fbpx
วิกิพีเดีย

น้ำตาลในเลือด

ความเข้มข้นของน้ำตาลในเลือด หรือ ระดับกลูโคสในเลือด คือ จำนวนกลูโคส (น้ำตาล) ที่มีอยู่ในเลือดของมนุษย์หรือสัตว์ โดยปกติในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม, ร่างกายจะควบคุมระดับกลูโคสในเลือดให้อยู่ที่ 3.6 - 5.8 mM (mmol/L, เช่น millimoles/liter) หรือ 64.8 - 104.4 mg/dL. โดยธรรมชาติแล้วร่างกายมนุษย์จะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอย่างเข้มงวดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาสมดุลของร่างกาย (homeostasis)

ความผันผวนของระดับน้ำตาลในเลือด (สีแดง) และอินซูลิน (สีฟ้า) ของมนุษย์ระหว่างมื้ออาหาร 3 มื้อ และผลกระทบของอาหารที่มีระดับซูโคสสูงและระดับแป้งสูงก็ถูกระบุด้วย

กลูโคสเป็นแหล่งพลังงานแห่งแรกสำหรับเซลล์ของร่างกาย ส่วนไขมันในเลือดในรูปของไขมันและน้ำมันเป็นแหล่งสะสมพลังงานของร่างกาย กลูโคสจะถูกลำเลียงจากลำไส้หรือตับไปยังเซลล์ของร่างกายโดยกระแสเลือดและจะถูกทำให้เหมาะสมสำหรับการดูดซึมของเซลล์โดยฮอร์โมนอินซูลินซึ่งถูกผลิตขึ้นที่ตับอ่อน

ค่าเฉลี่ยของระดับกลูโคสปกติในเลือดมนุษย์อยู่ที่ประมาณ 4 mM (4 mmol/L หรือ 72 mg/dL, เช่น milligrams/deciliter) อย่างไรก็ตาม ค่านี้จะมีความผันผวนตลอดทั้งวัน ระดับกลูโคสจะมีระดับต่ำมากในช่วงเช้า ก่อนการรับประทานอาหารมื้อแรก (เรียกว่า "the fasting level") และจะเพิ่มขึ้นหลังจากรับประทานอาหาร

ระดับน้ำตาลในเลือดที่อยู่น่าช่วงค่าปกติอาจเป็นตัวบ่งชี้ทางการแพทย์ ระดับที่สูงอย่างเรื้อรังบ่งบอกว่าอยู่ในภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) และระดับต่ำบ่งบอกว่าอยู่ในภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia) โรคเบาหวานจะมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงอย่างเรื้อรังซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุและเป็ฯโรคที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำตาลในเลือดอย่างชั่วคราวอาจเกิดจากภาวะเครียดสูง เช่น trauma, โรคหลอดเลือดสมอง, กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด, ผ่าตัด หรือป่วย[ต้องการอ้างอิง] การดื่มแอลกอฮอล์จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นและจะลดลงหลังจากนั้น นอกจากนี้ ยาบางชนิดก็มีผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของระดับกลูโคสด้วย

หน่วย

การวัดระดับน้ำตาลในเลือดในมาตรฐานระดับนานาชาติจะระบุหน่วยเป็นความเข้มข้นโมลาร์ (molar concentration) เช่น mmol/L (มิลลิโมลต่อลิตรหรือมิลลิโมลาร์ ย่อเป็น mM) ในสหรัฐอเมริกาความเข้มข้นโดยมวลถูกวัดในหน่วย mg/dL (มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร)

น้ำหนักโมเลกุลของกลูโคส C6H12O6 อยู่ที่ 180 g/mol โดยประมาณ ดังนั้น ความแตกต่างระหว่างทั้ง 2 หน่วยอยู่ที่ 18 กล่าวคือ 1 mmol/L ของกลูโคสจะเท่ากับ 18 mg/dL.

ช่วงค่าปกติ

มีหลายปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระดับน้ำตาลในเลือด ด้วยกระบวนการรักษาสมดุลของร่างกายจะรักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ที่ 4.4 - 6.1 mmol/L (82 - 110 mg/dL)

ถึงแม้ว่าระดับน้ำตาลในเลือดจะมีความผันผวนในระหว่างมื้ออาหารหรือการรับประทานคาร์โบไฮเดรตในปริมาณที่มาก แต่ระดับกลูโคสในเลือดของมนุษย์ก็จะถูกควบคุมให้อยู่ในระดับที่ปกติ อย่างไรก็ตาม หลังจากรับประทานอาหารแล้วระดับน้ำตาลในเลือดอาจจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยที่ระดับ 7.8 mmol/L (140 mg/dL) ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นอย่างชั่วคราวเท่านั้น สมาคมโรคเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกาแนะนำว่าระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานอาหารควรจะอยู่ที่ระดับน้อยกว่า 10 mmol/L (180 mg/dl) และระดับกลูโคสในพลาสมาก่อนรับประทานอาหารควรอยู่ที่ระดับ 5 - 7.2 mmol/L (90–130 mg/dL).

ปริมาณกลูโคสในเลือดและของเหลวในร่างกายจะมีปริมาณที่น้อยมาก ในชายที่มีสุขภาพดีที่มีน้ำหนัก 75 kg และมีปริมาณเลือด 5 ลิตรนั้นจะมีระดับนกลูโคสในเลือดที่ 5.5 mmol/L (100 mg/dL) หรือมีน้ำตาล 5 กรัม ซึ่งเป็นปริมาณที่น้อยกว่าปริมาณน้ำตาลสำหรับกาแฟหรือชาในร้านอาหารของชาวอเมริกัน เหตุผลหนึ่งที่ทำให้น้ำตาลมีปริมาณน้อย คือ การรักษาการไหลเข้าของกลูโคสเข้าสู่เซลล์นั้นจะมีเอนไซม์ที่ทำการเปลี่ยนแปลงกลูโคสโดยการเติมหมู่ฟอสเฟตหรือหมู่อื่นๆ เข้าไปยังโมเลกุลของกลูโคส

การควบคุม

ดูบทความหลักที่: Blood sugar regulation

การรักษาภาวะสมดุลของร่างกายจะช่วยรักษาให้ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในช่วงแคบๆ ประกอบด้วยหลายระบบที่ทำงานร่วมกันและการควบคุมฮอร์โมนเป็นสิ่งที่มีความสำคัญมาก

มีฮอร์โมน 2 ชนิดที่ทำงานร่วมกันแบบตรงข้ามซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับกลูโคสในเลือด คือ

  • catabolic hormones เช่น กลูคากอน, cortisol และ catecholamines) จะทำให้ระดับกลูโคสในเลือดเพิ่มมากขึ้น
  • anabolic hormone เช่น อินซูลิน จะทำให้ระดับกลูโคสในเลือดลดลง

ผลกระทบต่อสุขภาพ

ถ้าหากระดับน้ำตาลในเลือดต่ำลง อาจส่งผลให้เกิดภาวะที่เรียกว่า ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ โดยจะมีอาการเฉื่อยชา การทำงานของจิตใจไม่เป็นปกติ หงุดหงิดง่าย ตัวสั่น กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง ผิวซีด เหงื่อออก หวาดระแวงหรือก้าวร้าว และสูญเสียการควบคุมสติ หรืออาจส่งผลกระทบให้สมองเกิดความเสียหายก็เป็นไปได้

แต่ถ้าระดับน้ำตาลในเลือดสูง ความอยากอาหารจะลดลงในชั่วระยะเวลาสั้นๆ และถ้าหากระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นระยะวลานานจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่างๆ ที่เกี่ยวกับโรคเบาหวาน รวมทั้ง ตา ไต โรคหัวใจ และทำลายเส้นประสาท

การเปรียบเทียบ

 
ช่วงค่าอ้างอิงสำหรับการตรวจเลือด, เปรียบเทียบระดับกลูโคสในเลือด (สีเขียวแก่) กับส่วนประกอบอื่น

การวัดระดับกลูโคส

ดูเพิ่มเติมที่: Blood glucose monitoring และ เครื่องมือวัดระดับกลูโคส

สิ่งส่งตรวจ

กลูโคสสามารถวัดได้จากในเลือดครบส่วน (whole blood) พลาสมา หรือ ซีรัม ในอดีตการตรวจระดับกลูโคสจะหมายถึงการตรวจในเลือดครบส่วน แต่ในปัจจุบันห้องปฏิบัติการทางการแพทย์โดยส่วนมากจะตรวจจากซีรัมแทน เนื่องจากในเม็ดเลือดแดงนั้นมีความเข้มข้นของโปรตีน เช่น ฮีโมโกลบิน ในระดับที่สูงมากกว่าในซีรัม ในขณะที่ซีรัมนั้นประกอบด้วยน้ำมากกว่าซึ่งทำให้กลูโคสจะละลายได้ในซีรัมมากกว่าในเลือดครบส่วน ดังนั้น ในการเปลี่ยนค่าระดับกลูโคสในเลือดครบส่วนเป็นระดับกลูโคสในซีรัมหรือพลาสมาให้คูณด้วย 1.15

การเก็บเลือดในหลอดสำหรับแยกซีรัม (clot tubes) เพื่อใช้ในการตรวจทางเคมีคลินิกนั้น กระบวนการเผาผลาญกลูโคสจะยังดำเนินการอยู่โดยเซลล์เม็ดเลือดจนกว่าจะทำการปั่นแยกเสียก่อน ปริมาณเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงที่สูงผิดปกติสามารถทำให้เกิดกระบวนการ glycolysis ในสิ่งส่งตรวจซึ่งจะมีผลทำให้ระดับกลูโคสที่ได้น้อยกว่าความเป็นจริงได้หากเราไม่ทำการแยกซีรัมออกมาอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ อุณหภูมิในการเก็บรักษาสิ่งส่งตรวจก่อนที่จะทำการปั่นเหวี่ยงและแยกซีรัมหรือพลาสมาก็มีผลต่อระดับกลูโคสเช่นกัน โดยถ้าเก็บไว้ในตู้เย็นระดับกลูโคสจะค่อนข้างเสถียรอยู่ได้เป็นเวลาหลายชั่วโมง การสูญเสียกลูโคสในสิ่งส่งตรวจสามารถป้องกันได้โดยใช้หลอดที่ใส่สารฟลูออไรด์ (เช่น หลอดฝาสีเทา) ซึ่งฟลูออไรด์จะทำการยับยั้งการเกิด glycolysis อย่างไรก็ตาม ควรใช้เมื่อต้องทำการขนย้ายสิ่งส่งตรวจจากห้องปฏิบัติการทางการแพทย์หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หลอดที่มีฝาสีแดงสำหรับแยกซีรัม หลอดที่มีฝาสีแดงสำหรับแยกซีรัมนั้นก็สามารถรักษาสภาพของกลูโคสได้เช่นกันหลังจากแยกซีรัมออกจากเซลล์แล้ว

การป้องกันการปนเปื้อนของสิ่งส่งตรวจจากของเหลวทดแทนทางหลอดเลือด (intravenous fluids) ควรเก็บเลือดจากแขนที่ตรงข้ามกับแขนที่เสียบสายให้ของเหลวทดแทนทางหลอดเลือดอยู่ หรือถ้าต้องเก็บเลือดจากแขนข้างที่เสียบสาย IV ควรเก็บเลือดหลังจากหยุดการให้ของเหลวทาง IV แล้วเป็นเวลาอย่างน้อย 5 นาทีและยกแขนขึ้นเพื่อให้ของเหลวนั้นระบายออกไปจากหลอดเลือดดำเสียก่อน หากละเลยในข้อนี้จะส่งผลให้ค่าของระดับกลูโคสที่วัดได้มีความผิดพลาดอย่างมาก โดยถ้าเกิดการปนเปื้อนเพียง 10% จาก 5% ของสารละลารกลูโคส (D5W) จะทำให้ระดับกลูโคสที่วัดได้สูงถึง 500 mg/dl หรือมากกว่า พึงระลึกไว้เสมอว่าความเข้มข้นของกลูโคสที่แท้จริงนั้นมีระดับที่ต่ำมากถึงแม้จะอยู่ในภาวะน้ำตาลในเลือดสูงก็ตาม

การตรวจระดับกลูโคสก่อนการรับประทานจากหลอดเลือดแดง หลอดเลือดฝอย และหลอดเลือดดำจะมีค่าที่ใกล้เคียงกันในแต่ละบุคคล แต่หลังจากรับประทานอาหารแล้วระดับกลูโคสที่ตรวจจากหลอดเลือดดำจะมีค่าต่ำกว่าหลอดเลือดแดงหรือหลอดเลือดฝอยประมาณ 10%

เทคนิคการตรวจวัด

การตรวจระดับกลูโคสมีอยู่ 2 วิธีหลัก วิธีแรก คือ วิธีทางเคมีที่ใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติ nonspecific reducing ของกลูโคสซึ่งตัวบ่งชี้จะเปลี่ยนแปลงสีเมื่อเกิดปฏิกิริยาขึ้น วิธีนี้ยังคงมีการใช้อยู่ในบางแห่ง แต่เนื่องจากสารประกอบอื่นๆ ในเลือดก็มีคุณสมบัติ reducing ได้ เช่น ยูเรีย ทำให้วิธีนี้สามารถเกิดความผิดพลาดได้ในบางกรณี (ประมาณ 5 - 15 mg/dl) อีกวิธีหนึ่ง คือ การใช้เอนไซม์ที่มีความจำเพาะต่อกลูโคส โดยเอนไซม์พื้นฐานที่สุดที่ใช้สำหรับวิธีนี้ คือ glucose oxidase และ hexokinase

การตรวจด้วยระบบสารเคมีโดยทั่วไปจะอยู่ในรูปแบบของแถบตรวจซึ่งสามารถใส่เข้าไปในเครื่องอ่านและหยอดลงไป สำหรับรูปร่างของแถบตรวจและการจัดวางองค์ประกอบของเคมีจะแตกต่างกันระหว่างเครื่องอ่านและไม่สามารถใช้ด้วยกันได้ แต่เดิมนั้นแถบตรวจกลูโคสจะถูกอ่านด้วยตาและแปลผลโดยเทียบกับสีข้างขวดใส่แถบตรวจ แถบตรวจชนิดนี้ยังใช้สำหรับการตรวจระดับกลูโคสในปัสสาวะ แต่สำหรับการตรวจกลูโคสในเลือดถือว่าเป็นสิ่งที่ล้าสมัย เนื่องจากอัตราความผิดพลาดของมันค่อนข้างสูง

การตรวจกลูโคสในปัสสาวะเป็นประโยชน์น้อย เนื่องจากในสภาวะการทำงานของไตที่ปกตินั้นเราไม่สามารถตรวจพบกลูโคสได้ การตรวจพบกลูโคสในปัสสาวะนั้นแสดงว่าอยู่ในภาวะระดับกลูโคสสูงอย่างรุนแรงแล้ว นอกจากนี้ ปัสสาวะที่เก็บอยู่ในกระเพาะปัสสาวะนั้นเป็นระดับกลูโคสที่ผลิตขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้นแ ถ้าหากเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเมทาบอลิซึมอย่างรวดเร็วการตรวจระดับกลูโคสจากปัสสาวะจึงเป็นการได้ข้อมูลที่ล่าช้าและไม่เป็นประโยชน์สักเท่าไหร่นัก การตรวจระดับกลูโคสจากเลือดจึงเป็นทางเลือกที่ดีกว่าทั้งในแง่ทางคลินิกและการสามารถตรวจได้เองที่บ้าน ระดับกลูโคสในปัสสาวะของผู็ที่มีสุขภาพดีถูกนำมาใช้เป็นค่ามาตรฐานและตีพิมพ์เป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1965 โดย Hans Renschler


I. วิธีทางเคมี
A. Oxidation-reduction reaction
 
1. Alkaline copper reduction
Folin-Wu method   ผลผลิตสุดท้ายให้สีฟ้า
Benedict's method
  • เป็นการปรับปรุงจากวิธี Folin-Wu method เพื่อวัดระดับกลูโคสในปัสสาวะ (เชิงคุณภาพ)
Nelson-Somogyi method   ผลผลิตสุดท้ายให้สีฟ้า
Neocuproine method  * Yellow-orange color neocuproine
Shaeffer-Hartmann-Somogyi
  • ใช้หลักการของปฏิกิริยาระหว่างไอโอดีนกับทองแดง
  • I2 ที่มากจะถูกไตเตรทกับ thiosulfate.
2. Alkaline Ferricyanide Reduction
Hagedorn-Jensen   ผลผลิตสุดท้ายไม่มีสี; ปฏิกิริยาสามารถถูกรบกวนได้จากสาร reducing อื่น ๆ
B. Condensation
Ortho-toluidine method
  • ใช้ aromatic amines และ hot acetic acid
  • Forms Glycosylamine และ Schiff's base จะปรากฏสีเขียวมรกต
  • วิธีนี้เป็นวิธีที่มีความจำเพาะอย่างมาก แต่สารเคมีที่ใช้เป็นพิษ
Anthrone (phenols) method
  • Forms hydroxymethyl furfural ใน hot acetic acid
II. วิธีทางเอนไซม์
A. Glucose oxidase
 
Saifer–Gerstenfeld method   ถูกยับยั้งด้วยสาร reducing เช่น BUA, bilirubin, glutathione, ascorbic acid
Trinder method
  • ใช้ 4-aminophenazone oxidatively ร่วมกับ phenol
  • การตรวจจะถูกรบกวนน้อยจากการที่มีcreatinine, uric acid หรือ hemoglobin ในระดับที่สูง
  • ยังยั้งโดย catalase
Kodak Ektachem
  • เป็นวิธีทางเคมีอย่างแห้ง (dry chemistry method)
  • ใช้ reflectance spectrophotometry ในการวัดความเข้มของสีผ่านทางฟิล์ม
Glucometer
  • เป็นวิธีการตรวจระดับกลูโคสในเลือดที่บ้าน
  • ใช้แถบตรวจที่อิ่มตัวด้วย glucose oxidase reagent
B. Hexokinase

 

  • NADP เป็น cofactor
  • NADPH (reduced product) ถูกวัดที่ 340 nm
  • มีความจำเพาะมากกว่าวิธี glucose oxidase เนื่องจาก G-6PO4 ยับยั้งรบกวนจากสารอื่นยกเว้นเมื่อสิ่งส่งตรวจเกิด hemolyzed

วิธีการตรวจระดับกลูโคสในเลือด

  1. fasting blood sugar test (FBS)
  2. urine glucose test
  3. two-hr postprandial blood sugar test (2-h PPBS)
  4. oral glucose tolerance test (OGTT)
  5. intravenous glucose tolerance test (IVGTT)
  6. glycosylated hemoglobin (HbA1C)
  7. การตรวจระดับกลูโคสด้วยตัวผู้ป่วยเอง

ความสัมพันธ์เชิงคลินิก

การตรวจหาระดับกลูโคสในเลือดหลังอดอาหาร 8 ชั่วโมงเป็นการตรวจที่พื้นฐ่นมากสำหรับบ่งชี้การรักษาสมดุลของกลูโคสเนื่องจากไม่มีการรบกวนจากการรับประทานอาหารเข้ามาเกี่ยวข้อง ผลกระทบของระดับกลูโคสแสดงในตารางด้านล่าง ซึ่งภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้นนี้เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของกลไกการควบคุมระดับกลูโคส

การประเมินภาวะของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตสามารถทำได้โดยการวัดระดับกลูโคสหลังจากการรับประทานอาหารหรือได้รับกลูโคสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง รวมทั้ง การตรวจ glucose tolerance test ซึ่งจะทำการตรวจวัดระดับกลูโคสหลายครั้งหลังจากรับประทานกลูโคสที่มีปริมาณมาตรฐานเข้าไป การตรวจนี้มีจุดมุ่งหมายสำหรับการตรวจวินิจฉัยโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐานสำหรับการตรวจวัดระบบควบคุมอินซูลิน/กลูโคส แต่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากและใช้เวลา รวมทั้ง ต้องทำการตรวจเลือดหลายครั้ง เมื่อเปรียบเทียกับการตรวจกลูโคสหลังจากการอดอาหาร หรือที่เรียกว่า fasting blood glucose test ซึ่งเป็นการตรวจคัดกรองที่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าเนื่องจากมีปัจจัยที่ทำให้เกิดความแปรปรวนมากกว่า เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตในอาหารที่รับประทานและการใช้พลังงานก่อนเข้ารับการตรวจวัด ผู้เข้ารับบริการที่อยู่ในภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวานรวมถึงผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถมีระดับกลูโคสในเลือดหลังจากการอดอาหารในระดับที่ต่อกว่าเกณฑ์ได้ ถ้าพวกเขารับประทานอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตต่ำและสามารถเผาผลาญกลูโคสก่อนเข้ารับการตรวจ นอกจากนี้ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีผลต่อการวัดระดับกลูโคสในเลือด ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้ค่าที่ได้ออกมามีความน่าเชื่อถือ

อัตราการผิดพลาดของการวัดระดับกลูโคสจะมีความแตกต่างกันไปขึ้นกับห้องปฏิบัติการและวิธีการวัดของแต่ละแห่ง การวัดโดยวิธีการวัดจากสีนั้นสามารถทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนจากสีที่เปลี่ยนไปบนแถบตรวจได้ (อาจจะเกิดจากการปนเปื้อนที่เกิดจากอากาศหรือนิ้วมือ) หรือเกิดจากสิ่งรบกวน (เช่น สีปนเปื่อน) ที่เกิดกับแหล่งกำเนิดแสงหรือตัวจับแสง สำหรับการตรวจระดับกลูโคสด้วยตัวเองที่บ้านนั้นก็มีแนวโน้มที่จะมีความผิดพลาดอยู่บ้าง ถ้าหากการตรวจนั้นมีความผิดพลาดประมาณ 10% ผลกระทบก็อาจจะเกิดขึ้นไม่มากนัก ตราบเท่าที่การเปลี่ยนแปลงมีการติดตามอย่างถูกต้อง เช่น เนื่องจากการออกกำลังกายหรือปรับเปลี่ยนยารักษาโรค ในสหรัฐอเมริกา เครื่องมือที่ใช้ตรวจระดับกลูโคสในเลือดต้องผ่านการตรวจสอบจากกรรมการอาหารและยาของรัฐบาลกลางก่อนจึงขายได้

สาเหตุของระดับกลูโคสที่ผิดปกติ
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงอย่างเรื้อรัง ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงอย่างชั่วคราว ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างเรื้อรัง ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอย่างชั่วคราว
ช่วงค่าอ้างอิง, FBG: 70–110 mg/dl
Diabetes mellitus Pheochromocytoma Insulinoma Acute alcohol ingestion
Adrenal cortical hyperactivity Cushing's syndrome Severe liver disease Adrenal cortical insufficiency Addison's disease Drugs: salicylates, antituberculosis agents
Hyperthyroidism Acute stress reaction Hypopituitarism Severe liver disease
Acromegaly Shock Galactosemia Several glycogen storage diseases
Obesity Convulsions Ectopic insulin production from tumors Hereditary fructose intolerance

รากศัพท์และการใช้คำ

ในทางสรีวิทยา คำนี้เป็นชื่อเรียกชื่อที่ผิดเพราะมันหมายถึงน้ำตาลกลูโคสเท่านั้น ในขณะที่ยั่งมีน้ำตาลชนิดอื่นนอกเหนือจากกลูโกสอีก ในอาหารนั้นประกอบด้วยน้ำตาลต่าง ๆ เช่น ฟรุคโตส (ได้จากผลไม้/น้ำตาลทราย/สารให้ความหวาน), กาแลคโตส (นมและผลผลิตจากนม) รวมทั้ง พวกอาหารเสริมต่าง ๆ เช่น ซอร์บิทอล, ไซโลส, มัลโตส แต่เนื่องจากน้ำตาลชนิดอื่นนั้นมักจะเฉื่อยชาต่อระบบการควบคุมเมทาบอลิซึม (เช่น การควบคุมโดยอินซูลิน) ดังนั้น กลูโคสจึงเป็นน้ำตาลที่เด่นในการตอบสนองต่อระบบการควบคุมเมทาบอลิซึม ศัพท์คำนี้มีการใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้นและถูกใช้ในบุคลากรทางการแพทย์ด้วย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Daly, Mark E (1998). "Acute effects on insulin sensitivity and diurnal metabolic profiles of a high-sucrose compared with a high starch diet" (PDF). Am J Clin Nutr 1998 (ภาษาอังกฤษ). American Society for Clinical Nutrition (67): 1186–1196. สืบค้นเมื่อ 2011-02-19.
  2. What are mg/dl and mmol/l? How to convert? Glucose? Cholesterol?
  3. Type 2 Diabetes – Your Questions Answered, by Rosemary Walker & Jill Rodgers, ISBN 1-74033-550-3.
  4. Diabetes FAQs – Blood Glucose Measurement Units – Abbott Diabetes Care
  5. American Diabetes Association. January 2006 Diabetes Care. "Standards of Medical Care-Table 6 and Table 7, Correlation between A1C level and Mean Plasma Glucose Levels on Multiple Testing over 2–3 months." Vol. 29 Supplement 1 Pages 51–580.
  6. USDA National Nutrient Database for Standard Reference, Release 22 (2009)
  7. The upper limit of glucose concentration in the urine of healthy subjects. Deutsche Medizinische Wochenschrift 1965 Dec 31;90 (53):2349-53
  8. Neocuproine MSDS

ำตาลในเล, อด, ความเข, มข, นของ, หร, ระด, บกล, โคสในเล, อด, จำนวนกล, โคส, ำตาล, อย, ในเล, อดของมน, ษย, หร, อส, ตว, โดยปกต, ในส, ตว, เล, ยงล, กด, วยน, ำนม, างกายจะควบค, มระด, บกล, โคสในเล, อดให, อย, mmol, เช, millimoles, liter, หร, โดยธรรมชาต, แล, วร, างกายมน, ษ. khwamekhmkhnkhxngnatalineluxd hrux radbkluokhsineluxd khux canwnkluokhs natal thimixyuineluxdkhxngmnusyhruxstw odypktiinstweliynglukdwynanm rangkaycakhwbkhumradbkluokhsineluxdihxyuthi 3 6 5 8 mM mmol L echn millimoles liter hrux 64 8 104 4 mg dL 2 odythrrmchatiaelwrangkaymnusycakhwbkhumradbnatalineluxdxyangekhmngwdsungepnswnhnungkhxngkarrksasmdulkhxngrangkay homeostasis khwamphnphwnkhxngradbnatalineluxd siaedng aelaxinsulin sifa khxngmnusyrahwangmuxxahar 3 mux aelaphlkrathbkhxngxaharthimiradbsuokhssungaelaradbaepngsungkthukrabudwy 1 kluokhsepnaehlngphlngnganaehngaerksahrbesllkhxngrangkay swnikhmnineluxdinrupkhxngikhmnaelanamnepnaehlngsasmphlngngankhxngrangkay kluokhscathuklaeliyngcaklaishruxtbipyngesllkhxngrangkayodykraaeseluxdaelacathukthaihehmaasmsahrbkardudsumkhxngesllodyhxromnxinsulinsungthukphlitkhunthitbxxnkhaechliykhxngradbkluokhspktiineluxdmnusyxyuthipraman 4 mM 4 mmol L hrux 72 mg dL echn milligrams deciliter 2 xyangirktam khanicamikhwamphnphwntlxdthngwn radbkluokhscamiradbtamakinchwngecha kxnkarrbprathanxaharmuxaerk eriykwa the fasting level aelacaephimkhunhlngcakrbprathanxaharradbnatalineluxdthixyunachwngkhapktixacepntwbngchithangkaraephthy radbthisungxyangeruxrngbngbxkwaxyuinphawaradbnatalineluxdsung hyperglycemia aelaradbtabngbxkwaxyuinphawaradbnatalineluxdta hypoglycemia orkhebahwancamiradbnatalineluxdsungxyangeruxrngsungekididcakhlaysaehtuaelaeporkhthiepnthiruckmakthisudthiekiywkhxngkbkarsuyesiykarkhwbkhumradbnatalineluxd karephimkhunkhxngradbnatalineluxdxyangchwkhrawxacekidcakphawaekhriydsung echn trauma orkhhlxdeluxdsmxng klamenuxhwictayehtukhadeluxd phatd hruxpwy txngkarxangxing kardumaexlkxhxlcathaihradbnatalineluxdephimkhunaelacaldlnghlngcaknn nxkcakni yabangchnidkmiphltxkarephimkhunhruxldlngkhxngradbkluokhsdwy 3 enuxha 1 hnwy 2 chwngkhapkti 3 karkhwbkhum 4 phlkrathbtxsukhphaph 5 karepriybethiyb 6 karwdradbkluokhs 6 1 singsngtrwc 6 2 ethkhnikhkartrwcwd 6 3 withikartrwcradbkluokhsineluxd 6 4 khwamsmphnthechingkhlinik 7 raksphthaelakarichkha 8 duephim 9 xangxinghnwy aekikhkarwdradbnatalineluxdinmatrthanradbnanachaticarabuhnwyepnkhwamekhmkhnomlar molar concentration echn mmol L milliomltxlitrhruxmilliomlar yxepn mM inshrthxemrikakhwamekhmkhnodymwlthukwdinhnwy mg dL millikrmtxedsilitr 4 nahnkomelkulkhxngkluokhs C6H12O6 xyuthi 180 g mol odypraman dngnn khwamaetktangrahwangthng 2 hnwyxyuthi 18 klawkhux 1 mmol L khxngkluokhscaethakb 18 mg dL 2 chwngkhapkti aekikhmihlaypccythisngphlkrathbtxradbnatalineluxd dwykrabwnkarrksasmdulkhxngrangkaycarksaradbnatalineluxdihxyuthi 4 4 6 1 mmol L 82 110 mg dL thungaemwaradbnatalineluxdcamikhwamphnphwninrahwangmuxxaharhruxkarrbprathankharobihedrtinprimanthimak aetradbkluokhsineluxdkhxngmnusykcathukkhwbkhumihxyuinradbthipkti xyangirktam hlngcakrbprathanxaharaelwradbnatalineluxdxaccaephimkhunelknxythiradb 7 8 mmol L 140 mg dL sungepnkarephimkhunxyangchwkhrawethann smakhmorkhebahwanaehngshrthxemrikaaenanawaradbnatalineluxdhlngrbprathanxaharkhwrcaxyuthiradbnxykwa 10 mmol L 180 mg dl aelaradbkluokhsinphlasmakxnrbprathanxaharkhwrxyuthiradb 5 7 2 mmol L 90 130 mg dL 5 primankluokhsineluxdaelakhxngehlwinrangkaycamiprimanthinxymak inchaythimisukhphaphdithiminahnk 75 kg aelamiprimaneluxd 5 litrnncamiradbnkluokhsineluxdthi 5 5 mmol L 100 mg dL hruxminatal 5 krm sungepnprimanthinxykwaprimannatalsahrbkaaefhruxchainranxaharkhxngchawxemrikn 6 ehtuphlhnungthithaihnatalmiprimannxy khux karrksakarihlekhakhxngkluokhsekhasuesllnncamiexnismthithakarepliynaeplngkluokhsodykaretimhmufxsefthruxhmuxun ekhaipyngomelkulkhxngkluokhskarkhwbkhum aekikhdubthkhwamhlkthi Blood sugar regulation karrksaphawasmdulkhxngrangkaycachwyrksaihradbnatalineluxdxyuinchwngaekhb prakxbdwyhlayrabbthithanganrwmknaelakarkhwbkhumhxromnepnsingthimikhwamsakhymakmihxromn 2 chnidthithanganrwmknaebbtrngkhamsungcasngphlkrathbtxradbkluokhsineluxd khux catabolic hormones echn klukhakxn cortisol aela catecholamines cathaihradbkluokhsineluxdephimmakkhun anabolic hormone echn xinsulin cathaihradbkluokhsineluxdldlngphlkrathbtxsukhphaph aekikhthahakradbnatalineluxdtalng xacsngphlihekidphawathieriykwa phawanatalineluxdta odycamixakarechuxycha karthangankhxngciticimepnpkti hngudhngidngay twsn klamenuxaekhnkhaxxnaerng phiwsid ehnguxxxk hwadraaewnghruxkawraw aelasuyesiykarkhwbkhumsti hruxxacsngphlkrathbihsmxngekidkhwamesiyhaykepnipidaettharadbnatalineluxdsung khwamxyakxaharcaldlnginchwrayaewlasn aelathahakradbnatalineluxdsungepnrayawlanancasngphlkrathbtxsukhphaphtang thiekiywkborkhebahwan rwmthng ta it orkhhwic aelathalayesnprasathkarepriybethiyb aekikh chwngkhaxangxingsahrbkartrwceluxd epriybethiybradbkluokhsineluxd siekhiywaek kbswnprakxbxunkarwdradbkluokhs aekikhduephimetimthi Blood glucose monitoring aela ekhruxngmuxwdradbkluokhs singsngtrwc aekikh kluokhssamarthwdidcakineluxdkhrbswn whole blood phlasma hrux sirm inxditkartrwcradbkluokhscahmaythungkartrwcineluxdkhrbswn aetinpccubnhxngptibtikarthangkaraephthyodyswnmakcatrwccaksirmaethn enuxngcakinemdeluxdaedngnnmikhwamekhmkhnkhxngoprtin echn hiomoklbin inradbthisungmakkwainsirm inkhnathisirmnnprakxbdwynamakkwasungthaihkluokhscalalayidinsirmmakkwaineluxdkhrbswn dngnn inkarepliynkharadbkluokhsineluxdkhrbswnepnradbkluokhsinsirmhruxphlasmaihkhundwy 1 15karekbeluxdinhlxdsahrbaeyksirm clot tubes ephuxichinkartrwcthangekhmikhliniknn krabwnkarephaphlaykluokhscayngdaeninkarxyuodyesllemdeluxdcnkwacathakarpnaeykesiykxn primanemdeluxdkhawaelaemdeluxdaedngthisungphidpktisamarththaihekidkrabwnkar glycolysis insingsngtrwcsungcamiphlthaihradbkluokhsthiidnxykwakhwamepncringidhakeraimthakaraeyksirmxxkmaxyangrwderw nxkcakni xunhphumiinkarekbrksasingsngtrwckxnthicathakarpnehwiyngaelaaeyksirmhruxphlasmakmiphltxradbkluokhsechnkn odythaekbiwintueynradbkluokhscakhxnkhangesthiyrxyuidepnewlahlaychwomng karsuyesiykluokhsinsingsngtrwcsamarthpxngknidodyichhlxdthiissarfluxxird echn hlxdfasietha sungfluxxirdcathakarybyngkarekid glycolysis xyangirktam khwrichemuxtxngthakarkhnyaysingsngtrwccakhxngptibtikarthangkaraephthyhnungipyngxikthihnung hlxdthimifasiaedngsahrbaeyksirm hlxdthimifasiaedngsahrbaeyksirmnnksamarthrksasphaphkhxngkluokhsidechnknhlngcakaeyksirmxxkcakesllaelwkarpxngknkarpnepuxnkhxngsingsngtrwccakkhxngehlwthdaethnthanghlxdeluxd intravenous fluids khwrekbeluxdcakaekhnthitrngkhamkbaekhnthiesiybsayihkhxngehlwthdaethnthanghlxdeluxdxyu hruxthatxngekbeluxdcakaekhnkhangthiesiybsay IV khwrekbeluxdhlngcakhyudkarihkhxngehlwthang IV aelwepnewlaxyangnxy 5 nathiaelaykaekhnkhunephuxihkhxngehlwnnrabayxxkipcakhlxdeluxddaesiykxn haklaelyinkhxnicasngphlihkhakhxngradbkluokhsthiwdidmikhwamphidphladxyangmak odythaekidkarpnepuxnephiyng 10 cak 5 khxngsarlalarkluokhs D5W cathaihradbkluokhsthiwdidsungthung 500 mg dl hruxmakkwa phungralukiwesmxwakhwamekhmkhnkhxngkluokhsthiaethcringnnmiradbthitamakthungaemcaxyuinphawanatalineluxdsungktamkartrwcradbkluokhskxnkarrbprathancakhlxdeluxdaedng hlxdeluxdfxy aelahlxdeluxddacamikhathiiklekhiyngkninaetlabukhkhl aethlngcakrbprathanxaharaelwradbkluokhsthitrwccakhlxdeluxddacamikhatakwahlxdeluxdaednghruxhlxdeluxdfxypraman 10 ethkhnikhkartrwcwd aekikh kartrwcradbkluokhsmixyu 2 withihlk withiaerk khux withithangekhmithiichpraoychncakkhunsmbti nonspecific reducing khxngkluokhssungtwbngchicaepliynaeplngsiemuxekidptikiriyakhun withiniyngkhngmikarichxyuinbangaehng aetenuxngcaksarprakxbxun ineluxdkmikhunsmbti reducing id echn yueriy thaihwithinisamarthekidkhwamphidphladidinbangkrni praman 5 15 mg dl xikwithihnung khux karichexnismthimikhwamcaephaatxkluokhs odyexnismphunthanthisudthiichsahrbwithini khux glucose oxidase aela hexokinasekartrwcdwyrabbsarekhmiodythwipcaxyuinrupaebbkhxngaethbtrwcsungsamarthisekhaipinekhruxngxanaelahyxdlngip sahrbruprangkhxngaethbtrwcaelakarcdwangxngkhprakxbkhxngekhmicaaetktangknrahwangekhruxngxanaelaimsamarthichdwyknid aetedimnnaethbtrwckluokhscathukxandwytaaelaaeplphlodyethiybkbsikhangkhwdisaethbtrwc aethbtrwcchnidniyngichsahrbkartrwcradbkluokhsinpssawa aetsahrbkartrwckluokhsineluxdthuxwaepnsingthilasmy enuxngcakxtrakhwamphidphladkhxngmnkhxnkhangsungkartrwckluokhsinpssawaepnpraoychnnxy enuxngcakinsphawakarthangankhxngitthipktinneraimsamarthtrwcphbkluokhsid kartrwcphbkluokhsinpssawannaesdngwaxyuinphawaradbkluokhssungxyangrunaerngaelw nxkcakni pssawathiekbxyuinkraephaapssawannepnradbkluokhsthiphlitkhun n ewlaidewlahnungethannae thahakekidkarepliynaeplngthangemthabxlisumxyangrwderwkartrwcradbkluokhscakpssawacungepnkaridkhxmulthilachaaelaimepnpraoychnskethaihrnk kartrwcradbkluokhscakeluxdcungepnthangeluxkthidikwathnginaengthangkhlinikaelakarsamarthtrwcidexngthiban radbkluokhsinpssawakhxngphuthimisukhphaphdithuknamaichepnkhamatrthanaelatiphimphepnkhrngaerkemux kh s 1965 7 ody Hans Renschler I withithangekhmiA Oxidation reduction reactionG l u c o s e A l k a l i n e c o p p e r t a r t a r a t e R e d u c t i o n C u p r o u s o x i d e displaystyle mathrm Glucose mathrm Alkaline copper tartarate xrightarrow mathrm Reduction mathrm Cuprous oxide 1 Alkaline copper reductionFolin Wu method C u P h o s p h o m o l y b d i c a c i d O x i d a t i o n P h o s p h o m o l y b d e n u m o x i d e displaystyle mathrm Cu mathrm Phosphomolybdic acid xrightarrow mathrm Oxidation mathrm Phosphomolybdenum oxide phlphlitsudthayihsifaBenedict s method epnkarprbprungcakwithi Folin Wu method ephuxwdradbkluokhsinpssawa echingkhunphaph Nelson Somogyi method C u A r s e n o m o l y b d i c a c i d O x i d a t i o n A r s e n o m o l y b d e n u m o x i d e displaystyle mathrm Cu mathrm Arsenomolybdic acid xrightarrow mathrm Oxidation mathrm Arsenomolybdenum oxide phlphlitsudthayihsifaNeocuproine method C u N e o c u p r o i n e O x i d a t i o n C u n e o c u p r o i n e c o m p l e x displaystyle mathrm Cu mathrm Neocuproine xrightarrow mathrm Oxidation mathrm Cu mathrm neocuproine complex Yellow orange color neocuproine 8 Shaeffer Hartmann Somogyi ichhlkkarkhxngptikiriyarahwangixoxdinkbthxngaedng I2 thimakcathukitetrthkb thiosulfate 2 Alkaline Ferricyanide ReductionHagedorn Jensen G l u c o s e A l k a l i n e f e r r i c y a n i d e F e r r o c y a n i d e displaystyle mathrm Glucose mathrm Alkaline ferricyanide longrightarrow mathrm Ferrocyanide phlphlitsudthayimmisi ptikiriyasamarththukrbkwnidcaksar reducing xun B CondensationOrtho toluidine method ich aromatic amines aela hot acetic acid Forms Glycosylamine aela Schiff s base capraktsiekhiywmrkt withiniepnwithithimikhwamcaephaaxyangmak aetsarekhmithiichepnphisAnthrone phenols method Forms hydroxymethyl furfural in hot acetic acidII withithangexnismA Glucose oxidaseG l u c o s e O 2 O x i d a t i o n g l u c o s e o x i d a s e C u p r o u s o x i d e displaystyle mathrm Glucose mathrm O 2 xrightarrow mathrm Oxidation mathrm glucose oxidase mathrm Cuprous oxide Saifer Gerstenfeld method H 2 O 2 textit O dianisidine O x i d a t i o n p e r o x i d a s e H 2 O o x i d i z e d c h r o m o g e n displaystyle mathrm H 2 O 2 textrm textit O dianisidine xrightarrow mathrm Oxidation mathrm peroxidase mathrm H 2 O mathrm oxidized chromogen thukybyngdwysar reducing echn BUA bilirubin glutathione ascorbic acidTrinder method ich 4 aminophenazone oxidatively rwmkb phenol kartrwccathukrbkwnnxycakkarthimicreatinine uric acid hrux hemoglobin inradbthisung yngyngody catalaseKodak Ektachem epnwithithangekhmixyangaehng dry chemistry method ich reflectance spectrophotometry inkarwdkhwamekhmkhxngsiphanthangfilmGlucometer epnwithikartrwcradbkluokhsineluxdthiban ichaethbtrwcthiximtwdwy glucose oxidase reagentB HexokinaseG l u c o s e A T P P h o s p h o r y l a t i o n H e x o k i n a s e M g G 6PO 4 A D P G 6PO 4 N A D P O x i d a t i o n G 6PD G Phosphogluconate N A D P H H displaystyle begin alignedat 2 amp mathrm Glucose mathrm ATP xrightarrow mathrm Phosphorylation mathrm Hexokinase mathrm Mg textrm G 6PO 4 mathrm ADP amp textrm G 6PO 4 mathrm NADP xrightarrow mathrm Oxidation textrm G 6PD textrm G Phosphogluconate mathrm NADPH mathrm H end alignedat NADP epn cofactor NADPH reduced product thukwdthi 340 nm mikhwamcaephaamakkwawithi glucose oxidase enuxngcak G 6PO4 ybyngrbkwncaksarxunykewnemuxsingsngtrwcekid hemolyzedwithikartrwcradbkluokhsineluxd aekikh fasting blood sugar test FBS urine glucose test two hr postprandial blood sugar test 2 h PPBS oral glucose tolerance test OGTT intravenous glucose tolerance test IVGTT glycosylated hemoglobin HbA1C kartrwcradbkluokhsdwytwphupwyexngkhwamsmphnthechingkhlinik aekikh kartrwcharadbkluokhsineluxdhlngxdxahar 8 chwomngepnkartrwcthiphunthnmaksahrbbngchikarrksasmdulkhxngkluokhsenuxngcakimmikarrbkwncakkarrbprathanxaharekhamaekiywkhxng phlkrathbkhxngradbkluokhsaesdngintarangdanlang sungphawaphidpktithiekidkhunniekiywkhxngkbkhwamphidpktikhxngklikkarkhwbkhumradbkluokhskarpraeminphawakhxngkarephaphlaykharobihedrtsamarththaidodykarwdradbkluokhshlngcakkarrbprathanxaharhruxidrbkluokhsepnewla 2 chwomng rwmthng kartrwc glucose tolerance test sungcathakartrwcwdradbkluokhshlaykhrnghlngcakrbprathankluokhsthimiprimanmatrthanekhaip kartrwcnimicudmunghmaysahrbkartrwcwinicchyorkhebahwan sungepnwithimatrthansahrbkartrwcwdrabbkhwbkhumxinsulin kluokhs aetmikhntxnthiyungyakaelaichewla rwmthng txngthakartrwceluxdhlaykhrng emuxepriybethiykbkartrwckluokhshlngcakkarxdxahar hruxthieriykwa fasting blood glucose test sungepnkartrwckhdkrxngthimiprasiththiphaphnxykwaenuxngcakmipccythithaihekidkhwamaeprprwnmakkwa echn primankharobihedrtinxaharthirbprathanaelakarichphlngngankxnekharbkartrwcwd phuekharbbrikarthixyuinphawakxnepnorkhebahwanrwmthungphupwyorkhebahwansamarthmiradbkluokhsineluxdhlngcakkarxdxaharinradbthitxkwaeknthid thaphwkekharbprathanxaharthimikharobihedrttaaelasamarthephaphlaykluokhskxnekharbkartrwc nxkcakni khwrhlikeliyngxaharthimiphltxkarwdradbkluokhsineluxd sungepnsingsakhyephuxihkhathiidxxkmamikhwamnaechuxthuxxtrakarphidphladkhxngkarwdradbkluokhscamikhwamaetktangknipkhunkbhxngptibtikaraelawithikarwdkhxngaetlaaehng karwdodywithikarwdcaksinnsamarththaihekidkhwamkhladekhluxncaksithiepliynipbnaethbtrwcid xaccaekidcakkarpnepuxnthiekidcakxakashruxniwmux hruxekidcaksingrbkwn echn sipnepuxn thiekidkbaehlngkaenidaesnghruxtwcbaesng sahrbkartrwcradbkluokhsdwytwexngthibannnkmiaenwonmthicamikhwamphidphladxyubang thahakkartrwcnnmikhwamphidphladpraman 10 phlkrathbkxaccaekidkhunimmaknk trabethathikarepliynaeplngmikartidtamxyangthuktxng echn enuxngcakkarxxkkalngkayhruxprbepliynyarksaorkh inshrthxemrika ekhruxngmuxthiichtrwcradbkluokhsineluxdtxngphankartrwcsxbcakkrrmkarxaharaelayakhxngrthbalklangkxncungkhayid saehtukhxngradbkluokhsthiphidpkti phawanatalineluxdsungxyangeruxrng phawanatalineluxdsungxyangchwkhraw phawanatalineluxdtaxyangeruxrng phawanatalineluxdtaxyangchwkhrawchwngkhaxangxing FBG 70 110 mg dlDiabetes mellitus Pheochromocytoma Insulinoma Acute alcohol ingestionAdrenal cortical hyperactivity Cushing s syndrome Severe liver disease Adrenal cortical insufficiency Addison s disease Drugs salicylates antituberculosis agentsHyperthyroidism Acute stress reaction Hypopituitarism Severe liver diseaseAcromegaly Shock Galactosemia Several glycogen storage diseasesObesity Convulsions Ectopic insulin production from tumors Hereditary fructose intoleranceraksphthaelakarichkha aekikhinthangsriwithya khaniepnchuxeriykchuxthiphidephraamnhmaythungnatalkluokhsethann inkhnathiyngminatalchnidxunnxkehnuxcakkluoksxik inxaharnnprakxbdwynataltang echn frukhots idcakphlim natalthray sarihkhwamhwan kaaelkhots nmaelaphlphlitcaknm rwmthng phwkxaharesrimtang echn sxrbithxl isols mlots aetenuxngcaknatalchnidxunnnmkcaechuxychatxrabbkarkhwbkhumemthabxlisum echn karkhwbkhumodyxinsulin dngnn kluokhscungepnnatalthiedninkartxbsnxngtxrabbkarkhwbkhumemthabxlisum sphthkhanimikarichxyangaephrhlaymakkhunaelathukichinbukhlakrthangkaraephthydwyduephim aekikhBlood glucose monitoring Glucagonxangxing aekikh Daly Mark E 1998 Acute effects on insulin sensitivity and diurnal metabolic profiles of a high sucrose compared with a high starch diet PDF Am J Clin Nutr 1998 phasaxngkvs American Society for Clinical Nutrition 67 1186 1196 subkhnemux 2011 02 19 2 0 2 1 2 2 What are mg dl and mmol l How to convert Glucose Cholesterol Type 2 Diabetes Your Questions Answered by Rosemary Walker amp Jill Rodgers ISBN 1 74033 550 3 Diabetes FAQs Blood Glucose Measurement Units Abbott Diabetes Care American Diabetes Association January 2006 Diabetes Care Standards of Medical Care Table 6 and Table 7 Correlation between A1C level and Mean Plasma Glucose Levels on Multiple Testing over 2 3 months Vol 29 Supplement 1 Pages 51 580 USDA National Nutrient Database for Standard Reference Release 22 2009 The upper limit of glucose concentration in the urine of healthy subjects Deutsche Medizinische Wochenschrift 1965 Dec 31 90 53 2349 53 Neocuproine MSDSekhathungcak https th wikipedia org w index php title natalineluxd amp oldid 9135466, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม