fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษากฺ๋อง

ภาษากฺ๋อง เป็นภาษาใกล้สูญภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาทิเบต-พม่าของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นภาษาที่แสดงลักษณะของภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่าอย่างเด่นชัด กล่าวคือ มีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ มีพยัญชนะท้ายน้อย ความสั้น-ยาวของเสียงสระไม่ส่งผลต่อความหมายของคำ และมีการเรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา

ภาษากฺ๋อง
ภูมิภาคภาคตะวันตกของประเทศไทย
ชาติพันธุ์500 คน (2543?)
จำนวนผู้พูด80 คน  (2543, เดวิด แบรดลีย์)
ตระกูลภาษา
จีน-ทิเบต
ระบบการเขียนอักษรไทย
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน ไทย
รหัสภาษา
ISO 639-3ugo

ผู้พูดภาษากฺ๋องเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กฺ๋อง จากการสำรวจของนักภาษาศาสตร์เดวิด แบรดลีย์ พบผู้พูดภาษานี้ในประเทศไทยราว 80 คนใน พ.ศ. 2543 อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 4 บ้านวังควาย ตำบลวังยาว และหมู่ที่ 10 บ้านกกเชียง ตำบลห้วยขมิ้น อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี และหมู่ที่ 3 บ้านละว้า ตำบลทองหลาง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี ไม่พบผู้พูดในประเทศพม่า ปัจจุบันเริ่มมีผู้พูดภาษากฺ๋องน้อยลง โดยเด็ก ๆ ชาวกฺ๋องหันไปพูดภาษาไทยและภาษาลาว (ลาวครั่ง)

สัทวิทยา

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียง จังหวัดสุพรรณบุรี
ลักษณะการออกเสียง ตำแหน่งเกิดเสียง
ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
เสียงนาสิก m n ɲ ŋ
เสียงหยุด ก้อง b d ɡ
ไม่ก้อง ไม่พ่นลม p t c k ʔ
พ่นลม
เสียงเสียดแทรก f s x h
เสียงข้างลิ้น l
เสียงเปิด w j


  • หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายมี 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /ŋ/, /k/ และ /ʔ/
  • หน่วยเสียงพยัญชนะควบมี 4 หน่วยเสียง ได้แก่ /pʰl/, /kl/, /kʰl/ และ /bl/ เกิดในตำแหน่งต้นพยางค์เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ผู้พูดรุ่นใหม่ไม่นิยมออกเสียง /pʰl/ และ /bl/ เป็นพยัญชนะควบ โดยจะออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวแรก
  • หน่วยเสียง /pʰ/ มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ [pʰ] และ [f] ซึ่งมีการแปรอิสระ เช่น [e~fe] 'ไม้ (ไผ่)' ส่วนหน่วยเสียง /cʰ/ มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ [cʰ] และ [s] ซึ่งมีการแปรอิสระเช่นกัน เช่น [ǒŋ~sǒŋ 'กิ้งก่า' ทั้งนี้ ผู้พูดรุ่นใหม่นิยมออกเสียง /pʰ/ และ /cʰ/ เป็น [f] และ [s] ตามลำดับ แต่ยังไม่เป็นทั้งระบบ
  • หน่วยเสียง /x/ พบเฉพาะในกลุ่มผู้พูดสูงอายุ โดยพบตัวอย่างคำเดียวคือ /xǎʔ/ 'เข็ม'

สระ

สระเดี่ยว

หน่วยเสียงสระเดี่ยวภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียง จังหวัดสุพรรณบุรี
ระดับลิ้น ตำแหน่งลิ้น
หน้า กลางลิ้น หลัง
สูง     i     ɨ • ʉ u
กึ่งสูง ʊ
กลาง     e • ø ə o
กึ่งต่ำ     ɛ • œ ʌ
ต่ำ                   a ɔ


  • หน่วยเสียง /e/ มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ [e] และ [ɪ] โดยเสียงย่อย [e] ปรากฏในพยางค์ที่มีพยัญชนะท้าย เช่น [kěŋ] 'ตัวเอง' ส่วนเสียงย่อย [ɪ] ปรากฏในพยางค์ที่ไม่มีพยัญชนะท้าย เช่น [cɪ] 'ม้าม'
  • หน่วยเสียง /ɔ/ คือเสียง [ɔ̞] เนื่องจากเสียง /ɔ/ นั้น แท้จริงแล้วคือ เสียงกึ่งต่ำ แต่เสียง /ɒ/ จะปรากฏออกมาได้ไม่บ่อยนัก ดังนั้นค่าของเสียงหลักคือ เสียง /ɔ/

สระประสม

ภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียงมีหน่วยเสียงสระประสม 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /i̯a/, /ɨ̯a/ และ /u̯ɔ/

วรรณยุกต์

ภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียงมีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ 4 หน่วยเสียง ได้แก่

  • หน่วยเสียงกลางระดับ (mid tone)
  • หน่วยเสียงวรรณยุกต์ต่ำ-ตก (low-falling tone) ซึ่งอาจเปลี่ยนเสียงเป็นวรรณยุกต์กลาง-ตก-ขึ้นหรือวรรณยุกต์สูง-ตกในประโยคปฏิเสธ
  • หน่วยเสียงวรรณยุกต์สูง-ตก (high-falling tone)
  • หน่วยเสียงวรรณยุกต์กลาง-ตก-ขึ้น (mid falling-rising tone) มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ เสียงต่ำ-ขึ้น ปรากฏเมื่อพยัญชนะท้ายเป็นเสียงกัก และเสียงกลาง-ตก-ขึ้น ปรากฏเมื่อพยัญชนะท้ายเป็นเสียงอื่นที่ไม่ใช่เสียงกัก

ระบบการเขียน

ตัวเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
/k/ ตะกร้า
วุ๋ หนู
กฺ /ɡ/ กฺอง ม้า
/kʰ/ ค๋ นกยูง
/x/ ฆ๋ เข็ม
/ŋ/ ห้า
ดุ๋ทุ ลำห้วย
/c/ จี๋ เก้ง
/cʰ/ ช๋ กิ้งก่า
/s/ ซี ล้าง
/ɲ/ เบ็ดตกปลา
/d/ ดื เสือ
/t/ ต๋อง ข้อง
/tʰ/ ท๋อง ตุ่น
/n/ นั๋ ตั๊กแตน
/b/ บ๋ ครก
/p/ าเท้ง รองเท้า
/pʰ/ พู หม้อ
/f/ ฟ๋ เกวียน
/m/ มึ๋ วัว
/j/ ยึ๋ บ้าน
/l/ ล๋าะ นิ้ว
/w/ วั๋ หมี
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) อ๋ กวาง
ไม่มีรูป /ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) เค๋าะ นก
/h/ ฮิ๋ ทองคำ
  • พยัญชนะไม่เปลี่ยนรูปเมื่อผันวรรณยุกต์
สระ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
–ะ /a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ฆ๋ เข็ม
–ั /a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) วั๋ หมี
–า /a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) อ๋ กวาง
–ิ /i/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) นิ แทรก
–ี /i/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) จี๋ เก้ง
–ึ /ɨ/ มึ๋ วัว
–ือํ /ʉ/ คือํ หมา
–ุ /u/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) วุ๋ หนู
–ู /u/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ลาบู้ ผีเสื้อ
เ–ะ /e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) มา
กาเว็ เที่ยว
ก๋ก ขวัญ
เ– /e/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ม้าม
เํ– /ø/ เํยง เสื้อ
แ–ะ /ɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ม๋ แม่
แล็ท๋ หอยขม
อาค่ง อะไร
แ– /ɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) สิบ
แํ–ะ/แํ– /œ/ แํฮ๋ รัก
เ–อะ/เ–ิ /ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) เซิ่ สีดำ
เ–อ /ə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) เพื่อน
เํ–ิ /ʌ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) เํดิ๋ สะอึก
โ–ะ /o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ว๋ ไก่
โ–ะ (ลดรูป) /o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) บ๋ก ครก
โ– /o/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) คน
โ–ะํ /ʊ/ พ๋ะํ หมู
เ–าะ /ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ล๋ นิ้ว
–อ /ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) ม่ ทา, เมา
กฺ่ แสบ
เ–ีย /i̯a/ ลี่ย อร่อย
เ–ือ /ɨ̯a/ เคื๋อ ตัวต่อ
–ัว /u̯ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ซัว กิน
–ว– /u̯ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) คูด หมวก
วรรณยุกต์
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
ไม่มีรูป หน่วยเสียงกลางระดับ ออง เทียน
พีดา กระต่าย
–่ หน่วยเสียงต่ำ-ตก บ่ ตี
งุ่ นั่ง
–้ หน่วยเสียงสูง-ตก กฺ้อง สูง
คูเอ้าะ แกง
–๋ หน่วยเสียงกลาง-ตก-ขึ้น อิ๋ ไม้
ยึ๋ บ้าน

ไวยากรณ์

โครงสร้างประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา คำขยายอยู่หน้ากริยา แต่อยู่หลังคำนาม คำบุพบทอยู่หลังคำนาม

อ้างอิง

  1. แม่แบบ:E15
  2. ภาษากฺ๋อง ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  3. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 1.
  4. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 24.
  5. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 27.
  6. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 29.
  • Daniel Nettle and Suzanne Romaine. Vanishing Voices: The Extinction of the World's Languages. Oxford: Oxford University Press, 2000. Page 10.
  • Thawornpat, Mayuree. 2006. Gong: An endangered language of Thailand. Doctoral dissertation, Mahidol University.
  • Thawornpat, Mayuree. 2007. Gong phonological characteristics. The Mon-Khmer Studies Journal 37. 197-216.
  • มยุรี ถาวรพัฒน์. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: ก๊อง (อุก๋อง). กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. 2540.

อ่านเพิ่ม

  • Bradley, David. 1993. Body Parts Questionnaire (Ugong). (unpublished ms. contributed to STEDT).
  • Bradley, David (1989). "The disappearance of the Ugong in Thailand". Investigating Obsolescence. pp. 33–40. doi:10.1017/CBO9780511620997.006. ISBN 9780521324052.
  • Bradley, David (1989). Dying to be Thai: Ugong in western Thailand. La Trobe Working Papers in Linguistics 2:19-28
  • Kerr, A. F. G. 1927. "Two 'Lawā' vocabularies: the Lawā of the Baw Lūang plateau; Lawā of Kanburi Province." Journal of the Siam Society 21: 53-63.
  • Rujjanavet, Pusit. (1986). The Phonology of Ugong in Uthaithani Province. M.A. Thesis in Linguistics, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
  • Thawornpat, Mayuree. "Gong phonological characteristics", in Mon-Khmer studies: a journal of Southeast Asian languages and cultures, Thailand: Mon-Khmer Studies, 2007.

ภาษาก, อง, เป, นภาษาใกล, ญภาษาหน, งในกล, มภาษาท, เบต, พม, าของตระก, ลภาษาจ, เบต, เป, นภาษาท, แสดงล, กษณะของภาษาในกล, มท, เบต, พม, าอย, างเด, นช, กล, าวค, หน, วยเส, ยงวรรณย, กต, พย, ญชนะท, ายน, อย, ความส, ยาวของเส, ยงสระไม, งผลต, อความหมายของคำ, และม, การเร, ยง. phasak xng epnphasaiklsuyphasahnunginklumphasathiebt phmakhxngtrakulphasacin thiebt epnphasathiaesdnglksnakhxngphasainklumthiebt phmaxyangednchd 3 klawkhux mihnwyesiyngwrrnyukt miphyychnathaynxy khwamsn yawkhxngesiyngsraimsngphltxkhwamhmaykhxngkha aelamikareriyngpraoykhaebbprathan krrm kriyaphasak xngphumiphakhphakhtawntkkhxngpraethsithychatiphnthu500 khn 2543 1 canwnphuphud80 khn 2543 edwid aebrdliy 2 trakulphasacin thiebt olol phma yngimcdklum phasak xngrabbkarekhiynxksrithysthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin ithyrhsphasaISO 639 3ugophuphudphasak xngepnklumchatiphnthuk xng cakkarsarwckhxngnkphasasastredwid aebrdliy phbphuphudphasaniinpraethsithyraw 80 khnin ph s 2543 xasyxyuinhmuthi 4 banwngkhway tablwngyaw aelahmuthi 10 bankkechiyng tablhwykhmin xaephxdanchang cnghwdsuphrrnburi aelahmuthi 3 banlawa tablthxnghlang xaephxhwykht cnghwdxuthythani imphbphuphudinpraethsphma pccubnerimmiphuphudphasak xngnxylng odyedk chawk xnghnipphudphasaithyaelaphasalaw lawkhrng enuxha 1 sthwithya 1 1 phyychna 1 2 sra 1 2 1 sraediyw 1 2 2 sraprasm 1 3 wrrnyukt 2 rabbkarekhiyn 3 iwyakrn 4 xangxing 5 xanephimsthwithya aekikhphyychna aekikh hnwyesiyngphyychnaphasak xngthinkkechiyng cnghwdsuphrrnburi 4 lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngrimfipak pumehnguxk ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud kxng b d ɡimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰesiyngesiydaethrk f s x hesiyngkhanglin lesiyngepid w j hnwyesiyngthiepnidthngphyychnatnaelaphyychnathaymi 3 hnwyesiyng idaek ŋ k aela ʔ hnwyesiyngphyychnakhwbmi 4 hnwyesiyng idaek pʰl kl kʰl aela bl ekidintaaehnngtnphyangkhethann xyangirktam phuphudrunihmimniymxxkesiyng pʰl aela bl epnphyychnakhwb odycaxxkesiyngechphaaphyychnatwaerk hnwyesiyng pʰ miesiyngyxy 2 esiyng idaek pʰ aela f sungmikaraeprxisra echn pʰe fe im iph swnhnwyesiyng cʰ miesiyngyxy 2 esiyng idaek cʰ aela s sungmikaraeprxisraechnkn echn cʰǒŋ sǒŋ kingka thngni phuphudrunihmniymxxkesiyng pʰ aela cʰ epn f aela s tamladb aetyngimepnthngrabb hnwyesiyng x phbechphaainklumphuphudsungxayu odyphbtwxyangkhaediywkhux xǎʔ ekhm sra aekikh sraediyw aekikh hnwyesiyngsraediywphasak xngthinkkechiyng cnghwdsuphrrnburi 5 radblin taaehnnglinhna klanglin hlngsung i ɨ ʉ ukungsung ʊklang e o e okungta ɛ œ ʌta a ɔ hnwyesiyng e miesiyngyxy 2 esiyng idaek e aela ɪ odyesiyngyxy e praktinphyangkhthimiphyychnathay echn keŋ twexng swnesiyngyxy ɪ praktinphyangkhthiimmiphyychnathay echn cɪ mam hnwyesiyng ɔ khuxesiyng ɔ enuxngcakesiyng ɔ nn aethcringaelwkhux esiyngkungta aetesiyng ɒ capraktxxkmaidimbxynk dngnnkhakhxngesiynghlkkhux esiyng ɔ sraprasm aekikh phasak xngthinkkechiyngmihnwyesiyngsraprasm 3 hnwyesiyng 5 idaek i a ɨ a aela u ɔ wrrnyukt aekikh phasak xngthinkkechiyngmihnwyesiyngwrrnyukt 4 hnwyesiyng 6 idaek hnwyesiyngklangradb mid tone hnwyesiyngwrrnyuktta tk low falling tone sungxacepliynesiyngepnwrrnyuktklang tk khunhruxwrrnyuktsung tkinpraoykhptiesth hnwyesiyngwrrnyuktsung tk high falling tone hnwyesiyngwrrnyuktklang tk khun mid falling rising tone miesiyngyxy 2 esiyng idaek esiyngta khun praktemuxphyychnathayepnesiyngkk aelaesiyngklang tk khun praktemuxphyychnathayepnesiyngxunthiimichesiyngkkrabbkarekhiyn aekikhtwekhiynphasak xngxksrithytamthikhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithy sanknganrachbnthityspha idkahndiw midngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k kng takrawuk hnuk ɡ k xng makh kʰ khng nkyungkh x kha ekhmng ŋ ngx hadungthung lahwyc c ci ekngch cʰ chng kingkas s esiy langy ɲ ya ebdtkplad d edux esuxt t txng khxngth tʰ thxng tunn n nng tkaetnb b bk khrkp p paethng rxngethaph pʰ phu hmxf f ef ekwiynm m muk wwy j yung banl l elaa niww w wng hmix ʔ emuxepnphyychnatn xa kwangimmirup ʔ emuxepnphyychnathay ekhaa nkh h hing thxngkhaphyychnaimepliynrupemuxphnwrrnyukt sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuxmiphyychnathayepn ʔ kha ekhm a emuxmiphyychnathayepn k ŋ wng hmi a a emuximmiphyychnathay xa kwang i i emuxmiphyychnathay ning aethrk i i emuximmiphyychnathay ci ekng u ɨ muk ww ux ʉ khux hma u u emuxmiphyychnathay wuk hnu u u emuximmiphyychnathay labu phiesuxe a e emuxmiphyychnathay eda makaewng ethiywekk khwye e emuximmiphyychnathay ec mame o eyng esuxae a ɛ emuxmiphyychnathay aema aemaelngaetha hxykhmxaaekhng xairae ɛ emuximmiphyychnathay aes sibae a ae œ aeha rke xa e i e emuxmiphyychnathay esik sidae x e emuximmiphyychnathay ekx ephuxne i ʌ emuxmiphyychnathayepn k ŋ edik saxuko a o emuxmiphyychnathayepn ʔ owa iko a ldrup o emuxmiphyychnathayepn k ŋ bk khrko o emuximmiphyychnathay ox khno a ʊ opha hmue aa ɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ elaa niw x ɔ emuximmiphyychnathayhruxmiphyychnathayepn k ŋ mx tha emak xng aesbe iy i a ekhliy xrxye ux ɨ a ekhuxng twtx w u ɔ emuximmiphyychnathay sw kin w u ɔ emuxmiphyychnathay khudwng hmwk wrrnyukt xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayimmirup hnwyesiyngklangradb xxng ethiynphida kratay hnwyesiyngta tk ba tingung nng hnwyesiyngsung tk k xng sungkhuexaa aekng hnwyesiyngklang tk khun exik imyung baniwyakrn aekikhokhrngsrangpraoykhepnaebbprathan krrm kriya khakhyayxyuhnakriya aetxyuhlngkhanam khabuphbthxyuhlngkhanamxangxing aekikh aemaebb E15 phasak xng thi Ethnologue 18th ed 2015 txngsmkhrsmachik sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 1 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 24 5 0 5 1 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 27 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 29 Daniel Nettle and Suzanne Romaine Vanishing Voices The Extinction of the World s Languages Oxford Oxford University Press 2000 Page 10 Thawornpat Mayuree 2006 Gong An endangered language of Thailand Doctoral dissertation Mahidol University Thawornpat Mayuree 2007 Gong phonological characteristics The Mon Khmer Studies Journal 37 197 216 myuri thawrphthn saranukrmklumchatiphnthu kxng xukxng kthm sthabnwicyphasaaelawthnthrrmephuxkarphthnachnbth mhawithyalymhidl 2540 xanephim aekikhBradley David 1993 Body Parts Questionnaire Ugong unpublished ms contributed to STEDT Bradley David 1989 The disappearance of the Ugong in Thailand Investigating Obsolescence pp 33 40 doi 10 1017 CBO9780511620997 006 ISBN 9780521324052 Bradley David 1989 Dying to be Thai Ugong in western Thailand La Trobe Working Papers in Linguistics 2 19 28 Kerr A F G 1927 Two Lawa vocabularies the Lawa of the Baw Luang plateau Lawa of Kanburi Province Journal of the Siam Society 21 53 63 Rujjanavet Pusit 1986 The Phonology of Ugong in Uthaithani Province M A Thesis in Linguistics Faculty of Graduate Studies Mahidol University Thawornpat Mayuree Gong phonological characteristics in Mon Khmer studies a journal of Southeast Asian languages and cultures Thailand Mon Khmer Studies 2007 bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasa ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasak xng amp oldid 9939390, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม