fbpx
วิกิพีเดีย

ไฮดรอกซิซีน

ไฮดรอกซิซีน (Hydroxyzine) เป็นสารต้านฮิสตามีนรุ่นแรกที่อยู่ในกลุ่ม diphenylmethane และ piperazine ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยบริษัทเบลเยียม (Union Chimique Belge) ในปี 2499 และยังเป็นยาที่ใช้อย่างกว้างขวางทุกวันนี้ เนื่องจากฤทธิ์ต้านหน่วยรับความรู้สึกหลายอย่างในสมอง ยาจึงมีฤทธิ์คลายกังวลที่มีกำลัง ต้านความหมกมุ่น และรักษาโรคจิตอย่างอ่อน ๆ ทุกวันนี้ มันมักจะใช้โดยหลักเพื่อคลายกังวลและความเครียดที่สัมพันธ์กับโรคจิตประสาท (psychoneurosis) และเป็นยาเพิ่ม (adjunct) ในโรคทางกายอื่น ๆ ที่คนไข้รู้สึกกังวล เนื่องจากฤทธิ์ต้านฮิสตามีน จึงสามารถใช้รักษาความคัน ภาวะรู้สึกเจ็บมากกว่าปรกติ (hyperalgesia) และความคลื่นไส้ที่เกิดจากการป่วยจากการเคลื่อนไหว (เช่นเมารถเมาเรือ) และยังใช้ในบางกรณีเพื่อบรรเทาผลการขาดยากลุ่มโอปิออยด์ แม้ว่ามันจะมีฤทธิ์ระงับประสาท (sedative) ให้นอนหลับ (hypnotic) และคลายกังวล (anxiolytic) แต่มันไม่มีลักษณะของสารที่ใช้เสพติด รวมทั้งการติดและโอกาสเป็นพิษเหมือนกับยาอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์คล้าย ๆ กัน ยาสามารถใช้เพิ่มผลระงับความเจ็บปวดของยากลุ่มโอปิออยด์ต่าง ๆ และบรรเทาผลข้างเคียงของพวกมัน เช่น ความคัน ความคลื่นไส้ และการอาเจียน การซื้อยาในบางประเทศต้องอาศัยใบสั่งยาจากแพทย์ โดยขายในสองรูปแบบ คือ pamoate และ hydrochloride salt ยาที่คล้าย/สัมพันธ์กับไฮดร๊อกซิซีนรวมทั้ง ไซคลิซีน, บิวคลิซีน และ meclizine ซึ่งมีประโยชน์ ข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวัง และผลข้างเคียงเหมือนกับไฮดร๊อกซิซีน

ไฮดรอกซิซีน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าVistaril, Atarax
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682866
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: A
  • US: C (ยังไม่ชี้ขาด)
ช่องทางการรับยาOral, IM
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • AU: S4 (ต้องใช้ใบสั่งยา)
  • In general: ℞ (Prescription only)
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลHigh in-vivo
การจับกับโปรตีน93%
การเปลี่ยนแปลงยาHepatic
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ20–24 hours
การขับออกUrine, Feces
ตัวบ่งชี้
  • (±)-2-(2-{4-[(4-chlorophenyl)-phenylmethyl]piperazin-1-yl}ethoxy)ethanol
เลขทะเบียน CAS
  • 68-88-2[CAS]
PubChem CID
  • 3658
IUPHAR/BPS
  • 7199
DrugBank
  • DB00557  7
ChemSpider
  • 3531  7
UNII
  • 30S50YM8OG
KEGG
  • D08054  7
ChEBI
  • CHEBI:5818  7
ChEMBL
  • CHEMBL896  7
ECHA InfoCard100.000.630
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC21H27ClN2O2
มวลต่อโมล374.904 g/mol
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • Interactive image
SMILES
  • Clc1ccc(cc1)C(c2ccccc2)N3CCN(CC3)CCOCCO
InChI
  • InChI=1S/C21H27ClN2O2/c22-20-8-6-19(7-9-20)21(18-4-2-1-3-5-18)24-12-10-23(11-13-24)14-16-26-17-15-25/h1-9,21,25H,10-17H2  7
  • Key:ZQDWXGKKHFNSQK-UHFFFAOYSA-N  7
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

สารต้านฮิสตามีนรุ่นสองคือ เซทิไรซีน จริง ๆ ก็คือ เมแทบอไลต์ของไฮดร๊อกซิซีนที่เกิดในร่างกายมนุษย์ แต่ว่าโดยที่ไม่เหมือนกับไฮดร๊อกซิซีน เซทิไรซีนดูเหมือนจะไม่ข้ามตัวกั้นเลือด-สมอง (blood-brain barrier) อย่างสำคัญ แม้ว่าจะมีรายงานว่ามีผลต่อกล้ามเนื้อและมีฤทธิ์ระงับประสาท ดังนั้น ทำให้เป็นสารต้านฮิสตามีนที่ดี เพราะมีผลระงับความกังวลและฤทธิ์ต่อจิตใจอย่างอื่น ๆ น้อยลง แต่ว่าก็ยังสามารถมีผลต่อกล้ามเนื้อและทำให้ง่วงนอนสำหรับคนไข้บางคนได้

เคมี

ไฮดร๊อกซิซีนสามารถสังเคราะห์ได้โดยกระบวนการเพิ่มกลุ่ม alkyl (alkylation) ของ 1-(4-chlorobenzohydril)piperazine ต่อ 2-(2-hydroxyethoxy)ethylchloride

เภสัชวิทยา

ฤทธิ์หลักของยาก็คือเป็นตัวทำการผกผัน (inverse agonist) ของ H1 receptor (หน่วยรับ H1) ที่มีกำลัง (ที่ความเข้มข้น Ki = 2 nM) แต่ไม่เหมือนกับสารต้านฮิสตามีนรุ่นแรกหลายอย่าง มันมีสัมพรรคภาพ (affinity) ที่ต่ำกับ mACh receptor (Ki = >10,000 nM) และดังนั้น จึงมีโอกาสให้ผลข้างเคียงแบบ anticholinergic น้อยกว่า (เช่น ร่างกายทำงานไม่ประสาน สมองเสื่อม เป็นต้น) นอกจากฤทธิ์ต้านสฮิสตามีน ยายังมีผลเป็นตัวต้าน (antagonist) ของ 5-HT2A receptor (Ki = ~50 nM), D2 receptor (Ki = 378 nM) และ α1-adrenergic receptor (Ki = ~300 nM) อีกด้วย

ฤทธิ์ต้านระบบเซโรโทนิน (antiserotonergic) ของยาน่าจะเป็นเหตุให้ยามีฤทธิ์คลายกังวล (anxiolytic) เพราะว่า สารต้านฮิสตามีนอย่างอื่นที่ไม่มีคุณสมบัตินี้ จะไม่มีผลบำบัดความกังวล

การใช้

ไฮดร๊อกซิซีนใช้เป็นสารต้านฮิสตามีน ยาคลายกังวล (anxiolytic) และยาสงบประสาท (tranquilizer) ซึ่งสามัญเป็นพิเศษในทันตแพทยศาสตร์แต่สามัญน้อยกว่าในการแพทย์ ที่หลายปีมักใช้ยาร่วมกับยากลุ่มโอปิออยด์เพราะสามารถยับยั้งผลข้างเคียงของยาโอปิออยด์ที่เป็นยาแก้ปวด คือ ระงับความคันและความคลื่นไส้ และเพราะมีผลระงับประสาทที่เสริมกับผลระงับปวดของยาโอปิออยด์[ต้องการอ้างอิง]

หมอจะสั่งยาเมื่อโรคที่มีเหตุจากโครงสร้างและเนื้อเยื่อมีอาการกังวล เช่น โรควิตกกังวลไปทั่ว (GAD) หรือในโรคจิตประสาท (psychoneurosis) ที่รุนแรง เพื่อให้คนไข้สามารถใช้ชีวิตตามปกติได้ ยามีหลักฐานว่ามีประสิทธิภาพเท่ากับ เบ็นโซไดอาเซพีน และ bromazepam ในการรักษา GAD แต่ก็มีงานปริทัศน์เป็นระบบที่ไม่แนะนำให้ใช้ยาสำหรับ GAD แม้ว่าเมื่อเทียบกับยาคลายกังวลอื่น ๆ (รวมทั้ง เบ็นโซไดอาเซพีน และ buspirone) แล้ว ยามีประสิทธิภาพ มีความยอมรับได้ และมีความอดทนใช้ยาได้เท่าเทียมกัน

ยาสามารถใช้รักษาอาการภูมิแพ้ เช่น ลมพิษ ผิวหนังอักเสบเหตุภูมิแพ้ (atopic dermatitis) ผิวหนังอักเสบเหตุถูกสัมผัส (contact dermatitis) และอาการคันที่อำนวยโดยฮิสตามีน และได้ยืนยันแล้วว่า ยาไม่มีผลที่ไม่ต้องการต่อตับ เลือด ระบบประสาท หรือระบบปัสสาวะ การให้เป็นยานำ (premedication) เพื่อระงับประสาทไม่มีผลต่อยากลุ่ม tropane alkaloid เช่น อะโทรปีน แต่หลังจากการให้ยาสลบ (general anesthesia) อาจเพิ่มฤทธิ์ของยาเพทิดีน (ยากลุ่มโอปิออยด์) และ barbiturate และดังนั้น การใช้เป็นยาเสริมก่อนวางยาสลบควรจะเปลี่ยนแปลงตามสภาพคนไข้

ในบางกรณี ยาอาจใช้เป็นยานอนหลับที่ไม่ใช่ในกลุ่ม barbiturate ใช้ในการระงับประสาทก่อนผ่าตัด หรือรักษาโรคทางประสาท เช่น โรคจิตประสาท (psychoneurosis) และรูปแบบอื่น ๆ ของความวิตกกังวลหรือความเครียด สำหรับทันตกรรม สูติกรรม กรรมวิธีต่าง ๆ และในกรณีที่มีการเจ็บปวดมากอย่างฉับพลันเช่นในอุบัติเหตุ ยาสามารถใช้เป็นยาคลายกังวลอันดับแรก (first line) และยาเสริมยากลุ่มโอปิออยด์ (ยาแก้ปวด) เพราะว่ามันไม่เป็นทั้งปฏิปักษ์ ทั้งไม่เสริมยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน และ scopolamine ดังนั้นจึงสามารถใช้ยาเหล่านั้นพร้อมกันหรือภายหลังเมื่อจำเป็น[ต้องการอ้างอิง]

งานวิจัยพฤติกรรมสัตว์

ยาสามารถลดระดับความล้มเหลวในการหลบหนีของหนู (คืออาจลดความกลัว/ความกังวล) ในการทดลองที่ฝึกให้สัตว์รู้สึกว่าทำอะไรไม่ได้ (learned helplessness paradigm)

คำอธิบายทางคลินิก

เมแทบอลิซึมและเภสัชจลนศาสตร์

ยาสามารถให้ทางปากหรือทางการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เมื่อให้ทางปาก ก็สามารถดูดซึมได้อย่างรวดเร็วผ่านกระเพาะอาหาร-ลำไส้ ซึ่งฤทธิ์สามารถสังเกตเห็นได้ภายใน 30 นาที

ทางเภสัชจลนศาสตร์ ยาดูดซึมได้อย่างรวดเร็วทั้งทางปากและทางการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ โดยมีเมแทบอลิซึมในตับ เมแทบอไลต์หลัก (45%) คือ เซทิไรซีน เกิดจากการออกซิเดชันของส่วนที่เป็นแอลกอฮอล์ไปเป็นกรดคาร์บอกซิลิกโดยอาศัยเอนไซม์ alcohol dehydrogenase และผลโดยทั่วไปจะสามารถเห็นได้ภายใน 1 ชม. หลังให้ยา ระยะครึ่งชีวิตของยาเฉลี่ยประมาณ 3 ชม. ในผู้ใหญ่ โดยวัดในผิวหนังได้มากกว่าในเลือด เซทิไรซีน แม้ว่าจะมีฤทธิ์ระงับประสาทน้อยกว่า แต่ว่าไตจะไม่กำจัดยาออกจากเลือด โดยมีคุณสมบัติต้านฮิสตามีนที่คล้ายกัน เมแทบอไลต์อย่างอื่นรวมทั้ง N-dealkylated metabolite และ O-dealkylated 1/16 metabolite ที่มีระยะครึ่งชีวิตในเลือดนาน 59 ชม. วิถีเมแทบอลิซึมของยาอำนวยโดยระบบ CYP3A4 และ CYP3A5 ในตับเป็นหลัก ในสัตว์ ไฮดร๊อกซิซีนและเมแทบอไลต์ของมันจะขับออกทางอุจจาระโดยการกำจัดน้ำดี

การให้ยากับผู้สูงอายุต่างจากคนอายุน้อยกว่า ตามองค์การอาหารและยาสหรัฐ (FDA) โดยปี 2547 ก็ยังไม่มีงานศึกษาสำคัญที่รวมผู้มีอายุมากกว่า 65 ซึ่งเป็นขีดแบ่งผู้สูงอายุจากกลุ่มอื่น แต่ยาควรให้แก่ผู้สูงอายุอย่างระมัดระวังเพราะการขจัดยาออกจากร่างกายอาจทำได้น้อยกว่า

โดยนัยเดียวกัน การใช้ยาระงับประสาทพร้อมกับยาสามารถทำให้มีฤทธิ์ระงับประสาทเกินและเกิดความสับสนถ้าให้มากพอ ดังนั้น การรักษาพร้อมกับยาระงับประสาทควรทำภายใต้การดูแลของแพทย์

ข้อห้ามใช้

การให้ไฮดร๊อกซิซีนในปริมาณสูงไม่ว่าจะรับประทานหรือฉีดในกล้ามเนื้อเมื่อเริ่มมีครรภ์อาจเป็นเหตุให้ทารกพิการ เพราะว่า เมื่อทดลองในหนู หนูหริ่ง และกระต่าย ยาทำให้เกิดความผิดปกติเช่น อวัยวะเพศทำงานน้อยกว่าปกติ (hypogonadism) แต่การทดลองก็ใช้ยาขนาดสูงกว่าที่ใช้รักษาในมนุษย์อย่างสำคัญ ส่วนในมนุษย์ งานศึกษายังไม่ได้กำหนดขนาดสำคัญ แต่ FDA ก็ได้ระบุข้อห้ามใช้สำหรับยาไว้แล้ว

โดยนัยเดียวกัน การให้ยาสำหรับบุคคลที่เสี่ยงหรือมีอาการแพ้ยาก็เป็นข้อห้ามใช้ด้วย ยาห้ามให้โดยหลอดเลือดดำ (IV) เพราะว่า สามารถเป็นเหตุของการสลายของเม็ดเลือดแดง (hemolysis)

ข้อห้ามใช้อีกอย่างรวมทั้งการให้ยากับยาแก้ซึมเศร้าและสารอื่น ๆ ที่มีผลต่อระบบประสาทกลาง และถ้าจำเป็น ก็ควรให้ทีละหน่อย ๆ กับยาอื่น ถ้าให้อย่างที่ว่ากับยาอื่น คนไข้ควรเว้นจากปฏิบัติการกับเครื่องยนต์ที่สามารถเกิดอันตราย รถยนต์ และงานอื่น ๆ ที่ต้องใช้สมาธิ ตามที่กำหนดโดยกฎหมายความปลอดภัย

งานศึกษายังแสดงด้วยว่า การให้ยานาน ๆ สามารถนำไปสู่อาการยึกยือเหตุยา (tardive dyskinesia) หลังจากใช้ยาเป็นปี ๆ แต่อาการก็มีรายงานเป็นกรณี ๆ หลังจากใช้ยาเพียง 7 เดือนครึ่ง อาการเช่น การบิดศีรษะ (head rolling) เลียปาก และรูปแบบอื่น ๆ ของการเคลื่อนไหวแบบ athetoid คือ การเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ไม่ได้ตั้งใจ บิดไปบิดมา ของนิ้วมือ มือ นิ้วเท้า เท้า และในบางกรณี แขน ขา คอ และลิ้น ในบางกรณี การได้ยาอนุพันธ์ของ phenothiazine หรือยารักษาโรคจิต (neuroleptic) มาก่อนแล้วของคนไข้สูงอายุ อาจมีส่วนเป็นเหตุอาการยึกยือเหตุยาเมื่อให้ไฮดร๊อกซิซีน เพราะไวต่ออาการหลังจากที่ได้ยามาเป็นเวลานาน ดังนั้น จึงมีข้อบ่งห้ามบางอย่างที่จะให้ยาแม้ในระยะสั้นสำหรับคนไข้ที่เคยได้ phenothiazine มาก่อน

ผลที่ไม่ต้องการ

มีอาการหลายอย่างที่ระบุในใบรายละเอียดของยา รวมทั้ง นอนหลับสนิท ร่างกายทำงานไม่ประสาน ง่วงนอน ใจเย็น และคลื่นไส้ ที่พบทั้งในเด็กและผู้หใญ่ โดยยังมีอาการอื่น ๆ รวมทั้งความดันโลหิตต่ำ เสียงในหู และปวดหัว ผลต่อกระเพาะอาหาร-ลำไส้ และผลที่เบา ๆ เช่น คอแห้งและท้องผูกที่เกิดจากฤทธิ์ antimuscarinic ของยา ก็พบด้วย ปัญหาต่อระบบประสาทกลางเช่นประสาทหลอนและความสับสนยังพบในกรณีที่น้อยมาก โดยมากเพราะใช้ยาเกินขนาด แต่ก็มีกรณีเช่นนี้ทั้งในคนไข้ที่มีโรคจิตประสาท (neuropsychological disorders) และในกรณีที่คนไข้ใช้ยาเกิน

แม้จะมีรายงานถึงฤทธิ์ทำให้ประสาทหลอน หรือการสะกดจิต (hypnotic) แต่การทดลองทางคลินิกไม่แสดงหลักฐานเช่นนี้จากการใช้ยาเพียงอย่างเดียว แต่ก็แสดงผลว่าเกิดความสงบทั่วไปผ่านการเร้าเขตสมอง formatio reticularis ดังนั้น ฤทธิ์ประสาทหลอนและสะกดจิต ยกว่าเป็นผลเพิ่มการระงับระบบประสาทกลางพร้อมกับยาระงับประสาทอื่น ๆ รวมทั้ง lithium และเอทานอล

ยังมีการทดสอบไฮดร๊อกซิซีนเกี่ยวกับความจำของมนุษย์ เปรียบเทียบกับยาที่ค่อนข้างปลอดภัยเช่น ลอราเซแพม เพื่อแสดงผลของยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน ซึ่งเชื่อว่ามีผลที่ไม่ต้องการเกี่ยวกับความจุของระบบความจำ แล้วพบว่า ไฮดร๊อกซิซีนไม่มีผลที่ไม่ต้องการต่อระบบความทรงจำเทียบกับ ลอราเซแพม ซึ่งมีผลต่อความจุของความจำ

ในงานศึกษาที่เปรียบเทียบกับ ลอราเซแพม ในผลต่อความทรงจำ ไฮดร๊อกซิซีนออกฤทธิ์ระงับประสาทเช่นทำให้ง่วงนอน แต่คนไข้ก็รู้สึกว่าตนเองตื่นตัวพอ และสามารถที่จะทำบททดสอบต่อไปได้ในสถานการณ์เช่นนี้ โดยนัยตรงกันข้าม คนที่ทานยา ลอราเซแพม ไม่สามารถทำบททดสอบต่อไปได้เพราะผลของยา คนไข้ 8 ใน 10 รู้สึกว่ามีปัญหาเกี่ยวกับการทรงร่างกายและการเคลื่อนไหวแบบง่าย ๆ อาการง่วงซึม (somnolence) ที่มีหรือไม่มีความฝัน อาจเกิดกับคนไข้ที่ไวสารต้านฮิสตามีนเมื่อใช้ร่วมกับยากดระบบประสาทกลางอื่น ๆ

ไฮดร๊อกซิซีนมีฤทธิ์คลายกังวลและระงับประสาทในคนไข้จิตเวชเป็นจำนวนมาก งานศึกษาอื่นแสดงว่า ไฮดร๊อกซิซีนเป็นยานอนหลับที่มีกำลัง คือ ทำให้หลับได้ไวขึ้นและเพิ่มเวลาการนอน แต่ก็ทำให้ง่วงนอนด้วย โดยหญิงตอบสนองต่อฤทธิ์เช่นนี้มากกว่าชาย เพราะอาจมีผลข้างเคียงที่รุนแรงกว่านี้ ไฮดร๊อกซิซีนแนะนำให้เลี่ยงในคนสูงอายุ

ในสื่อ

Hydroxyzine เป็นคำเดียวในภาษาอังกฤษที่มีอักษร x y z เรียงต่อกัน

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Simons FE, Simons KJ, Frith EM (January 1984). "The pharmacokinetics and antihistaminic of the H1 receptor antagonist hydroxyzine". The Journal of Allergy and Clinical Immunology. 73 (1 Pt 1): 69–75. doi:10.1016/0091-6749(84)90486-x. PMID 6141198.
  2. Shorter, Edward (2009). Before Prozac: the troubled history of mood disorders in psychiatry. Oxford [Oxfordshire]: Oxford University Press. ISBN 0-19-536874-6.
  3. SCHRAM, WS (March 1959). "Use of hydroxyzine in psychosis". Diseases of the Nervous System. 20 (3): 126–9. PMID 13639831.
  4. "HYDROXYZINE PAMOATE - hydroxyzine pamoate capsule (American Health Packaging)". NIH. สืบค้นเมื่อ 2017-02-06.
  5. "Hydroxyzine Facts and Comparisons at Drugs.com".
  6. H. Morren, U.S. Patent 2,899,436 (1959) ; H. Morren, DE 1049383  (1954) ; H. Morren, DE 1061786  (1954) ; H. Morren, DE 1068262  (1954) ; H. Morren, DE 1072624  (1954) ; H. Morren, DE 1075116  (1954).
  7. Gillard M, Van Der Perren C, Moguilevsky N, Massingham R, Chatelain P (February 2002). "Binding characteristics of cetirizine and levocetirizine to human H(1) histamine receptors: contribution of Lys (191) and Thr (194)". Molecular Pharmacology. 61 (2): 391–9. doi:10.1124/mol.61.2.391. PMID 11809864.
  8. Snowman, AM; Snyder, SH (December 1990). "Cetirizine: actions on neurotransmitter receptors". The Journal of Allergy and Clinical Immunology. 86 (6 Pt 2): 1025–8. doi:10.1016/S0091-6749(05)80248-9. PMID 1979798.
  9. Kubo N, Shirakawa O, Kuno T, Tanaka C (March 1987). "Antimuscarinic effects of antihistamines: quantitative evaluation by receptor-binding assay". Japanese Journal of Pharmacology. 43 (3): 277–82. doi:10.1254/jjp.43.277. PMID 2884340.
  10. White RP, Boyajy LD (September 1960). "Neuropharmacological comparison of atropine, scopolamine, banactyzine, diphenhydramine and hydroxyzine". Archives Internationales de Pharmacodynamie et de Thérapie. 127: 260–73. PMID 13784865.
  11. Haraguchi K, Ito K, Kotaki H, Sawada Y, Iga T (June 1997). "Prediction of drug-induced catalepsy based on dopamine D1, D2, and muscarinic acetylcholine receptor occupancies". Drug Metabolism and Disposition: the Biological Fate of Chemicals. 25 (6): 675–84. PMID 9193868.
  12. Orzechowski RF, Currie DS, Valancius CA (January 2005). "Comparative anticholinergic activities of 10 histamine H1 receptor antagonists in two functional models". European Journal of Pharmacology. 506 (3): 257–64. doi:10.1016/j.ejphar.2004.11.006. PMID 15627436.
  13. Berger, F. M. (1957). "THE CHEMISTRY AND MODE OF ACTION OF TRANQUILIZING DRUGS". Annals of the New York Academy of Sciences. 67 (10): 685–700. doi:10.1111/j.1749-6632.1957.tb46006.x. ISSN 0077-8923.
  14. Tripathi, KD (2013). Essentials of Medical Pharmacology. JP Medical Ltd. p. 165. ISBN 978-93-5025-937-5.
  15. Rothbaum, Barbara Olasov; Stein, Dan J; Hollander, Eric (2009). Textbook of Anxiety Disorders. American Psychiatric Publishing, Inc. ISBN 1-58562-254-0.
  16. Lamberty Y, Gower AJ (September 2004). "Hydroxyzine prevents isolation-induced vocalization in guinea pig pups: comparison with chlorpheniramine and immepip". Pharmacology, Biochemistry, and Behavior. 79 (1): 119–24. doi:10.1016/j.pbb.2004.06.015. PMID 15388291.
  17. Llorca PM, Spadone C, Sol O (November 2002). "Efficacy and safety of hydroxyzine in the treatment of generalized anxiety disorder: a 3-month double-blind study" (PDF). J Clin Psychiatry. 63 (11): 1020–7. doi:10.4088/JCP.v63n1112. PMID 12444816.
  18. Guaiana, Giuseppe; Barbui, Corrado; Cipriani, Andrea (2010-12-08). "Hydroxyzine for generalised anxiety disorder". The Cochrane Library. Cochrane Depression, Anxiety and Neurosis Group. doi:10.1002/14651858.CD006815.pub2.
  19. VISTARIL (hydroxyzine pamoate), pp. 1
  20. United States Food & Drug Administration, (2004), p1
  21. VISTARIL (hydroxyzine pamoate), p. 2
  22. Dolan, C. M. (June 1958). "MANAGEMENT OF EMOTIONAL DISTURBANCES—Use of Hydroxyzine (Atarax®) in General Practice". Calif Med. 88 (6): 443–444. PMC 1512309. PMID 13536863.
  23. Porsolt, Roger D; Martin, P; Lenégre, A; Fromage, S; Giurgea, CE (1989). "Prevention of "learned helplessness" in the rat by hydroxyzine". Drug Development Research. 17 (3): 227–236. doi:10.1002/ddr.430170306.
  24. "Ucerax (hydroxyzine hydrochloride) 25 mg film-coated tablets. Summary of product characteristics" (PDF). Irish Medicines Board. สืบค้นเมื่อ 2014-02-09.
  25. "Vistaril". The extent of renal excretion of VISTARIL has not been determined
  26. (PDF). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2007-07-03. สืบค้นเมื่อ 2017-02-06.
  27. VISTARIL (hydroxyzine pamoate), p. 3
  28. Clark, B. G.; M. Araki; H. W. Brown (1982). "Hydroxyzine-Associated Tardive Dyskinesia". Ann. Neurol. 11 (4): 435. doi:10.1002/ana.410110423. PMID 7103423.
  29. H Kenneth Walker, บ.ก. (1990). "70: Involuntary Movements". Clinical Methods: The History, Physical, and Laboratory Examinations (3rd ed.). Boston: Butterworths. PMID 21250235.
  30. UCB South-Africa, et al., (2004)
  31. Anderson, Philip O.; James E. Knoben; William G. Troutman (2002). Handbook of Clinical Drug Data. McGraw-Hill Medical. pp. 794–796. ISBN 0-07-136362-9.
  32. de Brabander, A., Debert, W., (1990), p1
  33. de Brabander, A., Debert, W., (1990), p3
  34. Alford C, Rombautt N, Jones J, Foley S, Idzikowskit C, Hindmarch I (January–February 1992). "Acute Effects of Hydroxyzine on Nocturnal Sleep and Sleep Tendency the Following Day: a C-EEG Study". Human Psychopharmacology. 7 (1): 25–35. doi:10.1002/hup.470070104. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.
  35. "NCQA's HEDIS Measure: Use of High Risk Medications in the Elderly" (PDF).
  36. "Unique Words". dictionary.reference.com.

แหล่งข้อมูลอื่น

งานพิมพ์

  • Hutcheon DE, Morris DL, Scriabine A (December 1956). "Cardiovascular action of hydroxyzine (Atarax)". J Pharmacol Exp Ther. 118 (4): 451–460. PMID 13385806.
  • Pfizer Labs (2004). (PDF). NY: United States Food and Drug Administration. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (pdf) เมื่อ 2007-09-29. สืบค้นเมื่อ 2007-03-09.
  • de Brabander, A.; Deberdt, W (1990). "Effect of Hydroxyzine on Attention and Memory". Human Psychopharmacology. John Wiley & Sons. 5 (4): 357–362. doi:10.1002/hup.470050408. สืบค้นเมื่อ 2007-03-09.

เว็บไซต์

  • (PDF). 2014. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2015-07-11. สืบค้นเมื่อ 2017-02-06.
  • Watson Laboratories (2004). . RxList - The internet drug index. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-09-06. สืบค้นเมื่อ 2007-03-09.
  • Medscape (2004). "Vistaril Oral: Monograph - Hydroxyzine Hydrochloride, Hydroxyzine Pamoate". medscape.com. สืบค้นเมื่อ 2007-03-09.
  • pfizer (2004). (PDF). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2007-07-03. สืบค้นเมื่อ 2007-07-03.
  • U.S. National Library of Medicine: Drug Information Portal - Hydroxyzine

ไฮดรอกซ, hydroxyzine, เป, นสารต, านฮ, สตาม, นร, นแรกท, อย, ในกล, diphenylmethane, และ, piperazine, งส, งเคราะห, นเป, นคร, งแรกโดยบร, ทเบลเย, ยม, union, chimique, belge, ในป, 2499, และย, งเป, นยาท, ใช, อย, างกว, างขวางท, กว, นน, เน, องจากฤทธ, านหน, วยร, บความร,. ihdrxksisin Hydroxyzine epnsartanhistaminrunaerkthixyuinklum diphenylmethane aela piperazine sungsngekhraahkhunepnkhrngaerkodybristhebleyiym Union Chimique Belge inpi 2499 2 aelayngepnyathiichxyangkwangkhwangthukwnni enuxngcakvththitanhnwyrbkhwamrusukhlayxyanginsmxng yacungmivththikhlaykngwlthimikalng tankhwamhmkmun aelarksaorkhcitxyangxxn 3 thukwnni mnmkcaichodyhlkephuxkhlaykngwlaelakhwamekhriydthismphnthkborkhcitprasath psychoneurosis aelaepnyaephim adjunct inorkhthangkayxun thikhnikhrusukkngwl enuxngcakvththitanhistamin cungsamarthichrksakhwamkhn phawarusukecbmakkwaprkti hyperalgesia aelakhwamkhlunisthiekidcakkarpwycakkarekhluxnihw echnemarthemaerux aelayngichinbangkrniephuxbrrethaphlkarkhadyaklumoxpixxyd 4 5 aemwamncamivththirangbprasath sedative ihnxnhlb hypnotic aelakhlaykngwl anxiolytic aetmnimmilksnakhxngsarthiichesphtid rwmthngkartidaelaoxkasepnphisehmuxnkbyaxun thimivththikhlay kn yasamarthichephimphlrangbkhwamecbpwdkhxngyaklumoxpixxydtang aelabrrethaphlkhangekhiyngkhxngphwkmn echn khwamkhn khwamkhlunis aelakarxaeciyn karsuxyainbangpraethstxngxasyibsngyacakaephthy odykhayinsxngrupaebb khux pamoate aela hydrochloride salt yathikhlay smphnthkbihdrxksisinrwmthng iskhlisin biwkhlisin aela meclizine sungmipraoychn khxbngich khxhamich khxkhwrrawng aelaphlkhangekhiyngehmuxnkbihdrxksisinihdrxksisinkhxmulthangkhlinikchuxthangkarkhaVistaril AtaraxAHFS Drugs comomonkrafMedlinePlusa682866radbkhwamesiyngtxtharkinkhrrphAU A US C yngimchikhad chxngthangkarrbyaOral IMrhs ATCN05BB01 WHO kthmaysthanatamkthmayAU S4 txngichibsngya In general Prescription only khxmulephschclnsastrchiwprasiththiphlHigh in vivokarcbkboprtin93 karepliynaeplngyaHepatickhrungchiwitthangchiwphaph20 24 hours 1 karkhbxxkUrine Fecestwbngchichuxtamrabb IUPAC 2 2 4 4 chlorophenyl phenylmethyl piperazin 1 yl ethoxy ethanolelkhthaebiyn CAS68 88 2 CAS PubChem CID3658IUPHAR BPS7199DrugBankDB00557 7ChemSpider3531 7UNII30S50YM8OGKEGGD08054 7ChEBICHEBI 5818 7ChEMBLCHEMBL896 7ECHA InfoCard100 000 630khxmulthangkayphaphaelaekhmisutrC 21H 27Cl N 2O 2mwltxoml374 904 g molaebbcalxng 3D JSmol Interactive imageSMILES Clc1ccc cc1 C c2ccccc2 N3CCN CC3 CCOCCOInChI InChI 1S C21H27ClN2O2 c22 20 8 6 19 7 9 20 21 18 4 2 1 3 5 18 24 12 10 23 11 13 24 14 16 26 17 15 25 h1 9 21 25H 10 17H2 7Key ZQDWXGKKHFNSQK UHFFFAOYSA N 7 verify saranukrmephschkrrmsartanhistaminrunsxngkhux esthiirsin cring kkhux emaethbxiltkhxngihdrxksisinthiekidinrangkaymnusy aetwaodythiimehmuxnkbihdrxksisin esthiirsinduehmuxncaimkhamtwkneluxd smxng blood brain barrier xyangsakhy aemwacamiraynganwamiphltxklamenuxaelamivththirangbprasath dngnn thaihepnsartanhistaminthidi ephraamiphlrangbkhwamkngwlaelavththitxciticxyangxun nxylng aetwakyngsamarthmiphltxklamenuxaelathaihngwngnxnsahrbkhnikhbangkhnid enuxha 1 ekhmi 2 ephschwithya 3 karich 3 1 nganwicyphvtikrrmstw 4 khaxthibaythangkhlinik 4 1 emaethbxlisumaelaephschclnsastr 4 2 khxhamich 4 3 phlthiimtxngkar 5 insux 6 duephim 7 echingxrrthaelaxangxing 8 aehlngkhxmulxun 8 1 nganphimph 8 2 ewbistekhmi aekikh ihdrxksisinsamarthsngekhraahidodykrabwnkarephimklum alkyl alkylation khxng 1 4 chlorobenzohydril piperazine tx 2 2 hydroxyethoxy ethylchloride 6 ephschwithya aekikhvththihlkkhxngyakkhuxepntwthakarphkphn inverse agonist khxng H1 receptor hnwyrb H1 thimikalng thikhwamekhmkhn Ki 2 nM 7 8 9 10 aetimehmuxnkbsartanhistaminrunaerkhlayxyang mnmismphrrkhphaph affinity thitakb mACh receptor Ki gt 10 000 nM 8 9 10 11 12 aeladngnn cungmioxkasihphlkhangekhiyngaebb anticholinergic nxykwa echn rangkaythanganimprasan smxngesuxm epntn 10 13 14 nxkcakvththitanshistamin yayngmiphlepntwtan antagonist khxng 5 HT2A receptor Ki 50 nM D2 receptor Ki 378 nM aela a1 adrenergic receptor Ki 300 nM xikdwy 8 9 11 vththitanrabbesorothnin antiserotonergic khxngyanacaepnehtuihyamivththikhlaykngwl anxiolytic 15 ephraawa sartanhistaminxyangxunthiimmikhunsmbtini caimmiphlbabdkhwamkngwl 16 karich aekikhihdrxksisinichepnsartanhistamin yakhlaykngwl anxiolytic aelayasngbprasath tranquilizer sungsamyepnphiessinthntaephthysastraetsamynxykwainkaraephthy thihlaypimkichyarwmkbyaklumoxpixxydephraasamarthybyngphlkhangekhiyngkhxngyaoxpixxydthiepnyaaekpwd khux rangbkhwamkhnaelakhwamkhlunis aelaephraamiphlrangbprasaththiesrimkbphlrangbpwdkhxngyaoxpixxyd txngkarxangxing hmxcasngyaemuxorkhthimiehtucakokhrngsrangaelaenuxeyuxmixakarkngwl echn orkhwitkkngwlipthw GAD hruxinorkhcitprasath psychoneurosis thirunaerng ephuxihkhnikhsamarthichchiwittampktiid yamihlkthanwamiprasiththiphaphethakb ebnosidxaesphin aela bromazepam inkarrksa GAD 17 aetkminganprithsnepnrabbthiimaenanaihichyasahrb GAD aemwaemuxethiybkbyakhlaykngwlxun rwmthng ebnosidxaesphin aela buspirone aelw yamiprasiththiphaph mikhwamyxmrbid aelamikhwamxdthnichyaidethaethiymkn 18 yasamarthichrksaxakarphumiaeph echn lmphis phiwhnngxkesbehtuphumiaeph atopic dermatitis phiwhnngxkesbehtuthuksmphs contact dermatitis aelaxakarkhnthixanwyodyhistamin 19 aelaidyunynaelwwa yaimmiphlthiimtxngkartxtb eluxd rabbprasath hruxrabbpssawa 20 karihepnyana premedication ephuxrangbprasathimmiphltxyaklum tropane alkaloid echn xaothrpin aethlngcakkarihyaslb general anesthesia xacephimvththikhxngyaephthidin yaklumoxpixxyd aela barbiturate aeladngnn karichepnyaesrimkxnwangyaslbkhwrcaepliynaeplngtamsphaphkhnikh 21 inbangkrni yaxacichepnyanxnhlbthiimichinklum barbiturate 22 ichinkarrangbprasathkxnphatd hruxrksaorkhthangprasath echn orkhcitprasath psychoneurosis aelarupaebbxun khxngkhwamwitkkngwlhruxkhwamekhriyd 22 sahrbthntkrrm sutikrrm krrmwithitang aelainkrnithimikarecbpwdmakxyangchbphlnechninxubtiehtu yasamarthichepnyakhlaykngwlxndbaerk first line aelayaesrimyaklumoxpixxyd yaaekpwd ephraawamnimepnthngptipks thngimesrimyaklumebnosidxaesphin aela scopolamine dngnncungsamarthichyaehlannphrxmknhruxphayhlngemuxcaepn txngkarxangxing nganwicyphvtikrrmstw aekikh yasamarthldradbkhwamlmehlwinkarhlbhnikhxnghnu khuxxacldkhwamklw khwamkngwl inkarthdlxngthifukihstwrusukwathaxairimid learned helplessness paradigm 23 khaxthibaythangkhlinik aekikhemaethbxlisumaelaephschclnsastr aekikh yasamarthihthangpakhruxthangkarchidekhaklamenux emuxihthangpak ksamarthdudsumidxyangrwderwphankraephaaxahar lais sungvththisamarthsngektehnidphayin 30 nathithangephschclnsastr yadudsumidxyangrwderwthngthangpakaelathangkarchidekhaklamenux odymiemaethbxlisumintb emaethbxilthlk 45 khux esthiirsin ekidcakkarxxksiedchnkhxngswnthiepnaexlkxhxlipepnkrdkharbxksilikodyxasyexnism alcohol dehydrogenase aelaphlodythwipcasamarthehnidphayin 1 chm hlngihya rayakhrungchiwitkhxngyaechliypraman 3 chm inphuihy odywdinphiwhnngidmakkwaineluxd esthiirsin aemwacamivththirangbprasathnxykwa aetwaitcaimkacdyaxxkcakeluxd odymikhunsmbtitanhistaminthikhlaykn emaethbxiltxyangxunrwmthng N dealkylated metabolite aela O dealkylated 1 16 metabolite thimirayakhrungchiwitineluxdnan 59 chm withiemaethbxlisumkhxngyaxanwyodyrabb CYP3A4 aela CYP3A5 intbepnhlk 24 instw ihdrxksisinaelaemaethbxiltkhxngmncakhbxxkthangxuccaraodykarkacdnadi 25 26 karihyakbphusungxayutangcakkhnxayunxykwa tamxngkhkarxaharaelayashrth FDA odypi 2547 kyngimmingansuksasakhythirwmphumixayumakkwa 65 sungepnkhidaebngphusungxayucakklumxun aetyakhwrihaekphusungxayuxyangramdrawngephraakarkhcdyaxxkcakrangkayxacthaidnxykwa 27 odynyediywkn karichyarangbprasathphrxmkbyasamarththaihmivththirangbprasathekinaelaekidkhwamsbsnthaihmakphx dngnn karrksaphrxmkbyarangbprasathkhwrthaphayitkarduaelkhxngaephthy 22 27 khxhamich aekikh karihihdrxksisininprimansungimwacarbprathanhruxchidinklamenuxemuxerimmikhrrphxacepnehtuihtharkphikar ephraawa emuxthdlxnginhnu hnuhring aelakratay yathaihekidkhwamphidpktiechn xwywaephsthangannxykwapkti hypogonadism aetkarthdlxngkichyakhnadsungkwathiichrksainmnusyxyangsakhy 21 swninmnusy ngansuksayngimidkahndkhnadsakhy aet FDA kidrabukhxhamichsahrbyaiwaelw 21 odynyediywkn karihyasahrbbukhkhlthiesiynghruxmixakaraephyakepnkhxhamichdwy 21 yahamihodyhlxdeluxdda IV ephraawa samarthepnehtukhxngkarslaykhxngemdeluxdaedng hemolysis khxhamichxikxyangrwmthngkarihyakbyaaeksumesraaelasarxun thimiphltxrabbprasathklang 21 aelathacaepn kkhwrihthilahnxy kbyaxun 21 thaihxyangthiwakbyaxun khnikhkhwrewncakptibtikarkbekhruxngyntthisamarthekidxntray rthynt aelanganxun thitxngichsmathi tamthikahndodykdhmaykhwamplxdphy 21 ngansuksayngaesdngdwywa karihyanan samarthnaipsuxakaryukyuxehtuya tardive dyskinesia hlngcakichyaepnpi aetxakarkmiraynganepnkrni hlngcakichyaephiyng 7 eduxnkhrung 28 xakarechn karbidsirsa head rolling eliypak aelarupaebbxun khxngkarekhluxnihwaebb athetoid khux karekhluxnihwxyangcha imidtngic bidipbidma khxngniwmux mux niwetha etha aelainbangkrni aekhn kha khx aelalin 29 inbangkrni karidyaxnuphnthkhxng phenothiazine hruxyarksaorkhcit neuroleptic makxnaelwkhxngkhnikhsungxayu xacmiswnepnehtuxakaryukyuxehtuyaemuxihihdrxksisin ephraaiwtxxakarhlngcakthiidyamaepnewlanan 28 dngnn cungmikhxbnghambangxyangthicaihyaaeminrayasnsahrbkhnikhthiekhyid phenothiazine makxn 28 phlthiimtxngkar aekikh mixakarhlayxyangthirabuinibraylaexiydkhxngya rwmthng nxnhlbsnith rangkaythanganimprasan ngwngnxn iceyn aelakhlunis thiphbthnginedkaelaphuhiy odyyngmixakarxun rwmthngkhwamdnolhitta esiynginhu aelapwdhw 30 phltxkraephaaxahar lais aelaphlthieba echn khxaehngaelathxngphukthiekidcakvththi antimuscarinic khxngya kphbdwy 30 pyhatxrabbprasathklangechnprasathhlxnaelakhwamsbsnyngphbinkrnithinxymak odymakephraaichyaekinkhnad 27 30 aetkmikrniechnnithnginkhnikhthimiorkhcitprasath neuropsychological disorders aelainkrnithikhnikhichyaekinaemcamiraynganthungvththithaihprasathhlxn hruxkarsakdcit hypnotic aetkarthdlxngthangkhlinikimaesdnghlkthanechnnicakkarichyaephiyngxyangediyw aetkaesdngphlwaekidkhwamsngbthwipphankareraekhtsmxng formatio reticularis dngnn vththiprasathhlxnaelasakdcit ykwaepnphlephimkarrangbrabbprasathklangphrxmkbyarangbprasathxun rwmthng lithium aelaexthanxl 31 yngmikarthdsxbihdrxksisinekiywkbkhwamcakhxngmnusy epriybethiybkbyathikhxnkhangplxdphyechn lxraesaephm ephuxaesdngphlkhxngyaklumebnosidxaesphin sungechuxwamiphlthiimtxngkarekiywkbkhwamcukhxngrabbkhwamca aelwphbwa ihdrxksisinimmiphlthiimtxngkartxrabbkhwamthrngcaethiybkb lxraesaephm sungmiphltxkhwamcukhxngkhwamca 32 inngansuksathiepriybethiybkb lxraesaephm inphltxkhwamthrngca ihdrxksisinxxkvththirangbprasathechnthaihngwngnxn aetkhnikhkrusukwatnexngtuntwphx aelasamarththicathabththdsxbtxipidinsthankarnechnni 33 odynytrngknkham khnthithanya lxraesaephm imsamarththabththdsxbtxipidephraaphlkhxngya khnikh 8 in 10 rusukwamipyhaekiywkbkarthrngrangkayaelakarekhluxnihwaebbngay 33 xakarngwngsum somnolence thimihruximmikhwamfn xacekidkbkhnikhthiiwsartanhistaminemuxichrwmkbyakdrabbprasathklangxun ihdrxksisinmivththikhlaykngwlaelarangbprasathinkhnikhcitewchepncanwnmak ngansuksaxunaesdngwa ihdrxksisinepnyanxnhlbthimikalng khux thaihhlbidiwkhunaelaephimewlakarnxn aetkthaihngwngnxndwy odyhyingtxbsnxngtxvththiechnnimakkwachay 34 ephraaxacmiphlkhangekhiyngthirunaerngkwani ihdrxksisinaenanaiheliynginkhnsungxayu 35 insux aekikhHydroxyzine epnkhaediywinphasaxngkvsthimixksr x y z eriyngtxkn 36 duephim aekikhiskhlisin esthiirsinechingxrrthaelaxangxing aekikh Simons FE Simons KJ Frith EM January 1984 The pharmacokinetics and antihistaminic of the H1 receptor antagonist hydroxyzine The Journal of Allergy and Clinical Immunology 73 1 Pt 1 69 75 doi 10 1016 0091 6749 84 90486 x PMID 6141198 Shorter Edward 2009 Before Prozac the troubled history of mood disorders in psychiatry Oxford Oxfordshire Oxford University Press ISBN 0 19 536874 6 SCHRAM WS March 1959 Use of hydroxyzine in psychosis Diseases of the Nervous System 20 3 126 9 PMID 13639831 HYDROXYZINE PAMOATE hydroxyzine pamoate capsule American Health Packaging NIH subkhnemux 2017 02 06 Hydroxyzine Facts and Comparisons at Drugs com H Morren U S Patent 2 899 436 1959 H Morren DE 1049383 1954 H Morren DE 1061786 1954 H Morren DE 1068262 1954 H Morren DE 1072624 1954 H Morren DE 1075116 1954 Gillard M Van Der Perren C Moguilevsky N Massingham R Chatelain P February 2002 Binding characteristics of cetirizine and levocetirizine to human H 1 histamine receptors contribution of Lys 191 and Thr 194 Molecular Pharmacology 61 2 391 9 doi 10 1124 mol 61 2 391 PMID 11809864 8 0 8 1 8 2 Snowman AM Snyder SH December 1990 Cetirizine actions on neurotransmitter receptors The Journal of Allergy and Clinical Immunology 86 6 Pt 2 1025 8 doi 10 1016 S0091 6749 05 80248 9 PMID 1979798 9 0 9 1 9 2 Kubo N Shirakawa O Kuno T Tanaka C March 1987 Antimuscarinic effects of antihistamines quantitative evaluation by receptor binding assay Japanese Journal of Pharmacology 43 3 277 82 doi 10 1254 jjp 43 277 PMID 2884340 10 0 10 1 10 2 White RP Boyajy LD September 1960 Neuropharmacological comparison of atropine scopolamine banactyzine diphenhydramine and hydroxyzine Archives Internationales de Pharmacodynamie et de Therapie 127 260 73 PMID 13784865 11 0 11 1 Haraguchi K Ito K Kotaki H Sawada Y Iga T June 1997 Prediction of drug induced catalepsy based on dopamine D1 D2 and muscarinic acetylcholine receptor occupancies Drug Metabolism and Disposition the Biological Fate of Chemicals 25 6 675 84 PMID 9193868 Orzechowski RF Currie DS Valancius CA January 2005 Comparative anticholinergic activities of 10 histamine H1 receptor antagonists in two functional models European Journal of Pharmacology 506 3 257 64 doi 10 1016 j ejphar 2004 11 006 PMID 15627436 Berger F M 1957 THE CHEMISTRY AND MODE OF ACTION OF TRANQUILIZING DRUGS Annals of the New York Academy of Sciences 67 10 685 700 doi 10 1111 j 1749 6632 1957 tb46006 x ISSN 0077 8923 Tripathi KD 2013 Essentials of Medical Pharmacology JP Medical Ltd p 165 ISBN 978 93 5025 937 5 Rothbaum Barbara Olasov Stein Dan J Hollander Eric 2009 Textbook of Anxiety Disorders American Psychiatric Publishing Inc ISBN 1 58562 254 0 Lamberty Y Gower AJ September 2004 Hydroxyzine prevents isolation induced vocalization in guinea pig pups comparison with chlorpheniramine and immepip Pharmacology Biochemistry and Behavior 79 1 119 24 doi 10 1016 j pbb 2004 06 015 PMID 15388291 Llorca PM Spadone C Sol O November 2002 Efficacy and safety of hydroxyzine in the treatment of generalized anxiety disorder a 3 month double blind study PDF J Clin Psychiatry 63 11 1020 7 doi 10 4088 JCP v63n1112 PMID 12444816 Guaiana Giuseppe Barbui Corrado Cipriani Andrea 2010 12 08 Hydroxyzine for generalised anxiety disorder The Cochrane Library Cochrane Depression Anxiety and Neurosis Group doi 10 1002 14651858 CD006815 pub2 VISTARIL hydroxyzine pamoate pp 1 United States Food amp Drug Administration 2004 p1 21 0 21 1 21 2 21 3 21 4 21 5 21 6 VISTARIL hydroxyzine pamoate p 2 22 0 22 1 22 2 Dolan C M June 1958 MANAGEMENT OF EMOTIONAL DISTURBANCES Use of Hydroxyzine Atarax in General Practice Calif Med 88 6 443 444 PMC 1512309 PMID 13536863 Porsolt Roger D Martin P Lenegre A Fromage S Giurgea CE 1989 Prevention of learned helplessness in the rat by hydroxyzine Drug Development Research 17 3 227 236 doi 10 1002 ddr 430170306 Ucerax hydroxyzine hydrochloride 25 mg film coated tablets Summary of product characteristics PDF Irish Medicines Board subkhnemux 2014 02 09 Vistaril The extent of renal excretion of VISTARIL has not been determined US Prescription Information Vistaril PDF khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2007 07 03 subkhnemux 2017 02 06 27 0 27 1 27 2 VISTARIL hydroxyzine pamoate p 3 28 0 28 1 28 2 Clark B G M Araki H W Brown 1982 Hydroxyzine Associated Tardive Dyskinesia Ann Neurol 11 4 435 doi 10 1002 ana 410110423 PMID 7103423 H Kenneth Walker b k 1990 70 Involuntary Movements Clinical Methods The History Physical and Laboratory Examinations 3rd ed Boston Butterworths PMID 21250235 30 0 30 1 30 2 UCB South Africa et al 2004 Anderson Philip O James E Knoben William G Troutman 2002 Handbook of Clinical Drug Data McGraw Hill Medical pp 794 796 ISBN 0 07 136362 9 de Brabander A Debert W 1990 p1 33 0 33 1 de Brabander A Debert W 1990 p3 Alford C Rombautt N Jones J Foley S Idzikowskit C Hindmarch I January February 1992 Acute Effects of Hydroxyzine on Nocturnal Sleep and Sleep Tendency the Following Day a C EEG Study Human Psychopharmacology 7 1 25 35 doi 10 1002 hup 470070104 subkhnemux 2007 03 10 NCQA s HEDIS Measure Use of High Risk Medications in the Elderly PDF Unique Words dictionary reference com aehlngkhxmulxun aekikhnganphimph aekikh Hutcheon DE Morris DL Scriabine A December 1956 Cardiovascular action of hydroxyzine Atarax J Pharmacol Exp Ther 118 4 451 460 PMID 13385806 Pfizer Labs 2004 Vistaril hydroxyzine pamoate Capsules and Oral Suspension PDF NY United States Food and Drug Administration khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim pdf emux 2007 09 29 subkhnemux 2007 03 09 de Brabander A Deberdt W 1990 Effect of Hydroxyzine on Attention and Memory Human Psychopharmacology John Wiley amp Sons 5 4 357 362 doi 10 1002 hup 470050408 subkhnemux 2007 03 09 ewbist aekikh VISTARIL hydroxyzine pamoate PDF 2014 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2015 07 11 subkhnemux 2017 02 06 Watson Laboratories 2004 Hydroxyzine Hydrochloride Indications amp Dosage RxList The internet drug index khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 09 06 subkhnemux 2007 03 09 Medscape 2004 Vistaril Oral Monograph Hydroxyzine Hydrochloride Hydroxyzine Pamoate medscape com subkhnemux 2007 03 09 pfizer 2004 Non print version of vistaril fact sheet PDF khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2007 07 03 subkhnemux 2007 07 03 U S National Library of Medicine Drug Information Portal Hydroxyzine ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ihdrxksisin amp oldid 9611336, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม