fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาอาร์เปอตัง

อาร์เปอตัง (อาร์เปอตัง: arpetan), อาร์ปีตัง (arpitan), เล็งกวาดูเว (lengoua d’ouè), ปาตูเว (patouès), กากา (gaga), โรมัง (romand) หรือ ฝรั่งเศสพรอว็องส์ (francoprovençâl) เป็นภาษาหรือกลุ่มของภาษาถิ่นภายในกลุ่มภาษาโรมานซ์กอล เดิมใช้พูดกันในภาคตะวันออกตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส ภาคตะวันตกของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอิตาลี ภาษาหรือกลุ่มภาษานี้มีความแตกต่างจากภาษาโรมานซ์ถิ่นที่อยู่ใกล้เคียง (กล่าวคือ ล็องก์ดอยล์และเล็งกอด็อกในฝรั่งเศส และโรมานซ์ไรติอาในสวิตเซอร์แลนด์และอิตาลี) แต่ก็มีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด

ภาษาอาร์เปอตัง
arpetan, arpitan, patouès, gaga
ออกเสียง[ɑrpəˈtɑ̃]; [ɑrpiˈtɑ̃]; [patuˈe, -tuˈɑ]; [gaˈgɑ]
ประเทศที่มีการพูดฝรั่งเศส, อิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์
ภูมิภาคฝรั่งเศส: ดู, ฌูว์รา, โซเนลัวร์, โรน, ลัวร์, อาร์แด็ช, โดรม, อีแซร์, ซาวัว, โอต-ซาวัว, แอ็ง
อิตาลี: วัลเลดาออสตา, ปีเยมอนเต, ฟอจจา;
สวิตเซอร์แลนด์: รอม็องดี
จำนวนผู้พูด227,000 คน  (2013)
(150,000 คนในฝรั่งเศส, 70,000 คนในอิตาลี,
7,000 คนในสวิตเซอร์แลนด์)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
ภาษาถิ่น
ซาวอย
ฌูว์รา
โดฟีเน
ฟาเอโตและเชลเล
ลียง
วัลเลดาออสตา
โว
ระบบการเขียนอักษรละติน
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน ฝรั่งเศส

 อิตาลี

 สวิตเซอร์แลนด์
รหัสภาษา
ISO 639-3frp
Linguasphere51-AAA-j
แผนที่พื้นที่ภาษาอาร์เปอตัง:
  • สีน้ำเงินเข้ม: ได้รับการคุ้มครอง
  • สีน้ำเงินอ่อน: พื้นที่ทั่วไป
  • สีฟ้า: พื้นที่เปลี่ยนผ่านดั้งเดิม

ภาษาอาร์เปอตังเป็นภาษาที่มีลักษณะกระจัดกระจายอย่างมากโดยประกอบด้วยภาษาท้องถิ่นหลายภาษาที่มีลักษณะเฉพาะตัวสูงและไม่เคยผสานรวมเข้าด้วยกันเมื่อเวลาผ่านไป ผู้พูดภาษาถิ่นหนึ่งมักเข้าใจอีกภาษาถิ่นหนึ่งได้ลำบาก ไม่มีพื้นที่ใดที่พูดภาษานี้ใน "รูปแบบบริสุทธิ์" และไม่มี "ภาษาอ้างอิงมาตรฐาน" ที่จะใช้ระบุเอกลักษณ์ภาษาตามนิยามสมัยใหม่ทั่วไป นี่เป็นที่มาของการที่ผู้พูดภาษาถิ่นต่าง ๆ ใช้ศัพท์หรือชื่อท้องถิ่นเรียกภาษาที่ตนเองพูด เช่น แบร็ส (brêssan), ฟอแร (forésien), ลียง (liyonês), ซาวอย (savoyârd), วัลเลดาออสตา (vâldoten) หรือแม้กระทั่ง ปาตูเว (แปลว่า ภาษาชนบท) ผู้พูดภาษาถิ่นเหล่านี้ที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญภาษาศาสตร์เพิ่งรับรู้ถึงเอกลักษณ์ร่วมแห่งภาษาอาร์เปอตังในสมัยหลังมานี้เท่านั้น

ในขณะที่ผู้พูดภาษาอาร์เปอตังมักเรียกภาษาของตนเองว่า ปาตูเว หรือด้วยชื่อภาษาถิ่นที่แตกต่างกันนั้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้มีการบัญญัติศัพท์ ฝรั่งเศสพรอว็องส์ ขึ้นใช้ในแวดวงภาษาศาสตร์ด้วยเห็นว่าภาษานี้มีลักษณะบางอย่างร่วมกับภาษาฝรั่งเศสและภาษาถิ่นพรอว็องส์ (ควบคู่ไปกับลักษณะเฉพาะของภาษา) ต่อมาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการเสนอให้เรียกภาษานี้โดยใช้ศัพท์ใหม่ว่า อาร์ปีตัง หรือ อาร์เปอตัง ซึ่งแผลงมาจากคำดั้งเดิมในภาษาที่แปลว่า "ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ในที่สูง" และเรียกภูมิภาคที่ใช้ภาษานี้ว่า อาร์ปีตานียา (Arpitania) หรือ อาร์เปอตานียา (Arpetania) การใช้ศัพท์ใหม่เหล่านี้เป็นไปอย่างจำกัดในปัจจุบัน นักวิชาการส่วนใหญ่ยังใช้ศัพท์ดั้งเดิมคือ ฝรั่งเศสพรอว็องส์ เพื่อความต่อเนื่อง แม้ว่าอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้ก็ตาม

ในอดีตภาษาอาร์เปอตังใช้พูดกันทั่วทั้งดัชชีซาวอย ในปัจจุบัน ในอิตาลีมีผู้พูดภาษานี้ในหุบเขาอาออสตา ตามหุบเขาต่าง ๆ ของเทือกเขาแอลป์รอบ ๆ ตูริน รวมทั้งในเมืองสองเมืองที่อยู่ห่างไกลออกไปในแคว้นปุลยา (ฟาเอโตและเชลเลดีซันวีโต) ในสวิตเซอร์แลนด์มีผู้พูดในพื้นที่ชนบทของภูมิภาคที่พูดภาษาฝรั่งเศส และในฝรั่งเศส ภาษาอาร์เปอตังเป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์กอลสามภาษาของประเทศ (ร่วมกับล็องก์ดอยล์และเล็งกอด็อก) และได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการว่าเป็นภาษาระดับภูมิภาคภาษาหนึ่ง แต่มีการใช้ภาษานี้เพียงเล็กน้อย

แม้จะนับรวมภาษาถิ่นที่แตกต่างกันทั้งหมดแล้ว แต่จำนวนผู้พูดภาษาอาร์เปอตังก็ลดลงอย่างมีนัยสำคัญและต่อเนื่อง ตามรายงานของยูเนสโกนั้น เมื่อถึง ค.ศ. 1995 ภาษาอาร์เปอตังได้รับการจัดเป็นภาษาในภาวะ "เสี่ยงใกล้สูญ" ในอิตาลี และ "ใกล้สูญ" ในสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส ส่วนเอ็ทนอล็อกจัดว่าภาษานี้อยู่ในภาวะ "เกือบสูญ" ถึงกระนั้น องค์การต่าง ๆ ก็พยายามรักษาภาษานี้ไว้ผ่านกิจกรรมทางวัฒนธรรม การศึกษา การวิจัยทางวิชาการ และการจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือเอกสารต่าง ๆ

อ้างอิง

  1. ภาษาอาร์เปอตัง at Ethnologue (18th ed., 2015)
  2. "Arpitan". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-11-15.
  3. Norme in materia di tutela delle minoranze linguistiche storiche, Italian parliament
  4. "f" (PDF). The Linguasphere Register. p. 165. สืบค้นเมื่อ 1 March 2013.
  5. Gasquet-Cyrus, Médéric (2018-02-14), Auzanneau, Michelle; Greco, Luca (บ.ก.), "Frontières linguistiques et glossonymie en zone de transition: le cas du patois de Valjouffrey", Dessiner les frontières, Langages, Lyon: ENS Éditions, ISBN 978-2-84788-983-3, สืบค้นเมื่อ 2020-11-16
  6. Alain Pichard, Nos ancêtres les Arpitans 2011-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 24 Heures, Lausanne, 2 May 2009.
  7. Enrico Allasino, Consuelo Ferrier, Sergio Scamuzzi, Tullio Telmon (2005). "LE LINGUE DEL PIEMONTE" (PDF). IRES. 113: 71 – โดยทาง Gioventura Piemontèisa.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  8. "Paesaggio Linguistico in Svizzera" [Switzerland's Linguistic Landscape]. Ufficio Federale di Statistica (ภาษาอิตาลี). 2000. สืบค้นเมื่อ 2020-02-28.

ภาษาอาร, เปอต, อาร, เปอต, อาร, เปอต, arpetan, อาร, arpitan, เล, งกวาด, เว, lengoua, ouè, ปาต, เว, patouès, กากา, gaga, โรม, romand, หร, ฝร, งเศสพรอว, องส, francoprovençâl, เป, นภาษาหร, อกล, มของภาษาถ, นภายในกล, มภาษาโรมานซ, กอล, เด, มใช, ดก, นในภาคตะว, นออกตอน. xarepxtng xarepxtng arpetan xarpitng arpitan elngkwaduew lengoua d oue patuew patoues kaka gaga ormng romand 2 hrux frngessphrxwxngs francoprovencal epnphasahruxklumkhxngphasathinphayinklumphasaormanskxl edimichphudkninphakhtawnxxktxnklangkhxngpraethsfrngess phakhtawntkkhxngpraethsswitesxraelnd aelaphakhtawntkechiyngehnuxkhxngpraethsxitali phasahruxklumphasanimikhwamaetktangcakphasaormansthinthixyuiklekhiyng klawkhux lxngkdxylaelaelngkxdxkinfrngess aelaormansirtixainswitesxraelndaelaxitali aetkmikhwamekiywkhxngknxyangiklchidphasaxarepxtngarpetan arpitan patoues gagaxxkesiyng ɑrpeˈtɑ ɑrpiˈtɑ patuˈe tuˈɑ gaˈgɑ praethsthimikarphudfrngess xitali switesxraelndphumiphakhfrngess du chuwra osenlwr orn lwr xaraedch odrm xiaesr saww oxt saww aexngxitali wleldaxxsta pieymxnet fxcca switesxraelnd rxmxngdicanwnphuphud227 000 khn 2013 1 150 000 khninfrngess 70 000 khninxitali 7 000 khninswitesxraelnd 2 trakulphasaxinod yuorepiyn xitalikormansormanstawntkormanskxlphasaxarepxtngphasathinsawxy chuwra odfien faexotaelaechlel liyng wleldaxxsta owrabbkarekhiynxksrlatinsthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin frngess xitali wleldaxxsta idrbkarkhumkhrxngtamkdhmay 3 switesxraelndrhsphasaISO 639 3frpLinguasphere51 AAA j 4 aephnthiphunthiphasaxarepxtng sinaenginekhm idrbkarkhumkhrxng sinaenginxxn phunthithwip sifa phunthiepliynphandngedimphasaxarepxtngepnphasathimilksnakracdkracayxyangmakodyprakxbdwyphasathxngthinhlayphasathimilksnaechphaatwsungaelaimekhyphsanrwmekhadwyknemuxewlaphanip phuphudphasathinhnungmkekhaicxikphasathinhnungidlabak immiphunthiidthiphudphasaniin rupaebbbrisuththi aelaimmi phasaxangxingmatrthan thicaichrabuexklksnphasatamniyamsmyihmthwip niepnthimakhxngkarthiphuphudphasathintang ichsphthhruxchuxthxngthineriykphasathitnexngphud echn aebrs bressan fxaer foresien liyng liyones sawxy savoyard wleldaxxsta valdoten 5 hruxaemkrathng patuew aeplwa phasachnbth phuphudphasathinehlanithiimichphuechiywchayphasasastrephingrbruthungexklksnrwmaehngphasaxarepxtnginsmyhlngmaniethanninkhnathiphuphudphasaxarepxtngmkeriykphasakhxngtnexngwa patuew hruxdwychuxphasathinthiaetktangknnn inkhriststwrrsthi 19 idmikarbyytisphth frngessphrxwxngs khunichinaewdwngphasasastrdwyehnwaphasanimilksnabangxyangrwmkbphasafrngessaelaphasathinphrxwxngs khwbkhuipkblksnaechphaakhxngphasa txmainplaykhriststwrrsthi 20 mikaresnxiheriykphasaniodyichsphthihmwa xarpitng hrux xarepxtng sungaephlngmacakkhadngediminphasathiaeplwa thunghyaeliyngstwinthisung 6 aelaeriykphumiphakhthiichphasaniwa xarpitaniya Arpitania hrux xarepxtaniya Arpetania karichsphthihmehlaniepnipxyangcakdinpccubn nkwichakarswnihyyngichsphthdngedimkhux frngessphrxwxngs ephuxkhwamtxenuxng aemwaxacthaihekidkhwamekhaicphididktaminxditphasaxarepxtngichphudknthwthngdchchisawxy inpccubn inxitalimiphuphudphasaniinhubekhaxaxxsta tamhubekhatang khxngethuxkekhaaexlprxb turin rwmthnginemuxngsxngemuxngthixyuhangiklxxkipinaekhwnpulya faexotaelaechleldisnwiot 7 inswitesxraelndmiphuphudinphunthichnbthkhxngphumiphakhthiphudphasafrngess aelainfrngess phasaxarepxtngepnhnunginphasaklumormanskxlsamphasakhxngpraeths rwmkblxngkdxylaelaelngkxdxk aelaidrbkarrbrxngxyangepnthangkarwaepnphasaradbphumiphakhphasahnung aetmikarichphasaniephiyngelknxyaemcanbrwmphasathinthiaetktangknthnghmdaelw aetcanwnphuphudphasaxarepxtngkldlngxyangminysakhyaelatxenuxng 8 tamrayngankhxngyuensoknn emuxthung kh s 1995 phasaxarepxtngidrbkarcdepnphasainphawa esiyngiklsuy inxitali aela iklsuy inswitesxraelndaelafrngess swnexthnxlxkcdwaphasanixyuinphawa ekuxbsuy 2 thungkrann xngkhkartang kphyayamrksaphasaniiwphankickrrmthangwthnthrrm karsuksa karwicythangwichakar aelakarcdphimphephyaephrhnngsuxexksartang xangxing aekikh phasaxarepxtng at Ethnologue 18th ed 2015 2 0 2 1 2 2 Arpitan Ethnologue phasaxngkvs subkhnemux 2020 11 15 Norme in materia di tutela delle minoranze linguistiche storiche Italian parliament f PDF The Linguasphere Register p 165 subkhnemux 1 March 2013 Gasquet Cyrus Mederic 2018 02 14 Auzanneau Michelle Greco Luca b k Frontieres linguistiques et glossonymie en zone de transition le cas du patois de Valjouffrey Dessiner les frontieres Langages Lyon ENS Editions ISBN 978 2 84788 983 3 subkhnemux 2020 11 16 Alain Pichard Nos ancetres les Arpitans Archived 2011 07 15 thi ewyaebkaemchchin 24 Heures Lausanne 2 May 2009 Enrico Allasino Consuelo Ferrier Sergio Scamuzzi Tullio Telmon 2005 LE LINGUE DEL PIEMONTE PDF IRES 113 71 odythang Gioventura Piemonteisa CS1 maint multiple names authors list link Paesaggio Linguistico in Svizzera Switzerland s Linguistic Landscape Ufficio Federale di Statistica phasaxitali 2000 subkhnemux 2020 02 28 bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasa ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaxarepxtng amp oldid 9707247, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม