fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาออสซีเชีย

ภาษาออสซีเชีย (Ossetic/Ossetian/Ossete language) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านใช้พูดในแถบออสซีเชียแถบเทือกเขาคอเคซัส โดยนอร์ทออสซีเชียอยู่ในรัสเซีย ส่วนเซาท์ออสซีเชียอยู่ในจอร์เจีย มีผู้พูดภาษานี้ราว 500,000 คน ภาษานี้มี 35 หน่วยเสียง เป็นพยัญชนะ 26 เสียง สระเดี่ยว 7 เสียง สระประสม 2 เสียง เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ในช่วง พ.ศ. 2481–2493 ในเซาท์ออสซีเชียเขียนภาษานี้ด้วยอักษรจอร์เจีย

ภาษาออสซีเชีย
Ирон ӕвзаг, Iron ævzag
ประเทศที่มีการพูดรัสเซีย จอร์เจีย และตุรกี
ภูมิภาคนอร์ทออสซีเชียและเซาท์ออสซีเชีย
จำนวนผู้พูด700,000 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการนอร์ทออสซีเชียและเซาท์ออสซีเชีย
รหัสภาษา
ISO 639-1os
ISO 639-2oss
ISO 639-3oss
หนังสือภาษาออสซีเชียตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2478 ใช้อักษรละติน
กลุ่มชาติพันธ์แบ่งตามภาษาในเทือกเขาคอเคซัส

ประวัติและการจัดจำแนก

ภาษาออสซีเชียเป็นภาษาพูดและภาษาเขียนของชาวออสซีเตส ซึ่งอยู่ทางตอนกลางของเทือกเขาคอเคซัสและเป็นชนกลุ่มใหญ่ในสาธารณรัฐออสเซเตียเหนือ-อลาเนีย ซึ่งอยู่ในสหพันธรัฐรัสเซียและออสซีเชียใต้ซึ่งเป็นรัฐอิสระโดยพฤตินัยในสาธารณรัฐจอร์เจีย ภาษาออสซีเชียอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน กลุ่มอิหร่านตะวันออก กลุ่มย่อยอิหร่านตะวันออกตอนเหนือ จึงมีความใกล้เคียงกับภาษาปาทาน และภาษายักโนบี

ในยุคคลาสสิก ภาษาในกลุ่มภาษาอิหร่านได้แพร่กระจายในบริเวณที่ปัจจุบันคือประเทศอิหร่าน เอเชียกลาง ยุโรปตะวันออก และเทือกเขาคอเคซัส ภาษาออสเซเตียเป็นภาษาเดียวที่อยู่รอดโดยสืบทอดมาจากภาษาไซเทียซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่าน สาขาตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาษาออสเซเตียจัดเป็นภาษาในกลุ่มภาษาอิหร่านเช่นเดียวกับภาษาเคิร์ด ภาษาตาตี และภาษาตาลิช ที่มีผู้พูดจำนวนหนึ่งในเทือกเขาคอเคซัส เป็นภาษาที่สืบทอดมาจากภาษาอลานิกซึ่งเป็นภาษาของชาวอะลานที่เป็นเผ่าในยุคกลางที่สืบทอดมาจากชาวซาร์มาเทียน และเชื่อว่าเป็นลูกหลานภาษาเดียวที่เหลืออยู่ของภาษาซาร์มาเทียน ภาษาที่มีความใกล้เคียงกันมากที่สุดคือภาษายักโนบีในทาจิกิสถาน ซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ของกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือ ภาษาออสซีเชียมีปัจจัยแสดงพหูพจน์ –ta ซึ่งเหมือนกับในภาษายักโนบี ภาษาซาร์มาเทียน และภาษาซอกเดีย

ระบบการเขียน

ระบบการเขียนภาษาออสเซเตียเขียนด้วยอักษรซีริลลิกแต่ต่างจากภาษาอื่นที่มีอักษร Ӕ ӕ บิดาของภาษาออสเซเตียสมัยใหม่คือ กอสตา เซตากูรอฟ ซึ่งเป็นกวี ในรัสเซียเขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในจอร์เจียเขียนด้วยอักษรจอร์เจีย หนังสือภาษาออสเซเตียฉบับแรกตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2341 และใน พ.ศ. 2387 ได้มีการปรับการใช้อักษรโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย Andreas Sjögren มีการนำอักษรละตินมาใช้ในราว พ.ศ. 2463 แต่ต่อมาใน พ.ศ. 2480 ได้นำอักษรซีริลลิกแบบใหม่มาใช้ ส่วนการเขียนด้วยอักษรจอร์เจียนั้น ได้เพิ่มตัวอักษร 3 ตัวเข้าไปใน พ.ศ. 2363 การใช้อักษรซีริลลิกในออสเซเตียใต้เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2480 ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรจอร์เจียอีกใน พ.ศ. 2497 เคยมีการนำอักษรอาหรับมาใช้ใน พ.ศ. 2482 แต่ก็เป็นในระยะเวลาสั้นๆ

การใช้ภาษา

หนังสือที่พิมพ์ในภาษาออสเซเตียเล่มแรกพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2341 หนังสือพิมพ์ฉบับแรก Iron Gazet ตีพิมพ์ฉบับแรกเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2449 ในวลาดิกาฟกัส การแปลไบเบิลเป็นภาษาออสเซเตียสำเร็จเมื่อ พ.ศ. 2553 ภาษาออสเซเตียเป็นภาษาราชการทั้งในออสเซเตียเหนือและออสเซเตียใต้คู่กับภาษารัสเซีย แต่การใช้อย่างเป็นทางการถูกจำกัด มีหนังสือพิมพ์รายวัน 2 ฉบับในออสเซเตียคือ Ræstdzinad (Рæстдзинад, "ความจริง") ในออสเซเตียเหนือและXurzærin (Хурзæрин, "ดวงอาทิตย์") ในออสเซเตียใต้ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นใช้ภาษาออสเซเตียในบางบทความ มีวารสารรายเดือน Max dug (Мах дуг, "ยุคของเรา") ที่ตีพิมพ์กวีนิพนธ์และนิยายในภาษาออสเซเตียเป็นครั้งคราว ภาษาออสเซเตียมีสอนในโรงเรียนมัธยม ผู้พูดเป็นภาษาแม่จะเรียนวรรณคดีออสเซเตีย

อ้างอิง

  • Abaev, V.I. A grammatical sketch of Ossetic (Russian version)
  • Abaev, V.I. Ossetian Language and Folklore, USSR Academy of Sciences, Moscow-Leningrad, 1949
  • Arys-Djanaieva, Lora. Parlons Ossète. Paris: L'Harmattan, 2004, ISBN 2-7475-6235-2.
  • Nasidze et al., Genetic Evidence Concerning the Origins of South and North Ossetians. Annals of Human Genetics 68 (6), 588–599(2004)

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาออสซีเชีย
  • Web portan on documentation and grammatical studies of Ossetic (อังกฤษ)
    • Ossetic National Corpus(อังกฤษ)
  • Genetic Evidence Concerning the Origins of South and North Ossetians 2012-01-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Ossetic language page at the Minority languages of Russia on the Net project (รัสเซีย)
  • History of the Ossetian writing system and a comprehensive table of characters (รัสเซีย)
  • Ossetic language materials in English and partly French
  • Laboratory of Field Linguistics: Ossetic (studies on Ossetic grammar, modern spoken texts in Ossetic) (อังกฤษ)
  • Omniglot – Ossetian (Ирон æвзаг / Дигорон æвзаг)
  • Ossetic (Iron and Digor) basic lexicon at the Global Lexicostatistical Database
  • Russian-Ossetic On-Line Dictionary

ภาษาออสซ, เช, ossetic, ossetian, ossete, language, เป, นภาษากล, มอ, หร, านใช, ดในแถบออสซ, เช, ยแถบเท, อกเขาคอเคซ, โดยนอร, ทออสซ, เช, ยอย, ในร, สเซ, วนเซาท, ออสซ, เช, ยอย, ในจอร, เจ, ดภาษาน, ราว, คน, ภาษาน, หน, วยเส, ยง, เป, นพย, ญชนะ, เส, ยง, สระเด, ยว, เส, ยง. phasaxxssiechiy Ossetic Ossetian Ossete language epnphasaklumxihranichphudinaethbxxssiechiyaethbethuxkekhakhxekhss odynxrthxxssiechiyxyuinrsesiy swnesathxxssiechiyxyuincxreciy miphuphudphasaniraw 500 000 khn phasanimi 35 hnwyesiyng epnphyychna 26 esiyng sraediyw 7 esiyng sraprasm 2 esiyng ekhiyndwyxksrsirillik inchwng ph s 2481 2493 inesathxxssiechiyekhiynphasanidwyxksrcxreciyphasaxxssiechiyIron ӕ vzag Iron aevzagpraethsthimikarphudrsesiy cxreciy aelaturkiphumiphakhnxrthxxssiechiyaelaesathxxssiechiycanwnphuphud700 000 khn imphbwnthi trakulphasaxinod yuorepiyn phasaklumxinod xiereniynphasaklumxihranphasaklumxihrantawnxxkphasaklumxihrantawnxxkechiyngehnuxphasaxxssiechiysthanphaphthangkarphasathangkarnxrthxxssiechiyaelaesathxxssiechiyrhsphasaISO 639 1osISO 639 2ossISO 639 3osshnngsuxphasaxxssiechiytiphimphemux ph s 2478 ichxksrlatin klumchatiphnthaebngtamphasainethuxkekhakhxekhss enuxha 1 prawtiaelakarcdcaaenk 2 rabbkarekhiyn 3 karichphasa 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunprawtiaelakarcdcaaenk aekikhphasaxxssiechiyepnphasaphudaelaphasaekhiynkhxngchawxxssiets sungxyuthangtxnklangkhxngethuxkekhakhxekhssaelaepnchnklumihyinsatharnrthxxsesetiyehnux xlaeniy sungxyuinshphnthrthrsesiyaelaxxssiechiyitsungepnrthxisraodyphvtinyinsatharnrthcxreciy phasaxxssiechiyxyuintrakulphasaxinod yuorepiyn klumxihrantawnxxk klumyxyxihrantawnxxktxnehnux cungmikhwamiklekhiyngkbphasapathan aelaphasaykonbiinyukhkhlassik phasainklumphasaxihranidaephrkracayinbriewnthipccubnkhuxpraethsxihran exechiyklang yuorptawnxxk aelaethuxkekhakhxekhss phasaxxsesetiyepnphasaediywthixyurxdodysubthxdmacakphasaisethiysungxyuinklumphasaxihran sakhatawnxxkechiyngehnuxphasaxxsesetiycdepnphasainklumphasaxihranechnediywkbphasaekhird phasatati aelaphasatalich thimiphuphudcanwnhnunginethuxkekhakhxekhss epnphasathisubthxdmacakphasaxlaniksungepnphasakhxngchawxalanthiepnephainyukhklangthisubthxdmacakchawsarmaethiyn aelaechuxwaepnlukhlanphasaediywthiehluxxyukhxngphasasarmaethiyn phasathimikhwamiklekhiyngknmakthisudkhuxphasaykonbiinthacikisthan sungepnphasaediywthiehluxxyukhxngklumphasaxihrantawnxxkechiyngehnux phasaxxssiechiymipccyaesdngphhuphcn ta sungehmuxnkbinphasaykonbi phasasarmaethiyn aelaphasasxkediyrabbkarekhiyn aekikhrabbkarekhiynphasaxxsesetiyekhiyndwyxksrsirillikaettangcakphasaxunthimixksr Ӕ ӕ bidakhxngphasaxxsesetiysmyihmkhux kxsta estakurxf sungepnkwi inrsesiyekhiyndwyxksrsirillik aetincxreciyekhiyndwyxksrcxreciy hnngsuxphasaxxsesetiychbbaerktiphimphemux ph s 2341 aelain ph s 2387 idmikarprbkarichxksrodynkwithyasastrchawrsesiy Andreas Sjogren mikarnaxksrlatinmaichinraw ph s 2463 aettxmain ph s 2480 idnaxksrsirillikaebbihmmaich swnkarekhiyndwyxksrcxreciynn idephimtwxksr 3 twekhaipin ph s 2363 karichxksrsirillikinxxsesetiyitekidkhunemux ph s 2480 kxncaepliynmaichxksrcxreciyxikin ph s 2497 ekhymikarnaxksrxahrbmaichin ph s 2482 aetkepninrayaewlasnkarichphasa aekikhhnngsuxthiphimphinphasaxxsesetiyelmaerkphimphemux ph s 2341 hnngsuxphimphchbbaerk Iron Gazet tiphimphchbbaerkemux 23 krkdakhm ph s 2449 inwladikafks karaeplibebilepnphasaxxsesetiysaercemux ph s 2553 phasaxxsesetiyepnphasarachkarthnginxxsesetiyehnuxaelaxxsesetiyitkhukbphasarsesiy aetkarichxyangepnthangkarthukcakd mihnngsuxphimphraywn 2 chbbinxxsesetiykhux Raestdzinad Raestdzinad khwamcring inxxsesetiyehnuxaelaXurzaerin Hurzaerin dwngxathity inxxsesetiyit hnngsuxphimphthxngthinichphasaxxsesetiyinbangbthkhwam miwarsarrayeduxn Max dug Mah dug yukhkhxngera thitiphimphkwiniphnthaelaniyayinphasaxxsesetiyepnkhrngkhraw phasaxxsesetiymisxninorngeriynmthym phuphudepnphasaaemcaeriynwrrnkhdixxsesetiyxangxing aekikhAbaev V I A grammatical sketch of Ossetic Russian version Abaev V I Ossetian Language and Folklore USSR Academy of Sciences Moscow Leningrad 1949 Arys Djanaieva Lora Parlons Ossete Paris L Harmattan 2004 ISBN 2 7475 6235 2 Nasidze et al Genetic Evidence Concerning the Origins of South and North Ossetians Annals of Human Genetics 68 6 588 599 2004 aehlngkhxmulxun aekikh wikiphiediy saranukrmesri inphasaxxssiechiy Web portan on documentation and grammatical studies of Ossetic xngkvs Ossetic National Corpus xngkvs Genetic Evidence Concerning the Origins of South and North Ossetians Archived 2012 01 12 thi ewyaebkaemchchin Ossetic language page at the Minority languages of Russia on the Net project rsesiy History of the Ossetian writing system and a comprehensive table of characters rsesiy Ossetic language materials in English and partly French Laboratory of Field Linguistics Ossetic studies on Ossetic grammar modern spoken texts in Ossetic xngkvs Omniglot Ossetian Iron aevzag Digoron aevzag Ossetic Iron and Digor basic lexicon at the Global Lexicostatistical Database Russian Ossetic On Line Dictionary ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaxxssiechiy amp oldid 9577790, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม