fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาสิงหล

ภาษาสิงหล (สิงหล: සිංහල) เป็นภาษาของชาวสิงหล ซึ่งเป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศศรีลังกา เป็นภาษาในสาขาอินโด-อารยันของตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษามัลดีฟส์ของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 15 ล้านคน

ภาษาสิงหล
සිංහල
ออกเสียง[ˈsiŋɦələ] สิงหะละ
ภูมิภาคประเทศศรีลังกา
จำนวนผู้พูด15 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
ระบบการเขียนอักษรสิงหล (พัฒนามาจากอักษรตระกูลพราหมี)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการประเทศศรีลังกา
รหัสภาษา
ISO 639-1si
ISO 639-2sin
ISO 639-3sin

เจ้าชายวิชายาและพรรคพวกนำชาวสิงหลอพยพเข้าสู่เกาะลังกาเมื่อราว 500 ปีก่อนพุทธศักราช วรรณคดีจำนวนมากในศรีลังกาได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา และวรรณคดีอินเดีย การติดต่อกับชาวทมิฬทำให้มีศัพท์ภาษาทมิฬปนอยู่ นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษ เป็นจำนวนมากเพราะเคยถูกปกครองโดยชาติเหล่านี้ เขียนด้วยอักษรสิงหลที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี รัฐบาลศรีลังกาประกาศให้ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการเมื่อปี พ.ศ. 2499 และบังคับให้โรงเรียนทุกโรงเรียนสอนหนังสือด้วยภาษาสิงหล ทำให้ชาวทมิฬ ไม่พอใจ

ชื่อ

สิงหลเป็นคำจากภาษาสันสกฤตซึ่งภาษาในยุคกลางที่เทียบได้คือสีหละ ส่วนคำในภาษาสิงหลจริง ๆ คือเฮลา ความหมายของคำนี้คือสิงโต

ประวัติ

เชื่อกันว่าใน พ.ศ. 43 ได้มีกลุ่มคนจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียมาถึงเกาะลังกา นำโดยเจ้าชายวิชัย จากราชวงศ์มหาวังศะ กลุ่มผู้อพยพได้รวมเข้ากับกลุ่มชนเดิมที่เรียกเผ่าเฮลาหรือเผ่ายักขา เผ่านาคะ ที่พูดภาษาเอลู ทำให้เกิดชนชาติใหม่ที่เรียกสิงหล ในศตวรรษต่อมา มีผู้อพยพระลอกใหม่จากเบงกอลในอินเดียตะวันออก ซึ่งได้นำลักษณะของภาษาปรากฤตตะวันออกเข้ามารวม

ภาษาสิงหลได้พัฒนาเป็น 4 ระยะคือ ภาษาปรากฤตสิงหล (ก่อนพุทธศตวรรษที่ 8) ภาษาสิงหลดั้งเดิม (พุทธศตวรรษที่ 8-12) ภาษาสิงหลยุคกลาง (พุทธศตวรรษที่ 12 – 17) และภาษาสิงหลสมัยใหม่ (พุทธศตวรรษที่ 17 จนถึงปัจจุบัน) การพัฒนาหน่วยเสียงของภาษาสิงหลที่สำคัญ ได้แก่ การไม่มีความแตกต่างระหว่างเสียงมีลมและเสียงกัก เช่น kanavā "กิน" ตรงกับภาษาสันสกฤต khādati, ภาษาฮินดี khānā สระเสียงยาวถูกทำให้สั้น สระเสียงยาวในภาษาสมัยใหม่มักเป็นคำยืม เช่น vibāgaya "ตัวอย่าง" มาจากภาษาสันสกฤต vibhāga ทำให้กลุ่มของพยัญชนะกลายเป็นเสียงเดียวที่ง่ายขึ้น เช่น ภาษาสันสกฤต viṣṭā "เวลา" มาเป็นภาษาปรากฤตสิงหล viṭṭa และเป็นภาษาสิงหลสมัยใหม่ viṭa การเปลี่ยนเสียง /j/ เป็น /d/ เช่น däla "ตาข่าย" ตรงกับภาษาสันสกฤต jāla

ใน พ.ศ. 2499 ภาษาสิงหลได้เป็นภาษาราชการของศรีลังกาแทนที่ภาษาอังกฤษ ซึ่งกลายเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาระหว่างชนส่วนใหญ่ชาวสิงหลกับชนกลุ่มน้อยชาวทมิฬ นอกจากนั้น ยังเป็นนโยบายของพรรคศรีลังกาอิสระที่ต้องการให้วัฒนธรรมภาษาสิงหลและศาสนาพุทธเป็นจุดเด่นของสังคม

ลักษณะของภาษาปรากฤตตะวันตกและตะวันออก

ตัวอย่างของลักษณะภาษาปรากฤตตะวันตกในภาษาสิงหลคือเสียงต้นคำของ /v/ ยังคงอยู่ ซึ่งเสียงนี้จะเป็น /b/ ในสำเนียงตะวันออก เช่น ภาษาสันสกฤต viṃśati "ยี่สิบ" ภาษาสิงหล visi- ภาษาฮินดี bīs) ตัวอย่างลักษณะของภาษาปรากฤตตะวันออกคือคำนามเอกพจน์เพศชายลงท้ายด้วย –e ซึ่งในสำเนียงตะวันตกเป็น –o และมีมี่ซ้ำกัน เพราะมีที่มาจากภาษาสันสกฤตเช่นกั

อิทธิพลที่ปรากฏในภาษาสิงหล

ภาษาสิงหลมีลักษณะที่ต่างจากภาษาในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันอื่น ๆ ภาษาสิงหลมีศัพท์จำนวนมากที่พบเฉพาะในภาษาสิงหล และไม่ได้มาจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันยุคกลางหรือยุคโบราณ ตัวอย่าง เช่น Kola แปลว่าใบ Dola แปลว่าหมู และมีศัพท์ทั่วไปจำนวนมากที่พบในภาษาก่อนสิงหลในศรีลังกา ผู้เขียนไวยากรณ์ภาษาสิงหลที่เก่าที่สุดคือ สิทัตสะงครวะ ได้จัดศัพท์เหล่านี้อยู่ในหมวดหมู่ก่อนภาษาสิงหล

อิทธิพลจากภาษาเพื่อนบ้าน

ภาษาสิงหลมีคำยืมจากภาษาทมิฬจำนวนมาก และยังพบอิทธิพลของตระกูลภาษาดราวิเดียนซึ่งไม่พบในภาษากลุ่มอินโด-อารยันอื่น ๆ ได้แก่การแยกของเสียง เอะ/เอ โอะ/โอ ไม่มีเสียงมีลม เป็นต้น

อิทธิพลจากต่างชาติ

ในช่วงที่เป็นอาณานิคมภาษาสิงหลได้ยืมคำจากภาษาโปรตุเกส ภาษาดัตช์และภาษาอังกฤษเป็นจำนวนมาก

อิทธิพลต่อภาษาอื่น ๆ

ภาษามาเก๊าซึ่งเป็นภาษาลูกผสมระหว่างภาษามลายู ภาษาสิงหล ภาษาโปรตุเกสและภาษาจีนกวางตุ้งซึ่งเริ่มใช้พูดในชุมชนชาวมาเก๊าเมื่อครั้งเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส ปัจจุบันยังมีผู้ใช้ภาษานี้เล็กน้อยในมาเก๊า

การเน้นและสำเนียง

ภาษาสิงหลที่ใช้พูดทางใต้ของศรีลังกามีคำพูดมากมายที่ไม่พบในส่วนอื่นของประเทศ สำหรับผู้พูดภาษาสิงหลเป็นภาษาแม่จะถือว่าทุกสำเนียงเข้าใจกันได้ และไม่แตกต่างกันมากนัก

ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดกับภาษาเขียน

ภาษาสิงหลเป็นเช่นเดียวกับภาษาอื่นในเอเชียใต้คือภาษาที่ใช้พูดและเขียนนั้นแตกต่างกัน ภาษาเขียนจะใช้ศัพท์ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาสันสกฤตมากกว่า ส่วนภาษาพูดจะไม่ใช้กริยาในรูปกริยาสะท้อน

ระบบการเขียน

ภาษาสิงหลเขียนด้วยอักษรสิงหลที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี มีอักษรทั้งหมด 54 ตัว มีสระ 18 ตัว และพยัญชนะ 36 ตัว แต่มีอักษรเพียง 36 ตัวเท่านั้นที่จำเป็นสำหรับการเขียนภาษาสิงหลที่เป็นภาษาพูด

ไวยากรณ์

การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีคำเชื่อมที่เทียบได้กับ what หรือ whether ในภาษาอังกฤษ แต่จะใช้ในรูปวลี คำขยายอยู่หน้าคำที่ถูกขยาย ไม่มีบุพบท มีแต่ปรบทเท่านั้น ไม่มีคำที่เทียบเคียงกับ verb to be ในภาษาอังกฤษ ภาษาสิงหลเป็นภาษาที่ละประธานของประโยคได้ ในภาษาสิงหลมีหลายการก ที่ใช้โดยทั่วไปคือ การกประธาน การกกรรมตรง การกแสดงความเป็นเจ้าของ การกกรรมรอง และ ablative

คำนามที่มีชีวิตรูปพหูพจน์ลงท้ายด้วย –o พยัญชนะเสียงยาวลงท้ายด้วย-u หรือ –la คำนามที่ไม่มีชีวิตส่วนใหญ่แสดงพหูพจน์ด้วยการตัดคำลงท้ายในรูปเอกพจน์ออก คำยืมจากภาษาอังกฤษแสดงเอกพจน์ด้วยรูป ekə และไม่แสดงรูปพหูพจน์ คำนำหน้านามไม่ชี้เฉพาะคือ –ek สำหรับนามที่มีชีวิตและ –ak สำหรับนามที่ไม่มีชีวิต ใช้กับนามเอกพจน์เท่านั้น

อ้างอิง

  1. http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01way03070951&sectionid=0137&day=2008-09-07
  2. Caldwell, Robert (1875). "A comparative grammar of the Dravidian or South-Indian Family of Languages". London: Trübner & Co. Cite journal requires |journal= (help), pt. 2 p. 86.

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาสิงหล
  • Guide to Sinhala language & Culture
  • Sinhala Input Method Editor
  • Charles Henry Carter. A Sinhalese-English dictionary. Colombo: The "Ceylon Observer" Printing Works; London: Probsthain & Co., 1924.
  • Simhala Sabdakosa Karyamsaya. Sanksipta Simhala Sabdakosaya. Kolamba : Samskrtika Katayutu Pilibanda Departamentuva, 2007-2009.
  • Kapruka Sinhala dictionary
  • Madura Online English-Sinhala Dictionary and Language Translator
  • Sinhala dictionary (Beta)
  • Sinhala dictionary resources online
  • Sinhala books/novels
  • Viki - The Sinhala Encyclopedia
  • USA Foreign Service Institute (FSI) Sinhala basic course
  • Sinhala English Dictionary for Android
  • Sinhala Dictionary
  • Sinhala Script
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาสิงหล

ภาษาส, งหล, งหล, හල, เป, นภาษาของชาวส, งหล, งเป, นกล, มชนพ, นเม, องท, ใหญ, ดของประเทศศร, งกา, เป, นภาษาในสาขาอ, นโด, อารย, นของตระก, ลอ, นโด, โรเป, ยน, มพ, นธ, ใกล, ดก, บภาษาม, ลด, ฟส, ของประเทศม, ลด, ฟส, คนพ, ดเป, นภาษาแม, ประมาณ, านคนස, හලออกเส, ยง, ˈsiŋɦələ. phasasinghl singhl ස හල epnphasakhxngchawsinghl sungepnklumchnphunemuxngthiihythisudkhxngpraethssrilngka epnphasainsakhaxinod xarynkhxngtrakulxinod yuorepiyn mismphnthiklchidkbphasamldifskhxngpraethsmldifs mikhnphudepnphasaaempraman 15 lankhnphasasinghlස හලxxkesiyng ˈsiŋɦele singhalaphumiphakhpraethssrilngkacanwnphuphud15 lankhn imphbwnthi trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xarynthangitsinghl mldiewiynphasasinghlrabbkarekhiynxksrsinghl phthnamacakxksrtrakulphrahmi sthanphaphthangkarphasathangkarpraethssrilngkarhsphasaISO 639 1siISO 639 2sinISO 639 3sinecachaywichayaaelaphrrkhphwknachawsinghlxphyphekhasuekaalngkaemuxraw 500 pikxnphuththskrach wrrnkhdicanwnmakinsrilngkaidrbxiththiphlcakphuththsasna aelawrrnkhdixinediy kartidtxkbchawthmilthaihmisphthphasathmilpnxyu nxkcakniyngmikhayumcakphasadtch phasaoprtueks aelaphasaxngkvs epncanwnmakephraaekhythukpkkhrxngodychatiehlani ekhiyndwyxksrsinghlthiphthnamacakxksrphrahmi rthbalsrilngkaprakasihphasasinghlepnphasarachkaremuxpi ph s 2499 aelabngkhbihorngeriynthukorngeriynsxnhnngsuxdwyphasasinghl thaihchawthmil imphxic 1 enuxha 1 chux 2 prawti 2 1 lksnakhxngphasaprakvttawntkaelatawnxxk 3 xiththiphlthipraktinphasasinghl 3 1 xiththiphlcakphasaephuxnban 3 2 xiththiphlcaktangchati 3 3 xiththiphltxphasaxun 4 karennaelasaeniyng 5 khwamaetktangrahwangphasaphudkbphasaekhiyn 6 rabbkarekhiyn 7 iwyakrn 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunchux aekikhsinghlepnkhacakphasasnskvtsungphasainyukhklangthiethiybidkhuxsihla swnkhainphasasinghlcring khuxehla khwamhmaykhxngkhanikhuxsingot 2 prawti aekikhechuxknwain ph s 43 idmiklumkhncakthangtawnxxkechiyngehnuxkhxngxinediymathungekaalngka naodyecachaywichy cakrachwngsmhawngsa klumphuxphyphidrwmekhakbklumchnedimthieriykephaehlahruxephaykkha ephanakha thiphudphasaexlu thaihekidchnchatiihmthieriyksinghl instwrrstxma miphuxphyphralxkihmcakebngkxlinxinediytawnxxk sungidnalksnakhxngphasaprakvttawnxxkekhamarwmphasasinghlidphthnaepn 4 rayakhux phasaprakvtsinghl kxnphuththstwrrsthi 8 phasasinghldngedim phuththstwrrsthi 8 12 phasasinghlyukhklang phuththstwrrsthi 12 17 aelaphasasinghlsmyihm phuththstwrrsthi 17 cnthungpccubn karphthnahnwyesiyngkhxngphasasinghlthisakhy idaek karimmikhwamaetktangrahwangesiyngmilmaelaesiyngkk echn kanava kin trngkbphasasnskvt khadati phasahindi khana sraesiyngyawthukthaihsn sraesiyngyawinphasasmyihmmkepnkhayum echn vibagaya twxyang macakphasasnskvt vibhaga thaihklumkhxngphyychnaklayepnesiyngediywthingaykhun echn phasasnskvt viṣṭa ewla maepnphasaprakvtsinghl viṭṭa aelaepnphasasinghlsmyihm viṭa karepliynesiyng j epn d echn dala takhay trngkbphasasnskvt jalain ph s 2499 phasasinghlidepnphasarachkarkhxngsrilngkaaethnthiphasaxngkvs sungklayepncuderimtnkhxngpyharahwangchnswnihychawsinghlkbchnklumnxychawthmil nxkcaknn yngepnnoybaykhxngphrrkhsrilngkaxisrathitxngkarihwthnthrrmphasasinghlaelasasnaphuththepncudednkhxngsngkhm lksnakhxngphasaprakvttawntkaelatawnxxk aekikh twxyangkhxnglksnaphasaprakvttawntkinphasasinghlkhuxesiyngtnkhakhxng v yngkhngxyu sungesiyngnicaepn b insaeniyngtawnxxk echn phasasnskvt viṃsati yisib phasasinghl visi phasahindi bis twxyanglksnakhxngphasaprakvttawnxxkkhuxkhanamexkphcnephschaylngthaydwy e sunginsaeniyngtawntkepn o aelamimisakn ephraamithimacakphasasnskvtechnkxiththiphlthipraktinphasasinghl aekikhphasasinghlmilksnathitangcakphasainklumphasaxinod xarynxun phasasinghlmisphthcanwnmakthiphbechphaainphasasinghl aelaimidmacakphasaklumxinod xarynyukhklanghruxyukhobran twxyang echn Kola aeplwaib Dola aeplwahmu aelamisphththwipcanwnmakthiphbinphasakxnsinghlinsrilngka phuekhiyniwyakrnphasasinghlthiekathisudkhux sithtsangkhrwa idcdsphthehlanixyuinhmwdhmukxnphasasinghl xiththiphlcakphasaephuxnban aekikh phasasinghlmikhayumcakphasathmilcanwnmak aelayngphbxiththiphlkhxngtrakulphasadrawiediynsungimphbinphasaklumxinod xarynxun idaekkaraeykkhxngesiyng exa ex oxa ox immiesiyngmilm epntn xiththiphlcaktangchati aekikh inchwngthiepnxananikhmphasasinghlidyumkhacakphasaoprtueks phasadtchaelaphasaxngkvsepncanwnmak xiththiphltxphasaxun aekikh phasamaekasungepnphasalukphsmrahwangphasamlayu phasasinghl phasaoprtueksaelaphasacinkwangtungsungerimichphudinchumchnchawmaekaemuxkhrngepnxananikhmkhxngoprtueks pccubnyngmiphuichphasanielknxyinmaekakarennaelasaeniyng aekikhphasasinghlthiichphudthangitkhxngsrilngkamikhaphudmakmaythiimphbinswnxunkhxngpraeths sahrbphuphudphasasinghlepnphasaaemcathuxwathuksaeniyngekhaicknid aelaimaetktangknmaknkkhwamaetktangrahwangphasaphudkbphasaekhiyn aekikhphasasinghlepnechnediywkbphasaxuninexechiyitkhuxphasathiichphudaelaekhiynnnaetktangkn phasaekhiyncaichsphththimiphunthanmacakphasasnskvtmakkwa swnphasaphudcaimichkriyainrupkriyasathxnrabbkarekhiyn aekikhphasasinghlekhiyndwyxksrsinghlthiphthnamacakxksrphrahmi mixksrthnghmd 54 tw misra 18 tw aelaphyychna 36 tw aetmixksrephiyng 36 twethannthicaepnsahrbkarekhiynphasasinghlthiepnphasaphudiwyakrn aekikhkareriyngpraoykhepnaebbprathan krrm kriya immikhaechuxmthiethiybidkb what hrux whether inphasaxngkvs aetcaichinrupwli khakhyayxyuhnakhathithukkhyay immibuphbth miaetprbthethann immikhathiethiybekhiyngkb verb to be inphasaxngkvs phasasinghlepnphasathilaprathankhxngpraoykhid inphasasinghlmihlaykark thiichodythwipkhux karkprathan karkkrrmtrng karkaesdngkhwamepnecakhxng karkkrrmrxng aela ablativekhanamthimichiwitrupphhuphcnlngthaydwy o phyychnaesiyngyawlngthaydwy u hrux la khanamthiimmichiwitswnihyaesdngphhuphcndwykartdkhalngthayinrupexkphcnxxk khayumcakphasaxngkvsaesdngexkphcndwyrup eke aelaimaesdngrupphhuphcn khanahnanamimchiechphaakhux ek sahrbnamthimichiwitaela ak sahrbnamthiimmichiwit ichkbnamexkphcnethannxangxing aekikh http www matichon co th matichon view news php newsid 01way03070951 amp sectionid 0137 amp day 2008 09 07 Caldwell Robert 1875 A comparative grammar of the Dravidian or South Indian Family of Languages London Trubner amp Co Cite journal requires journal help pt 2 p 86 aehlngkhxmulxun aekikh wikiphiediy saranukrmesri inphasasinghl wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa Sinhala Guide to Sinhala language amp Culture Sinhala Input Method Editor Charles Henry Carter A Sinhalese English dictionary Colombo The Ceylon Observer Printing Works London Probsthain amp Co 1924 Simhala Sabdakosa Karyamsaya Sanksipta Simhala Sabdakosaya Kolamba Samskrtika Katayutu Pilibanda Departamentuva 2007 2009 Kapruka Sinhala dictionary Madura Online English Sinhala Dictionary and Language Translator Sinhala dictionary Beta Sinhala dictionary resources online Sinhala books novels Viki The Sinhala Encyclopedia USA Foreign Service Institute FSI Sinhala basic course Sinhala English Dictionary for Android Sinhala Dictionary Sinhala Script wikiphiediy saranukrmesri inphasasinghlekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasasinghl amp oldid 8903738, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม