียงของภาษามราฐี ดังนั้นสถานะของภาษากงกัณในฐานะภาษาเอกเทศหรือเป็นสำเนียงของภาษามราฐีจึงเป็นหัวข้อทางการเมืองในการรวมรัฐกัวด้วย

องค์กรวิชาการสาหิตยะในอินเดียยอมรับภาษากงกัณในฐานะภาษาเอกเทศเมื่อ พ.ศ. 2518 และภาษากงกัณที่เขียนด้วยอักษรเทวนาครีได้เป็นภาษาราชการของกัวใน พ.ศ. 2530

การแพร่กระจาย

ภาษกงกัณใช้พูดทั่วไปในเขตกงกัณ ซึ่งรวมถึง กัว ชายฝั่งตอนใต้ของรัฐมหาราษฏระ ชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ และรัฐเกราลา แต่ละท้องถิ่นมีสำเนียงของตนเอง การแพร่กระจายของผู้พูดภาษานี้มีสาเหตุหลักจากการออพยพของชาวกัวเพื่อหลบหนีการปกครองของโปรตุเกส

ระบบการเขียน

ภาษากงกัณเขียนด้วยอักษณหลายชนิด ทั้ง อักษรเทวนาครี อักษรโรมัน (เริ่มสมัยอาณานิคมของโปรตุเกส) อักษรกันนาดา ใช้ในเขตมันกาลอร์ และชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ อักษรอาหรับในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่เรียกว่า ภัทกาลี ชนกลุ่มนี้หันมานับถือศาสนาอิสลามในสมัยสุลต่านทิบบู อยู่ในเขตรัฐการณาฏกะ มีผู้เขียนด้วยอักษรมลยาฬัมกลุ่มเล็ก ๆ ในเกราลา แต่ปัจจุบันเริ่มหันมาใช้อักษรเทวนาครีแทน

อักษรที่ใช้เขียนภาษากงกัณ
IPA อักษรเทวนาครีปรับปรุง อักษรเทวนาครีมาตรฐาน อักษรละติน อักษรกันนาดา อักษรมลยาฬัม อักษรอาหรับ
/ɵ/ o ಅ/ಒ ?
/aː/ a ?
/i/ i ?
/iː/ i ?
/u/ u ?
/uː/ u ?
/e/ e ?
/ɛ/ e ?
æ no symbol /e/ ಎ or ಐ ?
/ɵi/ ai/oi ?
/o/ o ?
/ɔ/ o ?
/ɵu/ au/ou ?
/ⁿ/ अं अं om/on ಅಂ അം ?
/k/ k ಕ್ ക് ک
/kʰ/ kh ಖ್ ഖ് که
/g/ g ಗ್ ഗ് ک
/gʱ/ gh ಘ್ ഘ് گه
/ŋ/ ंग ng ങ് ڭ
/ts/ च़ च़ ch ಚ್ ത്സ് څ
/c/ ch ಚ್ ച് چ
/cʰ/ chh ಛ್ ഛ് چه
/z/ ज़ ज़ z ? ز
/ɟ/ j ಜ್ ജ് ج
/zʰ/ झ़ झ़ zh ಝ್ ? زه
/ɟʱ/ jh ಝ್ ഝ് جه
/ɲ/ nh ഞ് ڃ
/ʈ/ tt ಟ್ ട് ټ
/ʈʰ/ tth ಠ್ ഠ് ټه
/ɖ/ dd ಡ್ ഡ് ډ
/ɖʱ/ ddh ಢ್ ഢ് ډه
/ɳ/ nn ಣ್ ണ് ڼ
/t̪/ t ತ್ ത് ت
/t̪ʰ/ th ಥ್ ഥ് ته
/d̪/ d ದ್ ദ് د
/d̪ʰ/ dh ಧ್ ധ് ده
/n/ n ನ್ ന് ن
/p/ p ಪ್ പ് پ
/f/ फ़ f ಫ್ ? ف
/b/ b ಬ್ ബ് ب
/bʱ/ bh ಭ್ ഭ് به
/m/ m ಮ್ മ് م
/j/ i/e/ie ಯ್ യ് ې
/ɾ/ r ರ್ ര് ر
/l/ l ಲ್ ല് ل
/ʃ/ x ಶ್ ഷ് ش
/ʂ/ x ಷ್ ശ് ?
/s/ s ಸ್ സ് س
/ɦ/ h ಹ್ ഹ് ?
/ɭ/ ll ಳ್ ള് ?
/ʋ/ v ವ್ വ് ڤ

การเขียนและหัวข้อเรื่องสำเนียง

ปัญหาทางด้านการใช้ระบบการเขียนหลายชนิดและสำเนียงที่ต่างกันกลายเป็นปัญหาสำคัญในการทำให้ภาษากงกัณเป็นเอกภาพ การตัดสินใจให้ใช้อักษรเทวนาครีเป็นอักษรทางการและให้สำเนียงอันตรุซเป็นสำเนียงมาตรฐานทำให้มีข้อโต้แย้งตามมา สำเนียงอันตรุซเป็นสำเนียงที่ชาวกัวส่วนใหญ่ไม่เข้าใจและต่างจากภาษากงกัณสำเนียงอื่น และอักษรเทวนาครีมีการใช้น้อยเมื่อเทียบกับอักษรโรมันในกัวและอักษรกันนาดาในบริเวณชายฝั่งของรัฐกรนาฏกะ ชาวคริสต์คาทอลิกในกัวได้ใช้อักษรโรมันในการเขียนงานวรรณกรรมและต้องการให้อักษรโรมันเป็นอักษรทางการเทียบเท่าอักษรเทวนาครี

ในกรนาฏกะที่มีผู้พูดภาษากงกัณจำนวนมาก ได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์ให้ใช้อักษรกันนาดาเขียนภาษากงกัณในโรงเรียนท้องถิ่นแทนอักษรเทวนาครี ในปัจจุบันไม่มีอักษรชนิดใดหรือสำเนียงใดเป็นที่เข้าใจหรือได้รับการยอมรับจากทุกส่วน การที่ขาดสำเนียงที่เป็นกลางและเข้าใจกันได้ทั่วไป ทำให้ผู้พูดภาษากงกัณต่างสำเนียงกันต้องสื่อสารกันด้วยภาษาอื่น

หมายเหตุ

  1. มีการประกาศให้อักษรเทวนาครีเป็นอักษรทางการ
  2. รัฐบาลกัวผ่านร่างอนุญาตใช้อักษรโรมันในการสื่อสารได้ ซึ่งมีผลแตกต่างกัน เช่น Goa Panchayat Rules, 1996 ใช้ทั้งรูปเทวนาครีและโรมัน
  3. ในรัฐกรณาฏกะใช้อักษรกันนาดาแทนเทวนาครี

อ้างอิง

  1. Whiteley, Wilfred Howell (1974). Language in Kenya. Oxford University Press. p. 589.
  2. Kurzon, Denis (2004). Where East looks West: success in English in Goa and on the Konkan Coast Volume 125 of Multilingual matters. Multilingual Matters. p. 158. ISBN 978-1-85359-673-5.
  3. "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues - 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 7 July 2018.
  4. Kapoor, Subodh (10 April 2002). The Indian Encyclopaedia: La Behmen-Maheya. Cosmo Publications. ISBN 9788177552713 – โดยทาง Google Books.
  5. Mother Tongue blues – Madhavi Sardesai
  6. "PUZZLE WRAPPED IN AN ENIGMA: UNDERSTANDING KONKANI IN GOA". 24 July 2011. สืบค้นเมื่อ 18 September 2020.
  7. (PDF). Government of India. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 4 March 2009. สืบค้นเมื่อ 5 March 2010.
  8. "Distribution of the 22 Scheduled Languages- India/ States/ Union Territories – 2001 Census".
  9. Administrator. "Department of Tourism, Government of Goa, India - Language". goatourism.gov.in.
  10. Cardona, Jain, George, Dhanesh (2007). The Indo-Aryan Languages. Routledge. pp. 1088 pages (see page:803–804). ISBN 9780415772945.
  11. Caroline Menezes (The National Institute for Japanese language, Tokyo, Japan). (PDF). Project D2, Typology of Information Structure". คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2008-04-08. สืบค้นเมื่อ 2008-02-10.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  12. *Masica, Colin (1991), The Indo-Aryan Languages, Cambridge: Cambridge University Press, p. 97, ISBN 978-0-521-29944-2.
  13. Origins of the Konkani Language - Krishnanand Kamat
  14. Tracing the Roots of the Konkani Language - Dr. Nandkumar Kamat
  15. People of India - Siddis
  16. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-09-28. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.

อ่านเพิ่ม

  • Romi Konkani: The story of a Goan script, born out of Portuguese influence, which faces possible decline, Karthik Malli (Firstpost)

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดีย อินคิวเบเตอร์ มีการทดสอบโครงการ:
วิกิพีเดียในภาษากงกัณ
  • , Konkani language site
  • Konkani News, Konkani language site
  • Kital, Konkani language site
  • Chilume.com, Konkani Literature
  • Niz Goenkar, Konkani-English bilingual site
  • Read Konkani News online
  • World Konkani Centre, Mangalore
  • Konkanverter-Konkani script conversion utility

ภาษากงก, kōṅkaṇī, เป, นภาษากล, มอ, นโด, อารย, นท, ดโดยชาวกงก, ณส, วนใหญ, ในแคว, นชายฝ, งตะว, นตก, กงก, ของอ, นเด, งเป, นหน, งใน, รายการภาษาท, กระบ, ในกำหนดรายการท, แปดของร, ฐธรรมน, ญอ, นเด, และเป, นภาษาทางการของก, จาร, กอ, กแรกเข, ยนใน, 1187, ภาษาน, เป, นภาษาช. phasakngkn Kōṅkaṇi epnphasaklumxinod xarynthiphudodychawkngknswnihyinaekhwnchayfngtawntk kngkn khxngxinediy sungepnhnungin 22 raykarphasathithukrabuinkahndraykarthiaepdkhxngrththrrmnuyxinediy 8 aelaepnphasathangkarkhxngkw carukphasakngknxkaerkekhiynin kh s 1187 9 phasaniepnphasachnklumnxyinrthkrnatka rthmharastra rthekrla 10 rthkhuchrataeladadraaelankhrhewli aeladamnaeladixuphasakngknक कण ಕ ಕಣ Konknni ക ങ കണ کونکڼی kngkn thiekhiyninxksrethwnakhrixxkesiyng kokɳi twphasa kokɵɳi aephlngepnxngkvs praethsthimikarphudpraethsxinediyphumiphakhkngkn rwmkwaelaphunthichayfngkhxngrthkrnatka mngkhalxr rthmharastraaelabangswnkhxngrthekrla rthkhuchrat Dang district aela Dadra and Nagar Haveli and Daman and Diu 1 2 chatiphnthuchawkngkncanwnphuphud2 3 lan 2011 census 3 trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xarynosnitmrathi kngknphasakngknphasathinklumsaeniyng Canara Konkani Goan Konkani Maharashtrian Konkani saeniyngechphaa Malvani Mangalorean Chitpavani Antruz Bardeskari Saxtti Daldi Pednekari Koli aela Aagri 4 rabbkarekhiynxdit phrahmiNagariGoykanadiomthipccubn ethwnakhri thangkar note 1 ormn note 2 knnada note 3 mlyalm 5 sthanphaphthangkarphasathangkar xinediy kw 6 phuwangraebiybKarnataka Konkani Sahitya Academy aelarthbalkw 7 rhsphasaISO 639 2kokISO 639 3kok rhsrwmrhsexkeths gom Goan Konkaniknn Maharashtrian Konkani phunthithimiphphudphasakngknepnphasaaeminpraethsxinediy enuxha 1 lksna 1 1 sra 1 2 phyychna 2 prawti 2 1 cuderimtn 2 2 chwngaerk 2 3 karxphyphaelakaraeykepnswn 2 4 phasakngkninkwkhxngoprtueks 3 karfunfuphasakngkn 3 1 yukhhlngidrbexkrach 3 2 karkahndihepnphasaexkeths 3 3 sthanakarepnphasarachkar 4 pyha 4 1 karichhlayphasa 5 khxotaeyngrahwangphasakngknaelaphasamrathi 6 karaephrkracay 7 rabbkarekhiyn 7 1 karekhiynaelahwkhxeruxngsaeniyng 8 hmayehtu 9 xangxing 10 xanephim 11 aehlngkhxmulxunlksna aekikhphasakngkn kngkniphasa epnphasathimikhwamhlakhlayindankareriyngpraoykhaelaruplksnkhxngphasa imxaccaaenkidwaepnphasathiichkarennesiynghruxepnphasathimiwrrnyukt 11 epnphasathiaeykesiyngsnyawkhxngsraechnediywkbphasainklumxinod xarynxun phyangkhthimisraesiyngyawmkepnphyangkhthiennphasakngknmisraphunthan 16 esiyng phyychna 36 esiyng esiyngkungsra 5 esiyng esiyngxxktamirfn 3 esiyng esiyngrabaylm 1 esiyng aelamiesiyngprasmcanwnmak khwamaetktangkhxngsranasikepnlksnaphiesskhxngphasakngkn sra aekikh sra hna klang hlngpid i ĩ u ũklangpid e ẽ ɵ ɵ o oklangepid ɛ ɛ ʌ ɔ ɔ epid ae a aphyychna aekikh phyychna rimfipak fn pumehnguxk playlinmwn hlngpumehnguxk ephdanxxn esnesiynghyud p pʰ b bʱ t tʰ d dʱ ʈ ʈʰ ɖ ɖʱ k kʰ ɡ ɡʱ kkesiydaethrk ts tsʰ dz dzʱ tɕ tɕʰ dʑ dʑʱ esiydaethrk f s ɕ hnasik m mʱ n nʱ ɳ ɳʱ ɲ ŋehlw ʋ ʋʱ ɾ ɾʱ l lʱ ɽ aemaebb PUA 12 j prawti aekikhcuderimtn aekikh phasakngknphthnakhuninbriewnkngknsungepnchnwnaephndinaekhb rahwangekhtphuekhashythriaelathaelxahrbthangfngtawntkkhxngxinediy odyechphaainokhmntk pccubnkhuxkw thvsdiekiywkbkaenidkhxngphasakngknmisxngaebbkhux tnkaenidkhxngphasakngknkhuxklumphrahmnsrswt phuxyutamfngaemnasrwswtiinxinediytawntkechiyngehnuxemuxpraman 5 000 pimaaelw cakkarepliynaeplngkhxngaemnaemuxraw 1 357 pikxnphuththskrach thaihmikarxphyph klumphuxphyphklumhnungekhamatnghlkaehlnginbriewnokhmntk khnklumniphudphasaprakvt phasaesaresni sungtxmaphthnaepnphasakngkn 13 phasakngknepnphasathxngthinthiichphudinhmuchawokknasungthukthaihepnsnskvt chnklumnipccubnxyuinthangehnuxkhxngrthmharastraaelathangitkhxngrthkhuchrataetxaccamitnkaenidmacakekhtkngkn phuxphyphchawxarynthiekhasukngknnaphasakhxngkhninthxngthinmaichaelaephimsphthcakphasaprakvtaelaphasasnskvtekhaip 14 chwngaerk aekikh phasakngknepnphasahlkinkw erimaerkekhiyndwyxksrphrahmi txmacungekhiyndwyxksrethwnakhri ichinthangsasnaaelakarkharwmthnginchiwitpracawnklumchnxun thiichphasakngknsaeniyngtang idaekchawkngknmusliminekhtrtnkaliaelaphtkl sungmilksnakhxngphasaxahrbekhamapnmak chnxikklumhnungthiichphasakngknkhuxchawsiththissungmacakexthioxepiy 15 karxphyphaelakaraeykepnswn aekikh karekhamakhxngoprtueksthaihekidkhwamepliynaeplngmakinhmukhxngchawkngkn chawkngknbangswnepliynipnbthuxsasnakhristaelaxiththiphlthangsasnakhxngoprtueksthaihchawkngknbangswnxphyphxxkip karaebngaeykrahwangchawkngknthinbthuxsasnahinduaelakhristthaihphasakngknaetkepnhlaysaeniyngyingkhunphasaniaephripsuekhtcnrahruxkrwli chayfngkhxngkarntka okkn ptta chayfngkngkn swnkhxngrthmharastra aelarthekralainchwng 500 pihlng karxphyphkhxngchawkngknmisaehtumacakkarpkkhrxngkwkhxngoprtuekskarxphyphkhxngchawkhristaelahinduekidepn 3 ralxk karxphyphkhrngaerkekidkhunemux ph s 2103 sungepnchwngaerkthioprtueksekhamapkkhrxngkw khrngthi 2 ekidemux ph s 2114 insngkhramkbsultanphichpur karxphyphkhrngthi 3 ekidkhunrahwangsngkhraminchwng ph s 2226 2283 karxphyphinchwngaerkepnphunbthuxsasnahindu swnsxngkhrnghlng swnihyepnchawkhrist phasakngkninkwkhxngoprtueks aekikh inchwngaerkkhxngkarepnxananikhmkhxngoprtueks michchnnariihkhwamsakhykbkaraeplkhmphirsasnakhristepnphasathxngthinthngphasakngknaelaphasamrathicnkrathng ph s 2227 oprtuekshamichphasathininekhtpkkhrxngkhxngtn sungthuxwaepnphasasahrbsasnahindu ihichphasaoprtueksepnphasarachkaraethn thaihkarichphasakngknldlngaelathaihphasaoprtueksmixiththiphltxphasakngknsaeniyngkhxngchawkhristmak swnchawkngknthinbthuxsasnahinduichphasamrathiepnphasathangsasna aelacakkhwamsmphnthinxditrahwangphasakngknaelaphasamrathi thaihchawkngknswnihyphudphasamrathiepnphasathisxngaelapccubnepnphasathiichinchiwitpracawnkhxngchawhinduinkwrwmthngchawkngkndwy chawkhristchnsungichphasakngknkbchnchnthitakwaaelayakcn swninsngkhmkhxngtnichphasaoprtueksphuxphyphchawkngknnxkkwyngkhngichphasakngknaelaphasamikhwamaetktangknmakyingkhun mikarekhiynphasakngkndwyxksrethwnakhriinrthmharastra inkhnathiphuphudinrthkrnatkaekhiyndwyxksrknnadakarfunfuphasakngkn aekikhsthanakhxngphasakngkncdwanaepnhwng mikarichphasaoprtueksepnphasarachkaraelaphasathangsngkhminhmuchawkhrist inhmuchawhinduniymichphasamrathimakkwaaelamikaraebngaeykrahwangchawkhristaelachawhindumakkhun yukhhlngidrbexkrach aekikh hlngcakxinediyidrbexkrach kwidrwmekhakbxinediyemux ph s 2504 idekidkhxotaeynginkwekiywkbsthanakhxngphasakngkninthanaphasaexkethsaelaxnakhtkhxngkwwacarwmekhakbrthmharastrahruxepnrthtanghaktxip bthsruppraktwakweluxkepnrthtanghakin ph s 2510 swnindanphasa phasathimikarichmakphayinrthidaek phasaxngkvs phasahindi phasamrathi swnphasakngknyngimidrbkarisic karkahndihepnphasaexkeths aekikh inkhnathimikhwamechuxwaphasakngknepnsaeniyngkhxngphasamrathiimichphasaexkeths sunit kumar ctetrchi prathankhnakrrmkarphuechiywchaydanphasasastraehngchatiidcdkarprachumthangwichakarekiywkbkhxotaeyngniaelaidbthsrupemux 26 kumphaphnth ph s 2518 waphasakngknepnphasaexkeths 16 sthanakarepnphasarachkar aekikh klumphurkphasakngknideriykrxngihphasakngknepnphasapracarthkwin ph s 2529 inthisudemuxwnthi 4 kumphaphnth ph s 2530 rthkwyxmrbihphasakngknepnphasarachkarkhxngrth aelaidrbkaryxmrbihepnphasapracachatikhxngxinediyemux 31 singhakhm ph s 2535pyha aekikhphasakngknepnphasathiikltayephraa karaetkaeykepnswn khxngphasakngkn thaihimmisaeniyngklangthiekhaicrahwangknid karaephrhlaykhxngwthnthrrmtawntkinxinediy chawkngknthinbthuxsasnahinduinkwaelabriewnchayfngkhxngrthmharastra swnihyichphasamrathiiddwy phunbthuxsasnaxislamhnipichphasaxurdu pyhakartidtxkhxngchawkngknthimisasnatangkn aelaphasakngknimidepnphasasakhythangsasna chawkngknmktidtxinklumthinbthuxsasnaediywknaelahlikeliyngkartidtxrahwangklumthimisasnatangkn karxphyphkhxngchawkngknipyngbriewnxun khxngxinediyaelathwolk karkhadoxkasthicaeriynphasakngkninorngeriyn miorngeriynthisxnphasakngknimkiaehnginkw prachachnthixyunxkekhtthiichphasakngknimmioxkasideriynphasakngknaemtainaebbimepnthangkar khwamniymkhxngprachachnthiniymphudkbedk dwyphasathiichthamahakin imichphasaaem odyechphaaphasaxngkvs sungechuxwacathaihphasaxngkvskhxngedkdikhunmikhwamphyayamthicafunfuphasakngknodyechphaakhwamphyayamkhxngesnxy okhexmphb thiphyayamsrangkhwamsnicwrrnkrrmphasakngknkhunxikkhrng mixngkhthisnbsnunkarichphasakngkn echn kngkn iths ytra thibriharodymnedl aelaxngkhkrthiihmkwaxyangechn wiswa kngkn parisd karichhlayphasa aekikh cakkarsarwcinxinediy phuphudphasakngknphudidhlayphasa in ph s 2544 khaechliythngpraethsmiphuichsxngphasarxyla 19 44 aelaichsamphasarxyla 7 26 inkhnathiechphaaphuphudphasakngkn miphuichsxngphasarxyla 74 2 aelaichsamphasarxyla 44 68 thaihchumchnkhxngchawkngknepnchumchnkhxngphuichhlayphasainxinediy ehtuphlhnungnacamacakkarthikhadorngeriynthisxndwyphasakngknepnphasaaerkhruxphasathisxngkarichhlayphasaimichsingthiphidaetepnkarchiihehnwaphasakngknepnphasathiimekidkarphthna phuphudphasakngknthiichphasamrathiinkwaelamhrarastraechuxwaphasakngknepnsaeniyngkhxngphasamrathikhxotaeyngrahwangphasakngknaelaphasamrathi aekikhmikarklawxangmananaelwwaphasakngknepnsaeniyngkhxngphasamrathiaelaimichphasaexkeths sungmiehtuphlhlayprakar idaek khwamiklekhiyngrahwangphasamrathiaelaphasakngkn khwamiklekhiyngthangphumisastrrahwangkwaelamharastra xiththiphlxyangchdecnkhxngphasamrathitxphasakngknsaeniyngthiichphudinrthmharastra karthiphasakngknmiwrrnkrrmnxyaelachawkngknthinbthuxsasnahinducaichphasamrathiepnphasathisxng thaihnganekhiynkhxng Jose Pereira in ph s 2514 klawwaphasakngknepnsaeniyngkhxngphasamrathi nganekhiynkhxng S M Katre in ph s 2509 idichkarsuksathangprawtisastrsmyihmaelaepriybethiybsaeniyngkhxngphasakngknhksaeniyngidsrupwacudkaenidkhxngphasakngkntangcakphasamrathi esnxy okhexmphb phumibthbathsakhyinkarfunfuphasakngkn idtxtankarichphasamrathiinhmuchawhinduaelakarichphasaoprtueksinhmukhxngchawkhristkarrwmkhxngkwekhakbxinediyemux ph s 2504 epnewlathirthinxinediymikarcdtwihmtamesnaebngthangphasa mikhwamtxngkarthicarwmkwekhakbrthmharastraephraainkwmiphuphudphasamrathicanwnmak aelaphasakngknthukcdihepnsaeniyngkhxngphasamrathi dngnnsthanakhxngphasakngkninthanaphasaexkethshruxepnsaeniyngkhxngphasamrathicungepnhwkhxthangkaremuxnginkarrwmrthkwdwyxngkhkrwichakarsahityainxinediyyxmrbphasakngkninthanaphasaexkethsemux ph s 2518 aelaphasakngknthiekhiyndwyxksrethwnakhriidepnphasarachkarkhxngkwin ph s 2530karaephrkracay aekikhphaskngknichphudthwipinekhtkngkn sungrwmthung kw chayfngtxnitkhxngrthmharastra chayfngkhxngrthkarnatka aelarthekrala aetlathxngthinmisaeniyngkhxngtnexng karaephrkracaykhxngphuphudphasanimisaehtuhlkcakkarxxphyphkhxngchawkwephuxhlbhnikarpkkhrxngkhxngoprtueksrabbkarekhiyn aekikhphasakngknekhiyndwyxksnhlaychnid thng xksrethwnakhri xksrormn erimsmyxananikhmkhxngoprtueks xksrknnada ichinekhtmnkalxr aelachayfngkhxngrthkarnatka xksrxahrbinhmuphunbthuxsasnaxislamthieriykwa phthkali chnklumnihnmanbthuxsasnaxislaminsmysultanthibbu xyuinekhtrthkarnatka miphuekhiyndwyxksrmlyalmklumelk inekrala aetpccubnerimhnmaichxksrethwnakhriaethn xksrthiichekhiynphasakngkn IPA xksrethwnakhriprbprung xksrethwnakhrimatrthan xksrlatin xksrknnada xksrmlyalm xksrxahrb ɵ अ अ o ಅ ಒ അ aː आ आ a ಆ ആ i इ इ i ಇ ഇ iː ई ई i ಈ ഈ u उ उ u ಉ ഉ uː ऊ ऊ u ಊ ഊ e ए ए e ಎ എ ɛ ऍ ए e ಎ ഏ ae no symbol ए e ಎ or ಐ ഐ ɵi ऐ ऐ ai oi ಐ ഐ o ओ ओ o ಒ ഒ ɔ ऑ ओ o ಒ ഓ ɵu औ ಔ au ou ഔ ⁿ अ अ om on ಅ അ k क क k ಕ ക ک kʰ ख ख kh ಖ ഖ که g ग ग g ಗ ഗ ک gʱ घ घ gh ಘ ഘ گه ŋ ङ ग ng ಙ ങ ڭ ts च च ch ಚ ത സ څ c च च ch ಚ ച چ cʰ छ छ chh ಛ ഛ چه z ज ज z ಜ ز ɟ ज ज j ಜ ജ ج zʰ झ झ zh ಝ زه ɟʱ झ झ jh ಝ ഝ جه ɲ ञ ञ nh ಞ ഞ ڃ ʈ ट ट tt ಟ ട ټ ʈʰ ठ ठ tth ಠ ഠ ټه ɖ ड ड dd ಡ ഡ ډ ɖʱ ढ ढ ddh ಢ ഢ ډه ɳ ण ण nn ಣ ണ ڼ t त त t ತ ത ت t ʰ थ थ th ಥ ഥ ته d द द d ದ ദ د d ʰ ध ध dh ಧ ധ ده n न न n ನ ന ن p प प p ಪ പ پ f फ फ f ಫ ف b ब ब b ಬ ബ ب bʱ भ भ bh ಭ ഭ به m म म m ಮ മ م j य य i e ie ಯ യ ې ɾ र र r ರ ര ر l ल ल l ಲ ല ل ʃ श श x ಶ ഷ ش ʂ ष ष x ಷ ശ s स स s ಸ സ س ɦ ह ह h ಹ ഹ ɭ ळ ळ ll ಳ ള ʋ व व v ವ വ ڤkarekhiynaelahwkhxeruxngsaeniyng aekikh pyhathangdankarichrabbkarekhiynhlaychnidaelasaeniyngthitangknklayepnpyhasakhyinkarthaihphasakngknepnexkphaph kartdsinicihichxksrethwnakhriepnxksrthangkaraelaihsaeniyngxntrusepnsaeniyngmatrthanthaihmikhxotaeyngtamma saeniyngxntrusepnsaeniyngthichawkwswnihyimekhaicaelatangcakphasakngknsaeniyngxun aelaxksrethwnakhrimikarichnxyemuxethiybkbxksrormninkwaelaxksrknnadainbriewnchayfngkhxngrthkrnatka chawkhristkhathxlikinkwidichxksrormninkarekhiynnganwrrnkrrmaelatxngkarihxksrormnepnxksrthangkarethiybethaxksrethwnakhriinkrnatkathimiphuphudphasakngkncanwnmak idmikarcdkickrrmephuxrnrngkhihichxksrknnadaekhiynphasakngkninorngeriynthxngthinaethnxksrethwnakhri inpccubnimmixksrchnididhruxsaeniyngidepnthiekhaichruxidrbkaryxmrbcakthukswn karthikhadsaeniyngthiepnklangaelaekhaicknidthwip thaihphuphudphasakngkntangsaeniyngkntxngsuxsarkndwyphasaxunhmayehtu aekikh mikarprakasihxksrethwnakhriepnxksrthangkar rthbalkwphanrangxnuyatichxksrormninkarsuxsarid sungmiphlaetktangkn echn Goa Panchayat Rules 1996 ichthngrupethwnakhriaelaormn inrthkrnatkaichxksrknnadaaethnethwnakhrixangxing aekikh Whiteley Wilfred Howell 1974 Language in Kenya Oxford University Press p 589 Kurzon Denis 2004 Where East looks West success in English in Goa and on the Konkan Coast Volume 125 of Multilingual matters Multilingual Matters p 158 ISBN 978 1 85359 673 5 Statement 1 Abstract of speakers strength of languages and mother tongues 2011 www censusindia gov in Office of the Registrar General amp Census Commissioner India subkhnemux 7 July 2018 Kapoor Subodh 10 April 2002 The Indian Encyclopaedia La Behmen Maheya Cosmo Publications ISBN 9788177552713 odythang Google Books Mother Tongue blues Madhavi Sardesai PUZZLE WRAPPED IN AN ENIGMA UNDERSTANDING KONKANI IN GOA 24 July 2011 subkhnemux 18 September 2020 The Goa Daman and Diu Official Language Act PDF Government of India khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 4 March 2009 subkhnemux 5 March 2010 Distribution of the 22 Scheduled Languages India States Union Territories 2001 Census Administrator Department of Tourism Government of Goa India Language goatourism gov in Cardona Jain George Dhanesh 2007 The Indo Aryan Languages Routledge pp 1088 pages see page 803 804 ISBN 9780415772945 Caroline Menezes The National Institute for Japanese language Tokyo Japan The question of Konkani PDF Project D2 Typology of Information Structure khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2008 04 08 subkhnemux 2008 02 10 CS1 maint multiple names authors list link Masica Colin 1991 The Indo Aryan Languages Cambridge Cambridge University Press p 97 ISBN 978 0 521 29944 2 Origins of the Konkani Language Krishnanand Kamat Tracing the Roots of the Konkani Language Dr Nandkumar Kamat People of India Siddis Sahitya Academy amp Konkani Literature khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 09 28 subkhnemux 2008 06 23 xanephim aekikhRomi Konkani The story of a Goan script born out of Portuguese influence which faces possible decline Karthik Malli Firstpost aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb phasakngkn wikimiediy xinkhiwebetxr mikarthdsxbokhrngkar wikiphiediyinphasakngkn wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa Konkani wikithxngethiyw miefrsbuksahrb KonkaniVauraddeancho Ixtt Konkani language site Konkani News Konkani language site Kital Konkani language site Chilume com Konkani Literature Niz Goenkar Konkani English bilingual site Learn Goan Konkani online Read Konkani News online Learn Mangalorean GSB Konkani online Learn Mangalorean Catholic Konkani online An excellent article on Konkani history and literature by Goa Konkani Academi Online Manglorean Konkani Dictionary Project Online Konkani GSB dictionary World Konkani Centre Mangalore Konkanverter Konkani script conversion utility ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasakngkn amp oldid 9841739, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม