fbpx
วิกิพีเดีย

ภาวะพิษกาเฟอีน

กาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นประสาทมีอยู่ตามธรรมชาติในกาแฟ ชา มาเต (llex paraguariensis) และพืชประเภทอื่น ๆ เป็นส่วนผสมของเครื่องบริโภคมากมาย โดยเฉพาะในเครื่องดื่มที่โฆษณาว่า เป็นเครื่องดื่มชูกำลัง นอกจากนั้นแล้ว ยังมีกาเฟอีนในน้ำอัดลมเช่นโคคา-โคล่าและเป็ปซี่ โดยกำหนดในฉลากแสดงองค์ประกอบว่า เป็นเครื่องปรุงรส

ภาวะพิษกาเฟอีน
(Caffeinism)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10F15

กลไกการทำงานของกาเฟอีนแตกต่างจากยาเสพติดประเภทอื่น ๆ รวมทั้งโคเคนและแอมเฟตามีน คือ กาเฟอีนมีฤทธิ์ระงับ (antagonization) การทำงานของหน่วยรับความรู้สึกของสาร adenosine ในระบบประสาท และเพราะว่า adenosine เป็นสารพลอยได้ของการทำงานของเซลล์ ซึ่งมีฤทธิ์ต่อหน่วยความรู้สึกมีผลให้เกิดความรู้สึกเหนื่อยและความอยากจะนอน ดังนั้น การเข้าไประงับหน่วยความรู้สึกจึงมีผลให้ระดับสารกระตุ้นประสาทตามธรรมชาติคือโดพามีนและ norepinephrine ดำรงอยู่ในระดับที่สูง. ช่วงขณะที่กาเฟอีนกำลังออกฤทธิ์ กระบวนการ antagonization ของหน่วยรับความรู้สึกประเภท adenosine จะเพิ่มขึ้น และระดับสารสื่อประสาทก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน

การทำงานของกาเฟอีน

การทำงานของกาเฟอีนเกิดจากทั้งการลดฤทธิ์ยับยั้งของ adenosine (โดยเป็น antagonist ต่อหน่วยรับความรู้สึก A1) และการจำกัดการทำงานทางประสาท (โดยขัดขวางฤทธิ์ยับยั้งของหน่วยรับความรู้สึก A2A ซึ่งมีผลเป็นการลดระดับการทำงานของนิวรอนในวิถีประสาท striato-Gpe) มีหน่วยรับความรู้สึกของ adenosine อย่างน้อย 4 อย่าง และประเภท A1 และ A2A เป็นประเภทที่โดยทฤษฎีแล้ว กาเฟอีนเป็นตัวปฏิปักษ์ (antagonist). หน่วยรับความรู้สึกของ Adenosine A1 อยู่ที่เซลล์ก่อนไซแนปส์ (presynaptic) มีอยู่ในหลายเขตของสมอง รวมทั้งเปลือกสมองและฮิปโปแคมปัส เมื่อรับสาร adenosine หน่วยรับความรู้สึกจะมีผลเป็นการยับยั้งการปล่อยสารสื่อประสาทโดพามีน กลูตาเมต และ acetylcholine (ดังนั้น กาเฟอีนซึ่งเป็น antagonist ต่อหน่วยรับความรู้สึก จึงมีผลทำให้ไม่เกิดการยับยั้งสารสื่อประสาท) นอกจากนั้นแล้ว กาเฟอีนยังเป็นปฏิปักษ์ต่อสาร benzodiazepines อีกด้วย แม้ว่าจะอ่อนกว่าต่อ adenosine คือ กาเฟอีนสามารถเข้าไปรบกวนฤทธิ์ของ benzodiazepines ที่บริโภคในเวลาเดียวกัน

ช่วงเวลาครึ่งชีวิต (half life) ของกาเฟอีนในผู้ใหญ่อยู่ที่ประมาณ 3.5-6 ช.ม. และต่างกันไปตามวัย การตั้งครรภ์มีผลต่อช่วงเวลาครึ่งชีวิต คือในช่วงที่สุดแห่งการตั้งครรภ์ จะยาวนานถึง 10 ช.ม. นอกจากนั้นแล้ว ช่วงเวลาครึ่งชีวิตในทารกในครรภ์ยังยาวนานกว่าปกติอีกด้วย เพราะว่า ทารกไม่มีเอนไซม์ในตับประเภท CYP1A2 และ CYP1A1 ที่ทำการย่อยสลายกาเฟอีน

การติดกาเฟอีน

การติดกาเฟอีนทางกายหรือทางใจสามารถเกิดขึ้นเป็นผลจากการบริโภคมากเกินไป ในการสัมภาษณ์ ศ.โรแลนด์ กริฟฟิธส์ ในแผนกจิตเวชและประสาทวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนการแพทย์แห่งมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปคินส์ ได้กล่าวว่า งานวิจัยหลายงานได้แสดงว่า ผู้ที่บริโภคกาเฟอีนอย่างน้อย 100 มิลลิกรัมต่อวัน (ประมาณ 1 ถ้วย) สามารถเกิดการติดทางกาย ซึ่งสามารถนำไปสู่อาการขาดยารวมทั้ง ความปวดหัว ความเจ็บปวดและความตึงแน่นของกล้ามเนื้อ ภาวะง่วงงุน (lethargy) คลื่นไส้ อาเจียน อารมณ์ซึมเศร้า และความหงุดหงิด ศ. กริฟฟิธส์เชื่อมั่นว่า การขาดกาเฟอีนควรจะจัดเป็นโรคทางจิตวิทยา ตามงานวิจัยของเขา อาการขาดกาเฟอีนจะเกิดขึ้นภายใน 12-24 ช.ม. หลังจากเลิกบริโภค และสามารถเป็นอยู่ได้นานถึง 9 วัน การรับกาเฟอีนเข้าไปเรื่อย ๆ จะทำให้ร่างกายสร้างหน่วยรับความรู้สึกของ adenosine เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในระบบประสาทกลาง ซึ่งทำให้เกิดความไวต่อผลของสาร adenosine ขึ้นโดยสองด้าน ด้านแรก จะทำให้ร่างกายดื้อต่อฤทธิ์กาเฟอีน ด้านที่สอง จะทำให้อาการขาดกาเฟอีนรุนแรงขึ้น เพราะร่างกายจะไวต่อผลของ adenosine เพิ่มขึ้นเมื่อหยุดการบริโภคกาเฟอีน การดื้อกาเฟอีนสามารถเจริญขึ้นได้อย่างรวดเร็ว

การดื้อต่อฤทธิ์ต้านการง่วงนอนของกาเฟอีนเห็นได้หลังจากการบริโภคที่ 400 มิลลิกรัม 3 ครั้งต่อวันติดต่อกัน 7 วัน และการดื้อกาเฟอีนอย่างสิ้นเชิงเห็นได้หลังจากการบริโภคที่ 300 มิลลิกรัม 3 ครั้งต่อวันติดต่อกัน 18 วัน

ตาม Journal of Caffeine Research (วารสารงานวิจัยเกี่ยวกับกาเฟอีน) งานวิจัยหนึ่งพบว่ามีคนมากขึ้นที่ติดกาเฟอีน ซึ่งเป็นเหตุให้นักวิจัยพิมพ์บทความเตือนในหัวข้อ "Caffeine Use Disorder (โรคการใช้กาเฟอีน)" คือ งานวิจัยนี้ ที่เขียนร่วมโดยศาสตราจารย์จิตวิทยาของมหาวิทยาลัยอเมริกัน (American University) ลอรา จูเลียโน แสดงว่ามีคนจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาการขาดกาเฟอีน และไม่สามารถลดระดับการบริโภค จัดเป็น "ความผิดปกติในการบริโภคกาเฟอีน" ที่อยู่ในระดับรุนแรง ศ. จูเลียโนได้ให้ความแก่สื่อว่า “มีความเข้าใจผิดทั้งในผู้เชี่ยวชาญและทั้งบุคคลอื่น ๆ ว่า ไม่ยากที่จะเลิกกาเฟอีน แต่ว่าในงานสำรวจประชากร ผู้บริโภคกาเฟอีนเป็นปกติ (ในชีวิตประจำวัน) มากกว่า 50 เปอร์เซนต์แจ้งว่า มีปัญหาในการเลิกหรือลดระดับการใช้กาเฟอีน ผ่านงานวิจัยของเรา เราได้พบว่า คนที่ไม่สามารถเลิกหรือลดระดับการใช้กาเฟอีนโดยตนเองมีความสนใจที่จะรับการบำบัดจากมืออาชีพ คล้ายกับการบำบัดที่บุคคลทั่วไปสามารถแสวงหาถ้าต้องการที่จะเลิกสูบบุหรี่หรือเลิกใช้ยาเส้น” ศ. จูเลียโนยังยืนยันอีกด้วยว่า เรามักจะมองข้ามผลลบจากกาเฟอีน เพราะว่า เป็น "ยาเสพติดที่สังคมยอมรับและมีการบริโภคอย่างกว้างขวาง ซึ่งได้ผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมประเพณีและชีวิตประจำวันของเราแล้วเป็นอย่างดี"

ผลทางพฤติกรรม

ได้มีการพบว่า กาเฟอีนมีฤทธิ์เท่ากับยา Modafinil ในผู้ใหญ่ผู้ตื่นอยู่ไม่ได้นอนกว่า 54 ช.ม. เพื่อที่จะรักษาความตื่นตัวทางประชาน แต่ว่า เป็นยาที่อาจก่อให้เกิดความวิตกกังวล โดยเฉพาะในเยาวชน

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Fisone G, Borgkovist A, Usiello A (2004). "Caffeine as a psychomotor stimulant: Mechanism of Action". Cellular and Molecular Life Sciences. 61 (7–8): 857–872. doi:10.1007/s00018-003-3269-3. PMID 15095008.
  2. Astrid Nehlig; Jean-Luc Daval; Gérard Debry (May–August 1992). "Caffeine and the central nervous system: mechanisms of action, biochemical, metabolic and psychostimulant effects". Brain Research Reviews. Elsevier B.V. 17 (2): 139–170. doi:10.1016/0165-0173(92)90012-B. ISSN 0165-0173.
  3. Brenda Eskenazi (December 22, 1993). "Caffeine During Pregnancy: Grounds for Concern?". JAMA. 270 (24): 2973–2974. doi:10.1001/jama.1993.03510240085039.
  4. Studeville, George (January 15, 2010). "Caffeine Addiction Is a Mental Disorder, Doctors Say". National Geographic. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-20. สืบค้นเมื่อ 2014-07-18.
  5. Laura M. Juliano; Roland R. Griffiths (September 21, 2004). "A critical review of caffeine withdrawal: empirical validation of symptoms and signs, incidence, severity, and associated features". Psychopharmacology. 176 (1): 1–29. doi:10.1007/s00213-004-2000-x. eISSN 1432-2072.
  6. Prasath, K. Hari; Sravanth, P. A.; Sudhir, A. Ram (2014). "TEA "AN ADDICTION NOR A MEDICINE"- A REVIEW" (PDF). International Journal of Pharmacy. 4 (3): 150–152. (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-22. สืบค้นเมื่อ August 22, 2014. อ้างอิง:
    • Chou CC, Lin LL, Chung KT. Antimicrobial activity of tea as affected by the degree of fermentation and manufacturing season. Int J Food Microbiol, 48, 1999, 125–130.
    • Katiyar SK, Mukhtar H. Tea antioxidants in cancer chemoprevention. J Cell Biochem 27, 1997, S59–S67.
  7. Ananya Mandal (February 26, 2019). "Caffeine Pharmacology". News-Medical.Net.
  8. "Experts Warn Of 'Caffeine Use Disorder'". CBS DC. January 29, 2014. สืบค้นเมื่อ January 30, 2014.
  9. Smith, Brett (January 29, 2014). "Researchers Say 'Caffeine Use Disorder' Is A Major Health Concern". Red Orbit. สืบค้นเมื่อ January 30, 2014.
  10. . Health 24. January 29, 2014. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2014-02-01. สืบค้นเมื่อ January 30, 2014.
  11. Nancy Wesensten; Gregory Belenky; Mary A. Kautz; David R. Thorne; Rebecca M. Reichardt; Thomas J. Balkin (October 19, 2001). "Maintaining alertness and performance during sleep deprivation: modafinil versus caffeine". Psychopharmacology. 159 (3): 238–247. doi:10.1007/s002130100916. ISSN 0033-3158.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Dawson Hedges, Colin Burchfield (September 22, 2005). "Mind, Brain and Drug: An Introduction to Psychopharmacology". Pearson Education, Inc., pp. 144–146 ISBN 978-0205355563.


ภาวะพ, ษกาเฟอ, กาเฟอ, นเป, นสารกระต, นประสาทม, อย, ตามธรรมชาต, ในกาแฟ, ชา, มาเต, llex, paraguariensis, และพ, ชประเภทอ, เป, นส, วนผสมของเคร, องบร, โภคมากมาย, โดยเฉพาะในเคร, องด, มท, โฆษณาว, เป, นเคร, องด, มช, กำล, นอกจากน, นแล, งม, กาเฟอ, นในน, ำอ, ดลมเช, นโคคา. kaefxinepnsarkratunprasathmixyutamthrrmchatiinkaaef cha maet llex paraguariensis aelaphuchpraephthxun epnswnphsmkhxngekhruxngbriophkhmakmay odyechphaainekhruxngdumthiokhsnawa epnekhruxngdumchukalng nxkcaknnaelw yngmikaefxininnaxdlmechnokhkha okhlaaelaeppsi odykahndinchlakaesdngxngkhprakxbwa epnekhruxngprungrsphawaphiskaefxin Caffeinism bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F15klikkarthangankhxngkaefxinaetktangcakyaesphtidpraephthxun rwmthngokhekhnaelaaexmeftamin khux kaefxinmivththirangb antagonization karthangankhxnghnwyrbkhwamrusukkhxngsar adenosine inrabbprasath aelaephraawa adenosine epnsarphlxyidkhxngkarthangankhxngesll sungmivththitxhnwykhwamrusukmiphlihekidkhwamrusukehnuxyaelakhwamxyakcanxn dngnn karekhaiprangbhnwykhwamrusukcungmiphlihradbsarkratunprasathtamthrrmchatikhuxodphaminaela norepinephrine darngxyuinradbthisung chwngkhnathikaefxinkalngxxkvththi krabwnkar antagonization khxnghnwyrbkhwamrusukpraephth adenosine caephimkhun aelaradbsarsuxprasathkcaephimkhunechnkn enuxha 1 karthangankhxngkaefxin 2 kartidkaefxin 3 phlthangphvtikrrm 4 echingxrrthaelaxangxing 5 aehlngkhxmulxunkarthangankhxngkaefxin aekikhkarthangankhxngkaefxinekidcakthngkarldvththiybyngkhxng adenosine odyepn antagonist txhnwyrbkhwamrusuk A1 aelakarcakdkarthanganthangprasath odykhdkhwangvththiybyngkhxnghnwyrbkhwamrusuk A2A sungmiphlepnkarldradbkarthangankhxngniwrxninwithiprasath striato Gpe 1 mihnwyrbkhwamrusukkhxng adenosine xyangnxy 4 xyang aelapraephth A1 aela A2A epnpraephththiodythvsdiaelw kaefxinepntwptipks antagonist hnwyrbkhwamrusukkhxng Adenosine A1 xyuthiesllkxnisaenps presynaptic mixyuinhlayekhtkhxngsmxng rwmthngepluxksmxngaelahipopaekhmps emuxrbsar adenosine hnwyrbkhwamrusukcamiphlepnkarybyngkarplxysarsuxprasathodphamin klutaemt aela acetylcholine 1 dngnn kaefxinsungepn antagonist txhnwyrbkhwamrusuk cungmiphlthaihimekidkarybyngsarsuxprasath nxkcaknnaelw kaefxinyngepnptipkstxsar benzodiazepines xikdwy aemwacaxxnkwatx adenosine khux kaefxinsamarthekhaiprbkwnvththikhxng benzodiazepines thibriophkhinewlaediywkn 2 chwngewlakhrungchiwit half life khxngkaefxininphuihyxyuthipraman 3 5 6 ch m aelatangkniptamwy kartngkhrrphmiphltxchwngewlakhrungchiwit khuxinchwngthisudaehngkartngkhrrph cayawnanthung 10 ch m nxkcaknnaelw chwngewlakhrungchiwitintharkinkhrrphyngyawnankwapktixikdwy ephraawa tharkimmiexnismintbpraephth CYP1A2 aela CYP1A1 thithakaryxyslaykaefxin 3 kartidkaefxin aekikhkartidkaefxinthangkayhruxthangicsamarthekidkhunepnphlcakkarbriophkhmakekinip inkarsmphasn s oraelnd kriffiths inaephnkcitewchaelaprasathwithyasastrkhxngorngeriynkaraephthyaehngmhawithyalycxhnhxpkhins idklawwa nganwicyhlaynganidaesdngwa phuthibriophkhkaefxinxyangnxy 100 millikrmtxwn praman 1 thwy samarthekidkartidthangkay sungsamarthnaipsuxakarkhadyarwmthng khwampwdhw khwamecbpwdaelakhwamtungaennkhxngklamenux phawangwngngun lethargy khlunis xaeciyn xarmnsumesra aelakhwamhngudhngid 4 s kriffithsechuxmnwa karkhadkaefxinkhwrcacdepnorkhthangcitwithya 4 tamnganwicykhxngekha xakarkhadkaefxincaekidkhunphayin 12 24 ch m hlngcakelikbriophkh aelasamarthepnxyuidnanthung 9 wn 5 karrbkaefxinekhaiperuxy cathaihrangkaysranghnwyrbkhwamrusukkhxng adenosine ephimkhuneruxy inrabbprasathklang sungthaihekidkhwamiwtxphlkhxngsar adenosine khunodysxngdan danaerk cathaihrangkayduxtxvththikaefxin danthisxng cathaihxakarkhadkaefxinrunaerngkhun ephraarangkaycaiwtxphlkhxng adenosine ephimkhunemuxhyudkarbriophkhkaefxin karduxkaefxinsamarthecriykhunidxyangrwderwkarduxtxvththitankarngwngnxnkhxngkaefxinehnidhlngcakkarbriophkhthi 400 millikrm 3 khrngtxwntidtxkn 7 wn aelakarduxkaefxinxyangsinechingehnidhlngcakkarbriophkhthi 300 millikrm 3 khrngtxwntidtxkn 18 wn 6 7 tam Journal of Caffeine Research warsarnganwicyekiywkbkaefxin nganwicyhnungphbwamikhnmakkhunthitidkaefxin sungepnehtuihnkwicyphimphbthkhwametuxninhwkhx Caffeine Use Disorder orkhkarichkaefxin khux nganwicyni thiekhiynrwmodysastracarycitwithyakhxngmhawithyalyxemrikn American University lxra cueliyon aesdngwamikhncanwnephimkhuneruxy thimipyhaekiywkbxakarkhadkaefxin aelaimsamarthldradbkarbriophkh cdepn khwamphidpktiinkarbriophkhkaefxin thixyuinradbrunaerng s cueliyonidihkhwamaeksuxwa mikhwamekhaicphidthnginphuechiywchayaelathngbukhkhlxun wa imyakthicaelikkaefxin aetwainngansarwcprachakr phubriophkhkaefxinepnpkti inchiwitpracawn makkwa 50 epxresntaecngwa mipyhainkarelikhruxldradbkarichkaefxin phannganwicykhxngera eraidphbwa khnthiimsamarthelikhruxldradbkarichkaefxinodytnexngmikhwamsnicthicarbkarbabdcakmuxxachiph khlaykbkarbabdthibukhkhlthwipsamarthaeswnghathatxngkarthicaeliksubbuhrihruxelikichyaesn s cueliyonyngyunynxikdwywa eramkcamxngkhamphllbcakkaefxin ephraawa epn yaesphtidthisngkhmyxmrbaelamikarbriophkhxyangkwangkhwang sungidphsmphsanekhakbwthnthrrmpraephniaelachiwitpracawnkhxngeraaelwepnxyangdi 8 9 10 phlthangphvtikrrm aekikhidmikarphbwa kaefxinmivththiethakbya Modafinil inphuihyphutunxyuimidnxnkwa 54 ch m ephuxthicarksakhwamtuntwthangprachan aetwa epnyathixackxihekidkhwamwitkkngwl odyechphaaineyawchn 11 echingxrrthaelaxangxing aekikh 1 0 1 1 Fisone G Borgkovist A Usiello A 2004 Caffeine as a psychomotor stimulant Mechanism of Action Cellular and Molecular Life Sciences 61 7 8 857 872 doi 10 1007 s00018 003 3269 3 PMID 15095008 Astrid Nehlig Jean Luc Daval Gerard Debry May August 1992 Caffeine and the central nervous system mechanisms of action biochemical metabolic and psychostimulant effects Brain Research Reviews Elsevier B V 17 2 139 170 doi 10 1016 0165 0173 92 90012 B ISSN 0165 0173 Brenda Eskenazi December 22 1993 Caffeine During Pregnancy Grounds for Concern JAMA 270 24 2973 2974 doi 10 1001 jama 1993 03510240085039 4 0 4 1 Studeville George January 15 2010 Caffeine Addiction Is a Mental Disorder Doctors Say National Geographic ekb cakaehlngedimemux 2017 09 20 subkhnemux 2014 07 18 Laura M Juliano Roland R Griffiths September 21 2004 A critical review of caffeine withdrawal empirical validation of symptoms and signs incidence severity and associated features Psychopharmacology 176 1 1 29 doi 10 1007 s00213 004 2000 x eISSN 1432 2072 Prasath K Hari Sravanth P A Sudhir A Ram 2014 TEA AN ADDICTION NOR A MEDICINE A REVIEW PDF International Journal of Pharmacy 4 3 150 152 ekb PDF cakaehlngedimemux 2014 08 22 subkhnemux August 22 2014 xangxing Chou CC Lin LL Chung KT Antimicrobial activity of tea as affected by the degree of fermentation and manufacturing season Int J Food Microbiol 48 1999 125 130 Katiyar SK Mukhtar H Tea antioxidants in cancer chemoprevention J Cell Biochem 27 1997 S59 S67 Ananya Mandal February 26 2019 Caffeine Pharmacology News Medical Net Experts Warn Of Caffeine Use Disorder CBS DC January 29 2014 subkhnemux January 30 2014 Smith Brett January 29 2014 Researchers Say Caffeine Use Disorder Is A Major Health Concern Red Orbit subkhnemux January 30 2014 Do you have caffeine use disorder Health 24 January 29 2014 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2014 02 01 subkhnemux January 30 2014 Nancy Wesensten Gregory Belenky Mary A Kautz David R Thorne Rebecca M Reichardt Thomas J Balkin October 19 2001 Maintaining alertness and performance during sleep deprivation modafinil versus caffeine Psychopharmacology 159 3 238 247 doi 10 1007 s002130100916 ISSN 0033 3158 aehlngkhxmulxun aekikhDawson Hedges Colin Burchfield September 22 2005 Mind Brain and Drug An Introduction to Psychopharmacology Pearson Education Inc pp 144 146 ISBN 978 0205355563 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawaphiskaefxin amp oldid 9655605, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม