fbpx
วิกิพีเดีย

วงโคจร

ในฟิสิกส์, วงโคจรเป็นเส้นทางโค้งแห่งแรงโน้มถ่วงของวัตถุรอบ ๆ จุดในอวกาศ, ตัวอย่างเช่นวงโคจรของดาวเคราะห์รอบจุดศูนย์กลางของระบบดาว, อย่างเช่นระบบสุริยะ วงโคจรของดาวเคราะห์มักจะเป็นวงรี วงโคจร คือ เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่งรอบอีกวัตถุหนึ่ง โดยอยู่ภายใต้อิทธิพลแรงสู่ศูนย์กลาง อาทิ ความโน้มถ่วง ตัวอย่างเช่น วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก คำกริยาใช้ว่า "โคจร" เช่น โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวเทียมไทยคมโคจรรอบโลก

สถานีอวกาศนานาชาติ (The International Space Station) กำลังโคจรอยู่เหนือโลก
ดาวเทียมโคจรรอบโลกจะมีความเร็วแนวเส้นสัมผัสและความเร่งสู่ภายใน
เทหวัตถุสองอย่างที่มีความแตกต่างกันของมวลโคจร แบบ barycenter ที่พบได้บ่อย ๆ ขนาดสัมพัทธ์และประเภทของวงโคจรมีลักษณะที่คล้ายกับระบบดาวพลูโต-แครัน (Pluto–Charon system)

คนทั่วไปมักเข้าใจว่าดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม แต่ในความเป็นจริง ส่วนใหญ่แล้ววัตถุหนึ่งจะโคจรรอบอีกวัตถุหนึ่งในวงโคจรที่เป็นวงรี

ความเข้าใจในปัจจุบันในกลศาสตร์ของการเคลื่อนที่ในวงโคจรอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งคิดสำหรับแรงโน้มถ่วงอันเนื่องจากความโค้งของอวกาศ-เวลาที่มีวงโคจรตามเส้น จีโอแดสิค (geodesics) เพื่อความสะดวกในการคำนวณ สัมพัทธภาพจะเป็นค่าประมาณโดยทั่วไปของทฤษฎีพื้นฐานแห่งแรงโน้มถ่วงสากลตามกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเคปเลอร์

ประวัติ

ในอดีตปรากฏการณ์การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ได้มีความเข้าใจกันมาก่อนหน้าในเชิงเรขาคณิต (และโดยไม่คำนึงถึงแรงโน้มถ่วง) ในแง่ของ ทฤษฎีแอปปิไซเคิล (epicycles) ซึ่งเป็นผลรวมของการเคลื่อนที่เป็นวงกลมเป็นจำนวนมาก ทฤษฎีชนิดนี้คาดการณ์เส้นทางของดาวเคราะห์ได้ดีพอควร จนกระทั่ง โยฮันเนส เคปเลอร์ กฎข้อที่หนึ่งเคปเลอร์กล่าวไว้ว่า "ดาวเคราะห์โคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ซึ่งอยู่ที่ตำแหน่งโฟกัสของวงรี" แสดงให้เห็นว่าการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ที่แท้แล้วมีการเคลื่อนที่เป็นวงรี (โดยประมาณเป็นอย่างน้อย)

ในแบบจำลองซึ่งมีโลกเป็นจุดศูนย์กลางของระบบสุริยะ แบบจำลองทรงกลมท้องฟ้าถูกนำมาใช้เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ในท้องฟ้าในแง่ของทรงกลมที่สมบูรณ์แบบหรือวงแหวน ยังสามารถบอกตำแหน่งวัตถุบนท้องฟ้าอย่างถูกต้อง แต่หลังจากที่การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ได้ถูกวัดได้อย่างแม่นยำมากขึ้น กลไกเชิงทฤษฎีเช่น deferent และ epicyclesได้ถูกเพิ่มเติมเข้าไป แม้ว่าจะมีความสามารถในการทำนายตำแหน่งดาวเคราะห์ในท้องฟ้าได้อย่างถูกต้อง, ทฏษฎี epicycles อย่างเช่น นิโคลัส โคเปอร์นิคัส นั้นมองว่ามันไม่สมเหตุสมผล เขาจึงริเริ่มแนวคิดเรื่องระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางHeliocentric ของอริสตาร์ชูส ขึ้นมาใหม่ ทฏษฎี epicycles นั้นจึงได้มีความจำเป็นเพิ่มมากยิ่งขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป, และแบบจำลองก็กลายเป็นความเทอะทะเพิ่มมากยิ่งขึ้น

พื้นฐานสำหรับการทำความเข้าใจในยุคสมัยใหม่เกี่ยวกับวงโคจรเป็นสูตรแรกที่คิดขึ้นโดยโยฮันเนส เคปเลอร์ที่มีผลการสรุปในสามกฎของการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ประการแรกเขาพบว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะของเราเป็นวงรี ไม่ได้เป็นวงกลม (หรือ epicyclic) ดังเช่นที่เคยเชื่อกัน และยังกล่าวว่าดวงอาทิตย์ไม่ได้อยู่ที่ศูนย์กลางของวงโคจร แต่อยู่ที่จุดโฟกัสจุดหนึ่ง ประการที่สอง เขาพบว่าความเร็วของการโคจรของดาวเคราะห์แต่ละดวงไม่คงที่ดังที่เคยคิดไว้ก่อนหน้านี้ว่าเวลาที่ดาวเคราะห์ใช้โคจรรอบดวงอาทิตย์ คาบเวลาเท่ากันจะกวาดได้พื้นที่เท่ากัน แต่พบว่าความเร็วขึ้นอยู่กับระยะห่างของดาวเคราะห์จากดวงอาทิตย์ ประการที่สามเคปเลอร์พบความสัมพันธ์สากลระหว่างสมบัติการโคจรของดาวเคราะห์ทั้งหมดที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ สำหรับดาวเคราะห์, กำลังสามของระยะทางจากดวงอาทิตย์เป็นสัดส่วนกับกำลังสองของคาบการโคจรของมัน ยกตัวอย่างเช่น ดาวพฤหัสบดีและดาวศุกร์จะมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 5.2 และ 0.723 หน่วยดาราศาสตร์ (AU), มีคาบการโคจรประมาณ 11.86 ปี และ 0.615 ปี ตามลำดับ ความเป็นสัดส่วนกันนั้นจะเห็นได้โดยข้อเท็จจริงที่อัตราส่วนดังกล่าวสำหรับดาวพฤหัสบดีเป็น 5.23/11.862, สำหรับดาวศุกร์เป็น 0.7233/0.6152 สอดคล้องกับความสัมพันธ์กันตามกฏดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นดาวเคราะห์ดวงใดก็ตามประการที่ 3 นี้เรียกว่า “กฎฮาร์มอนิก” (Harmonic Law)

 
เส้นที่ลากออกเป็นวงโคจรที่เป็นอิทธิพลเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงของแหล่งกำเนิดศูนย์กลางคือภาคตัดกรวย: รูปร่างของเส้นโค้งของจุดตัดระหว่างระนาบและกรวย ได้แก่ พาราโบลา (1) และไฮเปอโบลา (3) วงโคจรที่เป็นวงโคจรหลุดพ้นจะเป็นวงโคจรที่เป็นรูปวงรีและวงกลม คือ จะไม่มีทางออก (2)
 
ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ (trajectory) ในบ่อศักย์ความโน้มถ่วงของสนามพลังงานศักย์ของศูนย์กลางมวลสี่ประเภท โดยแสดงให้เห็นในส่วนที่เป็นสีดำและความสูงของพลังงานจลน์ของวัตถุเคลื่อนไหวที่แสดงในส่วนที่เป็นสีแดงที่ยืดขยายออกไป, ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของอัตราเร็วตามการเปลี่ยนแปลงของระยะทางอันสอดคล้องกันกับกฎของเคปเลอร์

ไอแซก นิวตัน ได้แสดงให้เห็นว่ากฎของเคปเลอร์เป็นสิ่งที่สืบเนื่องมาจากทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของเขาและกล่าวอีกว่า, โดยทั่วไปแล้ว วงโคจรของวัตถุอันเนื่องมาจากแรงโน้มถ่วงคือภาคตัดกรวยถ้าแรงโน้มถ่วงถูกแพร่กระจายออกอย่างทันทีทันใด นิวตันแสดงให้เห็นว่าคู่ของวัตถุ, ขนาดวงโคจร, จะเป็นสัดส่วนผกผันกับมวลของมันเอง, วัตถุนั้นจะโคจรไปรอบๆของ ศูนย์กลางมวล (center of mass) ร่วมกัน เมื่อวัตถุหนึ่งที่มีขนาดของมวลมากกว่าขนาดของมวลอื่น ๆ มันจะเป็นการประมาณการที่สะดวกในการที่จะใช้เป็นศูนย์กลางของมวลนั้นที่มีความสอดคล้องต้องกันกับศูนย์กลางมวลของวัตถุที่มีขนาดมวลที่มีขนาดมากกว่า

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) สามารถที่จะแสดงให้เห็นได้ว่าแรงโน้มถ่วงนั้นเกิดจากความโค้งของกาล-อวกาศ (space-time)หรืออาจจะแปลว่าปริภูมิก็ได้ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเป็นทฤษฎีเชิงเรขาคณิตที่ถือหลักว่ามวลและพลังงานทำให้เกิดการโค้งงอของกาล-อวกาศ การโค้งนี้ส่งผลต่อเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคอิสระรวมทั้งแสง และเขาก็สามารถที่จะลบล้างสมมติฐานของนิวตันที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงแพร่กระจายตัวออกไปอย่างทันทีทันใดของแรงโน้มถ่วงลงได้อีกด้วย

อ้างอิง

  1. The Space Place :: What's a Barycenter
  2. orbit (astronomy) - Britannica Online Encyclopedia
  3. Kuhn, The Copernican Revolution, pp. 238, 246–252

วงโคจร, ในฟ, กส, เป, นเส, นทางโค, งแห, งแรงโน, มถ, วงของว, ตถ, รอบ, ดในอวกาศ, วอย, างเช, นของดาวเคราะห, รอบจ, ดศ, นย, กลางของระบบดาว, อย, างเช, นระบบส, ยะ, ของดาวเคราะห, กจะเป, นวงร, เส, นทางการเคล, อนท, ของว, ตถ, หน, งรอบอ, กว, ตถ, หน, โดยอย, ภายใต, ทธ, พลแรง. infisiks wngokhcrepnesnthangokhngaehngaerngonmthwngkhxngwtthurxb cudinxwkas twxyangechnwngokhcrkhxngdawekhraahrxbcudsunyklangkhxngrabbdaw xyangechnrabbsuriya 1 2 wngokhcrkhxngdawekhraahmkcaepnwngri wngokhcr khux esnthangkarekhluxnthikhxngwtthuhnungrxbxikwtthuhnung odyxyuphayitxiththiphlaerngsusunyklang xathi khwamonmthwng twxyangechn wngokhcrkhxngdwngcnthrrxbolk khakriyaichwa okhcr echn olkokhcrrxbdwngxathity dawethiymithykhmokhcrrxbolksthanixwkasnanachati The International Space Station kalngokhcrxyuehnuxolk dawethiymokhcrrxbolkcamikhwamerwaenwesnsmphsaelakhwamerngsuphayin ethhwtthusxngxyangthimikhwamaetktangknkhxngmwlokhcr aebb barycenter thiphbidbxy khnadsmphththaelapraephthkhxngwngokhcrmilksnathikhlaykbrabbdawphluot aekhrn Pluto Charon system khnthwipmkekhaicwadawekhraahokhcrrxbdwngxathityepnwngklm aetinkhwamepncring swnihyaelwwtthuhnungcaokhcrrxbxikwtthuhnunginwngokhcrthiepnwngrikhwamekhaicinpccubninklsastrkhxngkarekhluxnthiinwngokhcrxyubnphunthankhxngthvsdismphththphaphthwipkhxng xlebirt ixnsitn sungkhidsahrbaerngonmthwngxnenuxngcakkhwamokhngkhxngxwkas ewlathimiwngokhcrtamesn cioxaedsikh geodesics ephuxkhwamsadwkinkarkhanwn smphththphaphcaepnkhapramanodythwipkhxngthvsdiphunthanaehngaerngonmthwngsakltamkdkarekhluxnthikhxngdawekhraahkhxngekhpelxr 3 prawti aekikhinxditpraktkarnkarekhluxnthikhxngdawekhraahidmikhwamekhaicknmakxnhnainechingerkhakhnit aelaodyimkhanungthungaerngonmthwng inaengkhxng thvsdiaexppiisekhil epicycles sungepnphlrwmkhxngkarekhluxnthiepnwngklmepncanwnmak thvsdichnidnikhadkarnesnthangkhxngdawekhraahiddiphxkhwr cnkrathng oyhnens ekhpelxr kdkhxthihnungekhpelxrklawiwwa dawekhraahokhcrepnwngrirxbdwngxathitysungxyuthitaaehnngofkskhxngwngri aesdngihehnwakarekhluxnthikhxngdawekhraahthiaethaelwmikarekhluxnthiepnwngri odypramanepnxyangnxy inaebbcalxngsungmiolkepncudsunyklangkhxngrabbsuriya aebbcalxngthrngklmthxngfathuknamaichephuxxthibaykarekhluxnthipraktkhxngdawekhraahinthxngfainaengkhxngthrngklmthismburnaebbhruxwngaehwn yngsamarthbxktaaehnngwtthubnthxngfaxyangthuktxng aethlngcakthikarekhluxnthikhxngdawekhraahidthukwdidxyangaemnyamakkhun klikechingthvsdiechn deferent aela epicyclesidthukephimetimekhaip aemwacamikhwamsamarthinkarthanaytaaehnngdawekhraahinthxngfaidxyangthuktxng thtsdi epicycles xyangechn niokhls okhepxrnikhs nnmxngwamnimsmehtusmphl ekhacungrierimaenwkhideruxngrabbdwngxathityepnsunyklangHeliocentric khxngxristarchus khunmaihm thtsdi epicycles nncungidmikhwamcaepnephimmakyingkhunemuxewlaphanip aelaaebbcalxngkklayepnkhwamethxathaephimmakyingkhunphunthansahrbkarthakhwamekhaicinyukhsmyihmekiywkbwngokhcrepnsutraerkthikhidkhunodyoyhnens ekhpelxrthimiphlkarsrupinsamkdkhxngkarekhluxnthikhxngdawekhraah prakaraerkekhaphbwawngokhcrkhxngdawekhraahinrabbsuriyakhxngeraepnwngri imidepnwngklm hrux epicyclic dngechnthiekhyechuxkn aelayngklawwadwngxathityimidxyuthisunyklangkhxngwngokhcr aetxyuthicudofkscudhnung prakarthisxng ekhaphbwakhwamerwkhxngkarokhcrkhxngdawekhraahaetladwngimkhngthidngthiekhykhidiwkxnhnaniwaewlathidawekhraahichokhcrrxbdwngxathity khabewlaethakncakwadidphunthiethakn aetphbwakhwamerwkhunxyukbrayahangkhxngdawekhraahcakdwngxathity prakarthisamekhpelxrphbkhwamsmphnthsaklrahwangsmbtikarokhcrkhxngdawekhraahthnghmdthiokhcrrxbdwngxathity sahrbdawekhraah kalngsamkhxngrayathangcakdwngxathityepnsdswnkbkalngsxngkhxngkhabkarokhcrkhxngmn yktwxyangechn dawphvhsbdiaeladawsukrcamirayahangcakdwngxathitypraman 5 2 aela 0 723 hnwydarasastr AU mikhabkarokhcrpraman 11 86 pi aela 0 615 pi tamladb khwamepnsdswnknnncaehnidodykhxethccringthixtraswndngklawsahrbdawphvhsbdiepn 5 23 11 862 sahrbdawsukrepn 0 7233 0 6152 sxdkhlxngkbkhwamsmphnthkntamktdngklaw imwacaepndawekhraahdwngidktamprakarthi 3 nieriykwa kdharmxnik Harmonic Law esnthilakxxkepnwngokhcrthiepnxiththiphlenuxngmacakaerngonmthwngkhxngaehlngkaenidsunyklangkhuxphakhtdkrwy ruprangkhxngesnokhngkhxngcudtdrahwangranabaelakrwy idaek pharaobla 1 aelaihepxobla 3 wngokhcrthiepnwngokhcrhludphncaepnwngokhcrthiepnrupwngriaelawngklm khux caimmithangxxk 2 phaphniaesdngihehnthungesnthangkarekhluxnthikhxngwtthu trajectory inbxskykhwamonmthwngkhxngsnamphlngnganskykhxngsunyklangmwlsipraephth odyaesdngihehninswnthiepnsidaaelakhwamsungkhxngphlngnganclnkhxngwtthuekhluxnihwthiaesdnginswnthiepnsiaedngthiyudkhyayxxkip sungmikhwamsmphnthkbkarepliynaeplngkhxngxtraerwtamkarepliynaeplngkhxngrayathangxnsxdkhlxngknkbkdkhxngekhpelxr ixaesk niwtn idaesdngihehnwakdkhxngekhpelxrepnsingthisubenuxngmacakthvsdiaerngonmthwngkhxngekhaaelaklawxikwa odythwipaelw wngokhcrkhxngwtthuxnenuxngmacakaerngonmthwngkhuxphakhtdkrwythaaerngonmthwngthukaephrkracayxxkxyangthnthithnid niwtnaesdngihehnwakhukhxngwtthu khnadwngokhcr caepnsdswnphkphnkbmwlkhxngmnexng wtthunncaokhcriprxbkhxng sunyklangmwl center of mass rwmkn emuxwtthuhnungthimikhnadkhxngmwlmakkwakhnadkhxngmwlxun mncaepnkarpramankarthisadwkinkarthicaichepnsunyklangkhxngmwlnnthimikhwamsxdkhlxngtxngknkbsunyklangmwlkhxngwtthuthimikhnadmwlthimikhnadmakkwaxlebirt ixnsitn Albert Einstein samarththicaaesdngihehnidwaaerngonmthwngnnekidcakkhwamokhngkhxngkal xwkas space time hruxxaccaaeplwapriphumikid thvsdismphththphaphthwipepnthvsdiechingerkhakhnitthithuxhlkwamwlaelaphlngnganthaihekidkarokhngngxkhxngkal xwkas karokhngnisngphltxesnthangkarekhluxnthikhxngxnuphakhxisrarwmthngaesng aelaekhaksamarththicalblangsmmtithankhxngniwtnthiwadwykarepliynaeplngaephrkracaytwxxkipxyangthnthithnidkhxngaerngonmthwnglngidxikdwyxangxing aekikh The Space Place What s a Barycenter orbit astronomy Britannica Online Encyclopedia Kuhn The Copernican Revolution pp 238 246 252 bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title wngokhcr amp oldid 9348022, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม