fbpx
วิกิพีเดีย

พีเอช (เคมี)

พีเอช (อังกฤษ: pH ย่อมาจาก Potential of Hydrogen ion) เป็นค่าที่แสดงความเป็นกรดเป็นเบสของสารเคมีจากปฏิกิริยาของไฮโดรเจนไอออน (H+) สามารถทดสอบได้หลายวิธี โดยวิธีที่นิยมและง่ายสุดคือทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส จากการสังเกตการเปลี่ยนสีของกระดาษ

สำหรับตัวเลขที่แสดงค่าพีเอช ถ้าพิจารณาอย่างง่ายที่อุณหภูมิห้อง ค่าเท่ากับ 7 แสดงว่าสารนั้นเป็นกลางไม่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือเบส เช่น น้ำบริสุทธิ์

ตัวอย่างค่าพีเอชของสารต่าง ๆ

 
ค่าพีเอขที่ของสารที่พบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน
สาร พีเอช
กรดสารพิษจากเหมืองร้าง
-3.6 - 1.0
กรดจากแบตเตอรี
-0.5
กรดในกระเพาะอาหาร
1.5 - 2.0
เลมอน
2.4
โค้ก
2.5
น้ำส้มสายชู
2
ส้ม หรือ แอปเปิล
3.5
เบียร์
4.5
ฝนกรด
< 5.0
กาแฟ
5.0
ชา
5.5
นม
6.5
น้ำบริสุทธิ์
7.0
น้ำลายมนุษย์
6.5 - 7.4
เลือด
7.34 - 7.45
น้ำทะเล
8.0
สบู่ล้างมือ
9.0 - 10.0
แอมโมเนีย (ยาสามัญประจำบ้าน)
11.5
น้ำยาปรับผ้านุ่ม
12.5
โซดาไฟ
13.5

ประวัติ

แนวคิดของพีเอชถูกนำเสนอโดย นักเคมีชาวเดนมาร์ก ชื่อ โซเรนเซ็น (Søren Peter Lauritz Sørensen) ที่คาลเบิรก์แลบอริทอรี่ ในปี ค.ศ. 1909 และถูกปรับปรุงเป็นการวัดค่าพีเอชแบบสมัยใหม่ในปี ค.ศ. 1924

การวัดค่าพีเอช

หลักการเบื้องต้นของการวัดค่าพีเอช จะใช้วิธีในการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของไอออนในสารละลายระหว่าง Glass Electrode เปรียบเทียบกับ Reference Electrode ซึ่งเป็นเซลล์มาตรฐานที่ทราบค่าศักย์ไฟฟ้าแล้ว

 
แสดงหลักการอย่างง่ายในการวัดค่าพีเอช

Glass Electrode ประกอบด้วยส่วนรับรู้ค่า pH Glass Membrane ซึ่งปกติจะเป็นลักษณะรูปทรงกลม, Insulating Glass Stem เมื่อ Electrode จุ่มลงสารประกอบไอออนของ ไฮโดรเจนจะมาอยู่ตามบริเวณ Membrane Surface ซึ่งจะทำให้เกิดศักย์ไฟฟ้า โดยศักย์ไฟฟ้าที่ Electrode Glass ตรวจวัดได้สามารถที่จะคำนวณค่าได้จากสมการ


 
เมื่อ
  = ผลรวมของค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ได้จากการวัด
  = ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเมื่อค่า   = 1
  = ผลรวม ไอออนของไฮโดรเจน
  = ค่าอุณหภูมิสัมบูรณ์เป็นองศาเคลวิน
  = 1.986 Calories ต่อ mol degree
  = Faraday (coulombs per mol)
  = logarithm conversion factor


พีเอชจะได้มาจากค่าลบลอการิทึมของผลรวมไอออนไฮโดรเจน


 


จากสมการด้านบน จะพบว่าไอออนที่ตรวจจับได้ที่ Membrane จะเป็นค่าที่กำหนดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ซึ่งถ้าที่ Membrane สกปรกจะทำให้พีเอชที่วัดได้มีค่าผิดพลาดตามไปด้วย

จากสมการ จะเห็นได้ว่า ศักย์ไฟฟ้าจะขึ้นกับอัตราส่วนความเข้มข้นของสารละลาย แล้วยังขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ (T) อีกด้วย ดังนั้นการวัดค่าพีเอชที่ถูกต้องจำเป็นต้องมีการปรับเทียบเครื่องวัดไปที่อุณหภูมิที่ถูกต้องหรือคือจำเป็นต้องตรวจวัดอุณหภูมิของสารละลาย เพื่อทำการปรับภายในวงจรอีกทีหนึ่ง เครื่องวัดพีเอชที่สมบูรณ์นอกจากจะมีขั้วปรับเทียบแล้วยังมีตัวตรวจวัดอุณหภูมิของสารละลายละลายติดอยู่ด้วย

Reference Electrode จะมีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่คงที่โดยไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ตัวใด จากรูปโครงสร้างของ Reference type จะประกอบด้วย Mercury (ปรอท) ซึ่งจะสัมผัสอยู่กับ Mercurous chloride (  ) และ Potassium chloride (  ) เมื่อคิดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ Reference Electrode รวมกับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าสามารถหาค่าได้ตามสมการ

 
เมื่อ
  = ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ Reference Electrode
  = ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ Liquid Junction (กาก)


Thermo Compensating Resistorจะทำหน้าที่ชดเชยอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้ผลการวัดได้ถูกต้องโดยไม่ขึ้นกับอุณหภูมิวงจรที่ใช้งานร่วมกับ Thermo Compensating Resistor จะออกแบบให้หักล้างกับค่าแรงดันไฟฟ้าที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสารละลายที่ทำการวัดโดยสมการวงจรชดเชยจะได้ดังนี้


 

แหล่งข้อมูลอื่น

  • รายละเอียด ค่าพีเอช จาก เว็บไซต์กาญจนาภิเษก

เอช, เคม, บทความน, อาจต, องเข, ยนใหม, งหมดเพ, อให, เป, นไปตามมาตรฐานค, ณภาพของว, เด, หร, อกำล, งดำเน, นการอย, ณช, วยเราได, หน, าอภ, ปรายอาจม, อเสนอแนะพ, เอช, งกฤษ, อมาจาก, potential, hydrogen, เป, นค, าท, แสดงความเป, นกรดเป, นเบสของสารเคม, จากปฏ, ยาของไฮโดรเจน. bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaenaphiexch xngkvs pH yxmacak Potential of Hydrogen ion epnkhathiaesdngkhwamepnkrdepnebskhxngsarekhmicakptikiriyakhxngihodrecnixxxn H samarththdsxbidhlaywithi odywithithiniymaelangaysudkhuxthdsxbdwykradaslitms cakkarsngektkarepliynsikhxngkradassahrbtwelkhthiaesdngkhaphiexch thaphicarnaxyangngaythixunhphumihxng khaethakb 7 aesdngwasarnnepnklangimmivththiepnkrdhruxebs echn nabrisuththi enuxha 1 twxyangkhaphiexchkhxngsartang 2 prawti 3 karwdkhaphiexch 4 aehlngkhxmulxuntwxyangkhaphiexchkhxngsartang aekikh khaphiexkhthikhxngsarthiphbidbxyinchiwitpracawn sar phiexchkrdsarphiscakehmuxngrang 3 6 1 0krdcakaebtetxri 0 5krdinkraephaaxahar 1 5 2 0elmxn 2 4okhk 2 5nasmsaychu 2sm hrux aexpepil 3 5ebiyr 4 5fnkrd lt 5 0kaaef 5 0cha 5 5nm 6 5nabrisuththi 7 0nalaymnusy 6 5 7 4eluxd 7 34 7 45nathael 8 0sbulangmux 9 0 10 0aexmomeniy yasamypracaban 11 5nayaprbphanum 12 5osdaif 13 5prawti aekikhaenwkhidkhxngphiexchthuknaesnxody nkekhmichawednmark chux osernesn Soren Peter Lauritz Sorensen thikhalebirkaelbxrithxri inpi kh s 1909 aelathukprbprungepnkarwdkhaphiexchaebbsmyihminpi kh s 1924karwdkhaphiexch aekikhhlkkarebuxngtnkhxngkarwdkhaphiexch caichwithiinkarwdkhakhwamtangskyiffakhxngixxxninsarlalayrahwang Glass Electrode epriybethiybkb Reference Electrode sungepnesllmatrthanthithrabkhaskyiffaaelw aesdnghlkkarxyangngayinkarwdkhaphiexch Glass Electrode prakxbdwyswnrbrukha pH Glass Membrane sungpkticaepnlksnarupthrngklm Insulating Glass Stem emux Electrode cumlngsarprakxbixxxnkhxng ihodrecncamaxyutambriewn Membrane Surface sungcathaihekidskyiffa odyskyiffathi Electrode Glass trwcwdidsamarththicakhanwnkhaidcaksmkar E g E g 0 2 303 R T F log 10 a displaystyle E g E g 0 frac 2 303RT F log 10 a dd dd dd dd emuxE g displaystyle E g phlrwmkhxngkhakhwamtangskyiffathiidcakkarwd E g 0 displaystyle E g 0 khakhwamtangskyiffaemuxkha a displaystyle a 1 a displaystyle a phlrwm ixxxnkhxngihodrecn T displaystyle T khaxunhphumismburnepnxngsaekhlwin R displaystyle R 1 986 Calories tx mol degree F displaystyle F Faraday coulombs per mol dd 2 303 displaystyle 2 303 logarithm conversion factor dd dd dd dd dd dd phiexchcaidmacakkhalblxkarithumkhxngphlrwmixxxnihodrecn p H l o g 10 a displaystyle pH log 10 a dd dd dd dd dd dd dd dd dd caksmkardanbn caphbwaixxxnthitrwccbidthi Membrane caepnkhathikahndkhakhwamtangskyiffathiekidkhun sungthathi Membrane skprkcathaihphiexchthiwdidmikhaphidphladtamipdwycaksmkar caehnidwa skyiffacakhunkbxtraswnkhwamekhmkhnkhxngsarlalay aelwyngkhunxyukbxunhphumi T xikdwy dngnnkarwdkhaphiexchthithuktxngcaepntxngmikarprbethiybekhruxngwdipthixunhphumithithuktxnghruxkhuxcaepntxngtrwcwdxunhphumikhxngsarlalay ephuxthakarprbphayinwngcrxikthihnung ekhruxngwdphiexchthismburnnxkcakcamikhwprbethiybaelwyngmitwtrwcwdxunhphumikhxngsarlalaylalaytidxyudwyReference Electrode camikhakhwamtangskyiffathikhngthiodyimkhunkbxupkrntwid cakrupokhrngsrangkhxng Reference type caprakxbdwy Mercury prxth sungcasmphsxyukb Mercurous chloride H G 2 C l 2 displaystyle HG 2 Cl 2 aela Potassium chloride K C l displaystyle KCl emuxkhidkhakhwamtangskyiffathi Reference Electrode rwmkbkhakhwamtangskyiffasamarthhakhaidtamsmkar E E r e f E j E g 0 2 303 R T F p H displaystyle E E ref E j E g 0 frac 2 303RT F pH dd dd dd dd emuxE r e f displaystyle E ref khwamtangskyiffathi Reference Electrode E j displaystyle E j khwamtangskyiffathi Liquid Junction kak dd dd dd dd dd dd dd Thermo Compensating Resistorcathahnathichdechyxunhphumithiepliynaeplngip ephuxihphlkarwdidthuktxngodyimkhunkbxunhphumiwngcrthiichnganrwmkb Thermo Compensating Resistor caxxkaebbihhklangkbkhaaerngdniffathiekidcakkarepliynaeplngxunhphumikhxngsarlalaythithakarwdodysmkarwngcrchdechycaiddngni E c o m p e n s a t e 2 303 R T c o m p e n s a t e F displaystyle E compensate frac 2 303RT compensate F dd dd dd dd dd dd dd aehlngkhxmulxun aekikhraylaexiyd khaphiexch cak ewbistkaycnaphiesk bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title phiexch ekhmi amp oldid 8810022, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม