fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษามองโกเลีย

ภาษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน

ภาษามองโกเลีย
Монгол (Mongol), ᠮᠣᠨᠭᠭᠣᠯ ᠬᠡᠯᠡ(Mongghol)
ประเทศที่มีการพูดจีน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย และรัสเซีย
ภูมิภาคมองโกเลีย สาธารณรัฐบูเรียตียา (รัสเซีย) อิสซีก-คูล (คีร์กีซสถาน) มณฑลเหลียวหนิง มณฑลจี๋หลิน และมณฑลเฮย์หลงเจียง (จีน)
จำนวนผู้พูด5.7 ล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
อัลไตอิก (เป็นที่โต้แย้ง)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการมองโกเลีย เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน (จีน) และสาธารณรัฐบูเรียตียา (รัสเซีย)
รหัสภาษา
ISO 639-1mn
ISO 639-2mon
ISO 639-3มีหลากหลาย:
mon — Mongolian (generic)
khk — Halh Mongolian
mvf — Peripheral Mongolian

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

ภาษามองโกเลียเป็นภาษาประจำชาติของมองโกเลีย มีผู้พูดราว 2.5 ล้านคน และยังเป็นภาษาราชการในเขตปกครองตนเองมองโกเลียในในประเทศจีนที่มีผู้พูดประมาณ 2.7 ล้านคนหรือมากกว่า แต่จำนวนผู้พูดภาษานี้ที่แน่นอนในจีนประเมินได้ยาก มีผู้พูดสำเนียงคาร์ชินและสำเนียงคอร์ชินในเหลียวหนิง จีหลิน และเฮยหลงเจียงในบริเวณที่ติดต่อกับมองโกเลียใน

การจัดจำแนกและสำเนียง

ภาษามองโกเลียจัดเป็นภาษาในกลุ่มภาษามองโกล ซึ่งสมาชิกในกลุ่มนี้รวมทั้งภาษามองโกลคามนิกันและภาษาดากูร์ ที่ใช้พูดทางตะวันออกของมองโกเลียและในซินเจียงอุยกูร์ ภาษาชิรายูกูร์ ภาษาบอนัน ภาษาต้งเซี่ยง ภาษามองเกอร์ และภาษากังเจีย ที่ใช้พูดในบริเวณชิงไห่และกานซู และอาจรวมถึงภาษาโมโฆลที่เป็นภาษาตายไปแล้วในอัฟกานิสถาน เส้นแบ่งระหว่างการเป็นสำเนียงและเป็นภาษาเอกเทศภายในกลุ่มภาษามองโกลยังเป็นที่โต้เถียงกัน

สำเนียงคอลคาถือเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษามองโกเลีย แต่การกำหนดสำเนียงย่อยยังมีความเห็นต่างกัน Sanžeev (1953) เสนอว่าภาษามองโกเลียมี 3 สำเนียงคือ คอลคา ชาคาร์ และออร์ดอส ส่วนบูร์ยัตและโอยรัตเป็นภาษาเอกเทศ Luvsanvandan (1959) เสนอต่างไปว่าภาษามองโกเลียประกอบไปด้วยกลุ่มสำเนียงกลาง (คอลคา ชาคาร์ ออร์ดอส) กลุ่มสำเนียงตะวันออก (คาร์ชิน คอร์ชิน) กลุ่มสำเนียงตะวันตก (โอยรัต คาลมึกซ์) และกลุ่มสำเนียงเหนือ (ภาษาบูร์ยัตทั้งสองสำเนียง) นักวิชาการตะวันตกบางกลุ่มแยกภาษาออร์ดอสออกมาเป็นภาษาเอกเทศ ในมองโกเลียใน แบ่งภาษามองโกเลียเป็น 3 สำเนียงคือ สำเนียงมองโกเลียใต้ สำเนียงโอยรัต และสำเนียงบาร์ฆู-บูร์ยัต

คำยืม

ในสมัยโบราณ ภาษามองโกเลียมีคำยืมจากภาษาเตอร์กิกโบราณ ภาษาสันสกฤตผ่านทางภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาทิเบต ภาษาตังกูสิต และภาษาจีน คำยืมในยุคปัจจุบันมาจากภาษารัสเซีย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีนโดยเฉพาะในมองโกเลียใน

ระบบการเขียน

การเขียนภาษามองโกเลียมีความหลากหลาย อักษรมองโกเลียที่พัฒนามาจากอักษรอุยกูร์พัฒนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ต่อมา ระหว่าง พ.ศ. 2473 – 2475 มีการเขียนภาษามองโกเลียด้วยอักษรละตินเป็นระยะเวลาสั้นๆ หลังจากนั้น ได้เปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิก ในช่วง พ.ศ. 2531 – 2534 มีความพยายามฟื้นฟูอักษรมองโกเลียมาใช้อีกแต่ล้มเหลว ในมองโกเลียใน สาธารณรัฐประชาชนจีน ภาษามองโกเลียเป็นภาษาราชการร่วมกับภาษาจีนกลาง ใช้อักษรมองโกเลีย เคยใช้อักษรซีริลลิกก่อนจะเกิดความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหภาพโซเวียต

ประวัติ

 
เอกสารเขียนด้วยอักษรพักส์-ปา
 
ตัวอย่างอักษรโซยอมโบแต่ละพยางค์

ภาษามองโกเลียโบราณเป็นชื่อที่ใช้เรียกภาษาที่เป็นบรรพบุรุษของภาษามองโกเลีย เอกสารภาษามองโกเลียพบครั้งแรกในจารึกยิซุงเก ซึ่งเขียนด้วยอักษรมองโกเลีย อายุราว พ.ศ. 1767 – 1768 ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 – 20 ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษร 4 ชนิดคือ อักษรมองโกเลียที่พัฒนามาจากอักษรอุยกูร์ อักษรพักส์-ปา อักษรจีนและอักษรอาหรับ นักวิชาการบางคนเรียกภาษามองโกเลียที่เขียนด้วยอักษรสามชนิดหลังว่าภาษามองโกเลียยุคกลาง ภาษามองโกเลียคลาสสิกเกิดขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12 – 24 ซึ่งเป็นภาษาเขียนที่มีมาตรฐานในการสะกดคำและการเรียงประโยค และมีความแตกต่างจากภาษามองโกเลียสมัยใหม่ ใน พ.ศ. 2229 อักษรโซยอมโบซึ่งใช้สำหรับเอกสารทางพุทธศาสนาได้ถูกประดิษฐ์ขึ้น

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษามองโกเลีย

ภาษามองโกเล, เป, นภาษาทางการของประเทศมองโกเล, และเป, นภาษาหล, กของชาวมองโกเล, ยส, วนใหญ, งคนพ, ดส, วนใหญ, จะพ, ดแบบคอลคา, khalkha, นอกจากน, ดในพ, นท, รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณร, ฐประชาชนจ, นและสหพ, นธร, ฐร, สเซ, เป, นภาษาร, ปคำต, ดต, อคล, ายภาษาต, รก, หร, อภาษา. phasamxngokeliy epnphasathangkarkhxngpraethsmxngokeliy aelaepnphasahlkkhxngchawmxngokeliyswnihy sungkhnphudswnihycaphudaebbkhxlkha Khalkha nxkcakni phasamxngokeliykphudinphunthirxbnxkinbangmnthlkhxngsatharnrthprachachncinaelashphnthrthrsesiy phasamxngokeliy epnphasarupkhatidtxkhlayphasaturkihruxphasafinn mikaretimpccythiraksphth phasamxngokeliymiephiyngsrrphnamburusthihnungaelasxng aetimmiburusthisam aetichsrrphnamchiechphaa echn ni en nn ter nithnghlay ed nar aelannthnghlay ted nar aethnphasamxngokeliyMongol Mongol ᠮᠣᠨᠭᠭᠣᠯ ᠬᠡᠯᠡ Mongghol praethsthimikarphudcin khirkissthan mxngokeliy aelarsesiyphumiphakhmxngokeliy satharnrthbueriytiya rsesiy xissik khul khirkissthan mnthlehliywhning mnthlcihlin aelamnthlehyhlngeciyng cin canwnphuphud5 7 lan imphbwnthi trakulphasaxlitxik epnthiotaeyng mxngokliktawnxxkxxyrt khlkhakhlkha bueriytphasamxngokeliysthanphaphthangkarphasathangkarmxngokeliy ekhtpkkhrxngtnexngmxngokeliyin cin aelasatharnrthbueriytiya rsesiy rhsphasaISO 639 1mnISO 639 2monISO 639 3mihlakhlay mon Mongolian generic khk Halh Mongolianmvf Peripheral Mongolian enuxha 1 karaephrkracaythangphumisastr 2 karcdcaaenkaelasaeniyng 3 khayum 4 rabbkarekhiyn 5 prawtikaraephrkracaythangphumisastr aekikhphasamxngokeliyepnphasapracachatikhxngmxngokeliy miphuphudraw 2 5 lankhn aelayngepnphasarachkarinekhtpkkhrxngtnexngmxngokeliyininpraethscinthimiphuphudpraman 2 7 lankhnhruxmakkwa aetcanwnphuphudphasanithiaennxnincinpraeminidyak miphuphudsaeniyngkharchinaelasaeniyngkhxrchininehliywhning cihlin aelaehyhlngeciynginbriewnthitidtxkbmxngokeliyinkarcdcaaenkaelasaeniyng aekikhphasamxngokeliycdepnphasainklumphasamxngokl sungsmachikinklumnirwmthngphasamxngoklkhamniknaelaphasadakur thiichphudthangtawnxxkkhxngmxngokeliyaelainsineciyngxuykur phasachirayukur phasabxnn phasatngesiyng phasamxngekxr aelaphasakngeciy thiichphudinbriewnchingihaelakansu aelaxacrwmthungphasaomokhlthiepnphasatayipaelwinxfkanisthan esnaebngrahwangkarepnsaeniyngaelaepnphasaexkethsphayinklumphasamxngoklyngepnthiotethiyngknsaeniyngkhxlkhathuxepnsaeniyngmatrthankhxngphasamxngokeliy aetkarkahndsaeniyngyxyyngmikhwamehntangkn Sanzeev 1953 esnxwaphasamxngokeliymi 3 saeniyngkhux khxlkha chakhar aelaxxrdxs swnburytaelaoxyrtepnphasaexkeths Luvsanvandan 1959 esnxtangipwaphasamxngokeliyprakxbipdwyklumsaeniyngklang khxlkha chakhar xxrdxs klumsaeniyngtawnxxk kharchin khxrchin klumsaeniyngtawntk oxyrt khalmuks aelaklumsaeniyngehnux phasaburytthngsxngsaeniyng nkwichakartawntkbangklumaeykphasaxxrdxsxxkmaepnphasaexkeths inmxngokeliyin aebngphasamxngokeliyepn 3 saeniyngkhux saeniyngmxngokeliyit saeniyngoxyrt aelasaeniyngbarkhu burytkhayum aekikhinsmyobran phasamxngokeliymikhayumcakphasaetxrkikobran phasasnskvtphanthangphasaxuykur phasaepxresiy phasaxahrb phasathiebt phasatngkusit aelaphasacin khayuminyukhpccubnmacakphasarsesiy phasaxngkvs aelaphasacinodyechphaainmxngokeliyinrabbkarekhiyn aekikhkarekhiynphasamxngokeliymikhwamhlakhlay xksrmxngokeliythiphthnamacakxksrxuykurphthnakhunrawphuththstwrrsthi 18 txma rahwang ph s 2473 2475 mikarekhiynphasamxngokeliydwyxksrlatinepnrayaewlasn hlngcaknn idepliynmaichxksrsirillik inchwng ph s 2531 2534 mikhwamphyayamfunfuxksrmxngokeliymaichxikaetlmehlw inmxngokeliyin satharnrthprachachncin phasamxngokeliyepnphasarachkarrwmkbphasacinklang ichxksrmxngokeliy ekhyichxksrsirillikkxncaekidkhwamkhdaeyngrahwangcinkbshphaphosewiytprawti aekikh exksarekhiyndwyxksrphks pa twxyangxksrosyxmobaetlaphyangkh phasamxngokeliyobranepnchuxthiicheriykphasathiepnbrrphburuskhxngphasamxngokeliy exksarphasamxngokeliyphbkhrngaerkincarukyisungek sungekhiyndwyxksrmxngokeliy xayuraw ph s 1767 1768 inchwngphuththstwrrsthi 18 20 phasamxngokeliyekhiyndwyxksr 4 chnidkhux xksrmxngokeliythiphthnamacakxksrxuykur xksrphks pa xksrcinaelaxksrxahrb nkwichakarbangkhneriykphasamxngokeliythiekhiyndwyxksrsamchnidhlngwaphasamxngokeliyyukhklang phasamxngokeliykhlassikekidkhunemuxrawphuththstwrrsthi 12 24 sungepnphasaekhiynthimimatrthaninkarsakdkhaaelakareriyngpraoykh aelamikhwamaetktangcakphasamxngokeliysmyihm in ph s 2229 xksrosyxmobsungichsahrbexksarthangphuththsasnaidthukpradisthkhun wikiphiediy saranukrmesri inphasamxngokeliy ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasamxngokeliy amp oldid 9534289, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม