fbpx
วิกิพีเดีย

สภาพนำยวดยิ่ง

สภาพนำยวดยิ่ง (อังกฤษ: superconductivity) เป็นปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่เกิดขึ้นกับวัสดุบางชนิด ณ อุณหภูมิที่ต่ำมาก จะมีความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์ และไม่มีสนามแม่เหล็กภายในวัสดุนั้น และเรียกสารที่มีสมบัติเช่นนี้ว่าตัวนำยวดยิ่ง (superconductor)

แม่เหล็กกำลังลอยตัวอยู่เหนือตัวนำยิ่งยวดอุณหภูมิสูง
แม่เหล็กกำลังลอยตัวอยู่เหนือตัวนำยิ่งยวดอุณหภูมิสูง Y123

ความต้านทานไฟฟ้าในตัวนำไฟฟ้าที่เป็นโลหะนั้นจะลดลงเมื่ออุณหภูมิลดต่ำลง อย่างไรก็ตาม ตัวนำทั่วไปอย่างเช่น ทองแดงและเงินที่ไม่บริสุทธิ์หรือมีตำหนิอื่น ๆ จะมีขีดจำกัดในการลดอุณหภูมิลง ถึงแม้อุณหภูมิจะเข้าใกล้ศูนย์สัมบูรณ์ แต่ทองแดงก็ไม่สามารถมีความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์ได้ ในทางตรงกันข้าม ความต้านทานของตัวนำยวดยิ่งนั้นจะแสดงสภาพความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์ได้โดยไม่ต้องลดอุณหภูมิให้ถึงศูนย์สัมบูรณ์ เพียงแค่ลดอุณหภูมิให้ถึงค่า ๆ หนึ่งที่เรียกว่า"อุณหภูมิวิกฤต" (Critical Temperature) ความต้านทานไฟฟ้าจะมีค่าเป็นศูนย์อย่างทันที่ทันใด กระแสไฟฟ้าจะไหลในวงจรที่มีสายไฟที่มีสภาพตัวนำยวดยิ่งอย่างไม่จำกัดโดยไม่มีการสูญเสียกำลังเลยแม้แต่น้อย

ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจหนึ่งของตัวนำยวดยิ่ง คือ ปรากฏการณ์ทางแม่เหล็ก ที่เรียก ว่า ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ โดยถ้านำก้อนของตัวนำยวดยิ่งในสถานะปกติไปวางใน สนามแม่เหล็กอ่อน ๆ และให้อุณหภูมิมากกว่าอุณหภูมิวิกฤต จะไม่มีปรากฏการณ์พิเศษอะไรเกิดขึ้น แต่ถ้านำก้อนของตัวนำยวดยิ่งในสภาพนำยวดยิ่งไปวางในสนามแม่เหล็กอ่อน ๆ และให้อุณหภูมิน้อยกว่าอุณหภูมิวิกฤตตัวนำ จะประพฤติตัวเป็นแม่เหล็กไดอาที่สมบูรณ์ จะทำให้มีสนามแม่เหล็กภายในตัวนำจะเท่ากับศูนย์ และเส้นแรงแม่เหล็กจะถูกผลักออกจากตัวนำ

สภาพนำยวดยิ่งเป็นปรากฏการณ์ทางกลศาสตร์ควอนตัมเช่นเดียวกับ ferromagnetism และ atomic spectral lines ซึ่งก็ไม่ได้หมายความว่าตัวนำยวดยิ่งจะมีสภาพนำไฟฟ้าที่สมบูรณ์แบบตามแบบฉบับของฟิสิกส์ยุคเก่า ทั้งนี้ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมนี้สามารถใช้ทฤษฎีบีซีเอส อธิบายได้ สภาพนำยวดยิ่งเกิดขึ้นกับสสารหลายชนิด รวมไปถึงธาตุที่หาง่ายอย่างดีบุกและอะลูมิเนียมหรือวัสดุมีค่าอย่างอัลลอยและสารกึ่งตัวนำที่ถูกโดปอย่างหนักบางชนิดอีกด้วย สภาพนำยวดยิ่งจะไม่เกิดขึ้นในโลหะมีค่าอย่างทองคำหรือเงินหรือสารแม่เหล็กส่วนใหญ่ ในปัจจุบันตัวนำยวดยิ่งสามารถแบ่งได้ตามสมบัติแม่เหล็กได้เป็น 2 ชนิดคือ ตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 1 และตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 2

ในปี 1986 มีการค้นพบตระกูลวัสดุเซรามิค cuprate-perovskite ที่รู้จักกันดีในชื่อของ ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง (High temperature superconductor) โดยมีอุณหภูมิวิกฤตประมาณ 90 เคลวิน อย่างไรก็ตามอุณหภูมินี้ก็สูงเพียงพอที่จะนำมาใช้งานโดยหล่อเย็นด้วยไนโตรเจนเหลว (77 เคลวิน) ที่มีราคาไม่แพงมากนัก ทำให้สารชนิดนี้เป็นที่น่าสนใจและนำมาสู่การวิจัยค้นคว้าสภาพนำยวดยิ่งกันอย่างแพร่หลาย สารชนิดนี้เป็นปรากฏการณ์ใหม่ที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีที่มีอยู่ในปัจจุบัน

สมบัติ

สมบัติของตัวนำยวดยิ่ง มีหลายประการ เช่น ความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์ ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ ปรากฏการณ์ไอโซโทป ความไม่ต่อเนื่องของฟลักซ์แม่เหล็ก การกระโดดของค่า ความร้อนจำเพาะ ปรากฏการโจเซฟซัน ช่องว่างพลังงาน พีคโคเฮียเรนซ์

ตัวนำยวดยิ่งแบบต่าง ๆ มีหลายประเภท ได้มีการแบ่งประเภทตามเงื่อนไขต่างกันทำให้ได้ชื่อเรียกต่าง ๆ กันเช่นเดียวกัน มีการนำเสนอการแบ่งประเภทไว้ อาทิ การแบ่งประเภทตามทฤษฏี และการแบ่งประเภทตามชนิดของสารประกอบ เป็นต้น

เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำยวดยิ่ง ตัวนำยวดยิ่งก็จะยังคงอยู่ในสภาพนำยวดยิ่งได้ และความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมีค่าต่ำกว่าค่า ๆ หนึ่ง และเมื่อความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านมีค่าสูงกว่าค่านี้แล้ว วัสดุจะกลายสภาพเป็นตัวนำปกติทันที จึงเรียกความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าค่านี้ว่า "ความหนาแน่นกระแสวิกฤต" (Critical current density, Jc) ซึ่งปริมาณนี้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ กล่าวคือ ความหนาแน่นกระแสวิกฤตจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง

การแบ่งประเภทตามสารประกอบ

การแบ่งประเภทตัวนำยวดยิ่งตามสารประกอบเป็นการแบ่งประเภทของตัวนำยวดยิ่งโดยคำนึงถึงสารประกอบที่ทำให้เกิดตัวนำยวดยิ่ง ดังนั้น การแบ่งประเภทแบบนี้ส่วนใหญ่จะเป็นการแบ่งประเภทโดยพิจารณาข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แต่มีบางส่วนที่ผลการคำนวณตามทฤษฎีสามารถอธิบายการทดลองได้ดี การเรียกชื่อจึงคำนึงถึงข้อมูลทางทฤษฎีมากกว่าการทดลอง ซึ่งการแบ่งประเภทของตัวนำยวดยิ่งตามชนิดของสารประกอบมีดังนี้

1. ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม (Conventional superconductors)

ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม (Conventional superconductors)เป็นตัวนำยวดยิ่งที่สามารถใช้ทฤษฎีบีซีเอส อธิบายได้ ตัวนำยวดยิ่งตัวแรกที่ค้นพบคือปรอทมีอุณหภูมิวิกฤต 4.15 เคลวิน ถูกค้นพบในปี 1911 โดยตัวนำยวดยิ่งในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นธาตุและสารประกอบเช่น Al มีอุณหภูมิวิกฤต 1.19 เคลวิน, Nb มีอุณหภูมิวิกฤต 9.2 เคลวิน และสารประกอบเช่น CuS มีอุณหภูมิวิกฤต 1.6 เคลวิน โดยสารประกอบที่มีอุณหภูมิวิกฤตสูงสุดคือ Nb3Ge คือมีอุณหภูมิวิกฤต 23.2 เคลวิน

2. ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง

นักวิทยาศาสตร์ได้ใช้ความพยายามในการสังเคราะห์ตัวนำยวดยิ่งให้มีอุณหภูมิวิกฤตสูงขึ้นโดยใช้เวลาถึง 75 ปี จึงจะสามารถค้นพบตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงได้ครั้งแรกในปี 1986 โดยเบทนอร์ซและมูลเลอร์ (1986) ในสารประกอบ Ba-La-Cu-O ซึ่งต่อมามีการค้นพบในสารประกอบ Y-Ba-Cu-O และสารประกอบอีกหลายกลุ่มโดยมีองค์ประกอบสำคัญคือระนสปของคอปเปอร์ออกไซด์และมีลัษณะเด่นอีกอย่างคือตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้จะมีอุณหภูมิวิกฤตที่สูงมากกว่า 35 เคลวิน ซึ่งเกินขอบเขตของตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมตามทฤษฎีบีซีเอส ดังนั้นตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้จึงถูกเรียกว่า ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง และเนื่องจากมีคอปเปอร์ออกไซด์เป็นองค์ประกอบหลักที่สำคัญของสภาพนำยวดยิ่ง ดังนั้นในบางครั้งจึงถูกเรียกว่า ตัวนำยวดยิ่งแบบคิวเพร์ท ปัจจุบันตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงเป็นที่สนใจของนกวิจัยทั่วโลกเนื่องจากมีสมบัติที่สามารถนำมาใช้งานได้ง่ายกว่าตัวนำยวดยิ่งชนิดอื่น ๆ

3. ตัวนำยวดยิ่งที่เป็นแม่เหล็ก (Magnetic superconductors)

เนื่องจากแม่เหล็กภายนอกมีผลทำลายสภาพนำยวดยิ่งได้ แต่ในตัวนำยวดยิ่งบางประเภท คือ พวกตัวนำยวดยิ่งที่มีสารเจือประเภทแม่เหล็ก จะมีผลทำให้เกิดสภาพความเป็นแม่เหล็กขึ้นในโครงสร้าง ทำให้อุณหภูมิวิกฤตมีค่าลดลง นอกจากนี้ยังทำให้เกิดตัวนำยวดยิ่งที่เรียกว่าตัวนำยวดยิ่งแบบ Gapless โดยอบริกอซอฟและกอร์คอฟ ได้พิจารณาผลของการแลกเปลี่ยนสปิน (Spin-exchange) ของสารเจือประเภทแม่เหล็กที่ไม่เข้มข้น พบว่ามีผลทำให้อุณหภูมิวิกฤต (Critical Temperature, Tc) ลดลง โดยความเข้มข้นของสารเจือประเภทแม่เหล็กจะมีค่าหนึ่งที่ทำให้ Tc ลดลงจนกลายเป็นศูนย์ และความเข้มข้นอีกค่าหนึ่งทำให้ช่องว่างพลังงานมีค่าเป็นศูนย์ด้วย

การค้นพบตัวนำยวดยิ่งในกลุ่มธาตุหายาก (Rare-earth, RE) เช่น สารประกอบ REMo6X8 (X=S หรือ Se) และ XRh4B4 (X=Y,TH หรือ RE)

ในปี ค.ศ. 1975-1977 ได้มีการศึกษาผลของการอยู่รวมกันของสภาพนำยวดยิ่งกับสภาพความเป็นแม่เหล็ก โดยในสารประกอบ HoMo6X8 จะมี Tc2 ≈ 1.8 เคลวิน แต่ที่ Tc2 = 0.7 เคลวิน ซึ่งสารจะกลับเป็นสภาพปกติ และมี Tm เป็นจุดเปลี่ยนของสภาพนำยวดยิ่งกับสภาพแม่เหล็ก และในสารประกอบ REMo6X8 จะมี Tc2 ≈ Tm จากการทดลองในกรณีสารประกอบ ErRh4B4 และ HoMo6X8 พบว่าที่อุณหภูมิต่ำกว่า Tc2 จะมีสภาพนำยวดยิ่งอยู่รวมกับสภาพแม่เหล็กเฟอร์โร (ferromagnetism) และในสารประกอบ ErMo6S8 และ SmRh4B4 จะพบการอยู่รวมกันของสภาพนำยวดยิ่งกับสภาพแม่เหล็กแอนติเฟอร์โร (antiferromagnetism)

4. โลหะอิเล็กตรอนหนัก (Heavy-Electron Metal)

สามารถพบได้ในสารประกอบ UBe13 (Tc = 0.85 เคลวิน) CeCu2Si2 (Tc = 0.65 เคลวิน) และ UPt3 (Tc = 0.54เคลวิน) โดยมีสมบัติคือ ความจุความร้อนที่อุณหภูมิต่ำจะมีค่ามากกว่าของดลหะปกติถึง 2 ถึง 3 เท่า โดยเกิดจากอิเล็กตรอนชั้นเอฟ (f-electron) ความจุความร้อนจำเพาะของอิเล็กตรอนที่สถานะปกติ (Cen) จะมี Cen แปรผันตรงตาม N (Ef) และแปรผันตรงตาม m^*^3/2 เมื่อ N (E) คือ ความหนาแน่นสถานะที่ผิวเฟอร์มิ และ m^* คือ มวลยังผล เนื่องจากสารเหล่านี้มีค่า Cen มาก ดังนั้น m^* ของสารเหล่านี้จึงมีค่ามากด้วย ทำให้ถูกเรียกว่า " อิเล็กตรอนหนัก " ในสาร NbBeB U2Sn17 และ UCd11 นอกจากเป็นอิเล็กตรอนหนักแล้ว ยังพบสมบัติการเป็นแม่เหล็กด้วย

มีการค้นพบพวกตัวนำยวดยิ่งอิเล็กตรอนหนัก ไม่เป็นสปินแบบซิงเลต ไม่ขึ้นกับทิศทาง ไม่เป็นตัวนำยวดยิ่งแบบคลื่นเอส และอธิบายด้วยทฤษฎีบีซีเอส ไม่ได้ โดยพบว่ากลไกการเกิดสภาพนำยวดยิ่ง อาจจะไม่เกิดจากอันตรกิริยาอิเล็กตรอนกับโฟนอน ในบางครั้งตัวนำยวดยิ่งประเภทนี้อาจถูกเรียกว่า ตัวนำยวดยิ่งกลุ่มเฟอร์มิออนหนัก

5. ตัวนำยวดยิ่งแบบออกไซด์

สารประกอบตัวแรกที่มีการค้นพบคือ SrTiO3-x ในปี 1965 โดยมีอุณหภูมิวิกฤตค่อนข้างต่ำและในปี 1986 คือ Ba(Pb1-xB1x)O3 ที่มี Tc = 13 เคลวิน ที่ x = 0.25 จากการทดลองในปี 1988 พบว่าสารประกอบออกไซด์กลุ่มนี้ที่มีอุณหภูมิวิกฤตสูงที่สุดคือ (K0.4Ba0.6)BiO3 มี Tc ≈ 30 เคลวิน ซึ่งมีโครงสร้างแบบเฟอร์รอฟสไกป์เช่นเดียวกับตัวนำยวดยิ่งแบบคิวเพร์ท แต่มีอุณหภูมิวิกฤตที่ต่ำกว่ามากเรียกตัวนำยวดยิ่งนี้ว่า ตัวนำยวดยิ่งออกไซด์แบบเดิม

ตัวนำยวดยิ่งที่ค้นพบล่าสุดคือตัวนำยวดยิ่งที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบซึ่งมีเหล็กออกไซด์เป็นองค์ประกอบหลัก เช่น LaFePO และ LaFeAsO ที่มีการเจือฟลูออรีนแสดงสมบัติการเป็นตัวนำยวดยิ่งที่อุณภูมิ 4 เคลวิน และ 26 เคลวิน ตามลำดับ โดยมีค่าสนามแม่เหล็กวิกฤตที่สองและกระแสไฟฟ้าวิกฤตที่สูงมากทำให้เป็นตัวนำยวดยิ่งที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในปัจจุบัน

สมบัติเชิงความร้อน

ในสภาวะนำยวดยิ่งเมื่อทำการทดลองวัดค่าเอนโทรปี (entropy) จะพบว่ามีค่าลดลงอย่างเห็นได้ชัด การลดลงของเอนโทรปีเมื่อเปรียบเทียบระหว่างสภาวะปกติกับสภาวะนำยวดยิ่งทำให้ทราบว่า สภาวะนำยวดยิ่งมีความเป็นระเบียบของอิเล็กตรอนมากกว่าในสภาวะปกติ โดยในโลหะทั่วไป ความจุความร้อน (Cv ) มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิตามสมการ

C v = γT + AT3

เมื่อ γT คือ เทอมที่เกิดมาจากความไม่สมบูรณ์ของผลึก

AT 3 คือ เทอมที่เกิดมาจากการสั่นของแลตทิซ (Lattice vibration) หรือมีโฟนอน (Phonon)
V c คือ ความจุความร้อนที่ปริมาตรคงตัว

เมื่อ γ และ A เป็นค่าคงตัวที่ขึ้นกับชนิดของสสาร

สำหรับกรณีตัวนำยวดยิ่งตามทฤษฏีบีซีเอส จะมีความจุความร้อนเป็น
C sαe-(Δkb T)
เมื่อ Δ คือ ช่องว่างพลังงาน และ kB คือ ค่าคงตัวของโบลต์ซมันน์
หรือเขียนได้เป็น
C s / αTc = ae-b(Tc/T)

เมื่อ a,b,α คือ ค่าคงตัวที่ไม่ขึ้นกับอุณหภูมิ

C sคือ ความจุความร้อนของตัวนำยวดยิ่ง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Kittel C. (1991). Introduction to Solid state Physics. 6 ed. John Wiley & Sons.
  2. Burns, 1992

สภาพนำยวดย, งกฤษ, superconductivity, เป, นปรากฏการณ, ทางฟ, กส, เก, ดข, นก, บว, สด, บางชน, ณหภ, ำมาก, จะม, ความต, านทานไฟฟ, าเป, นศ, นย, และไม, สนามแม, เหล, กภายในว, สด, และเร, ยกสารท, สมบ, เช, นน, าต, วนำยวดย, superconductor, แม, เหล, กกำล, งลอยต, วอย, เหน, อต. sphaphnaywdying xngkvs superconductivity epnpraktkarnthangfisiksthiekidkhunkbwsdubangchnid n xunhphumithitamak camikhwamtanthaniffaepnsuny aelaimmisnamaemehlkphayinwsdunn aelaeriyksarthimismbtiechnniwatwnaywdying superconductor aemehlkkalnglxytwxyuehnuxtwnayingywdxunhphumisung aemehlkkalnglxytwxyuehnuxtwnayingywdxunhphumisung Y123 bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khwamtanthaniffaintwnaiffathiepnolhanncaldlngemuxxunhphumildtalng xyangirktam twnathwipxyangechn thxngaedngaelaenginthiimbrisuththihruxmitahnixun camikhidcakdinkarldxunhphumilng thungaemxunhphumicaekhaiklsunysmburn aetthxngaedngkimsamarthmikhwamtanthaniffaepnsunyid inthangtrngknkham khwamtanthankhxngtwnaywdyingnncaaesdngsphaphkhwamtanthaniffaepnsunyidodyimtxngldxunhphumiihthungsunysmburn ephiyngaekhldxunhphumiihthungkha hnungthieriykwa xunhphumiwikvt Critical Temperature khwamtanthaniffacamikhaepnsunyxyangthnthithnid kraaesiffacaihlinwngcrthimisayifthimisphaphtwnaywdyingxyangimcakdodyimmikarsuyesiykalngelyaemaetnxypraktkarnthinasnichnungkhxngtwnaywdying khux praktkarnthangaemehlk thieriyk wa praktkarnimsenxr odythanakxnkhxngtwnaywdyinginsthanapktiipwangin snamaemehlkxxn aelaihxunhphumimakkwaxunhphumiwikvt caimmipraktkarnphiessxairekidkhun aetthanakxnkhxngtwnaywdyinginsphaphnaywdyingipwanginsnamaemehlkxxn aelaihxunhphuminxykwaxunhphumiwikvttwna capraphvtitwepnaemehlkidxathismburn cathaihmisnamaemehlkphayintwnacaethakbsuny aelaesnaerngaemehlkcathukphlkxxkcaktwnasphaphnaywdyingepnpraktkarnthangklsastrkhwxntmechnediywkb ferromagnetism aela atomic spectral lines sungkimidhmaykhwamwatwnaywdyingcamisphaphnaiffathismburnaebbtamaebbchbbkhxngfisiksyukheka thngnitwnaywdyingaebbdngedimnisamarthichthvsdibisiexs xthibayid sphaphnaywdyingekidkhunkbssarhlaychnid rwmipthungthatuthihangayxyangdibukaelaxalumieniymhruxwsdumikhaxyangxllxyaelasarkungtwnathithukodpxyanghnkbangchnidxikdwy sphaphnaywdyingcaimekidkhuninolhamikhaxyangthxngkhahruxenginhruxsaraemehlkswnihy inpccubntwnaywdyingsamarthaebngidtamsmbtiaemehlkidepn 2 chnidkhux twnaywdyingchnidthi 1 aelatwnaywdyingchnidthi 2 1 inpi 1986 mikarkhnphbtrakulwsduesramikh cuprate perovskite thiruckkndiinchuxkhxng twnaywdyingxunhphumisung High temperature superconductor odymixunhphumiwikvtpraman 90 ekhlwin xyangirktamxunhphuminiksungephiyngphxthicanamaichnganodyhlxeyndwyinotrecnehlw 77 ekhlwin thimirakhaimaephngmaknk thaihsarchnidniepnthinasnicaelanamasukarwicykhnkhwasphaphnaywdyingknxyangaephrhlay sarchnidniepnpraktkarnihmthiimsamarthxthibayiddwythvsdithimixyuinpccubn enuxha 1 smbti 2 karaebngpraephthtamsarprakxb 3 smbtiechingkhwamrxn 4 duephim 5 xangxingsmbti aekikhsmbtikhxngtwnaywdying mihlayprakar echn khwamtanthaniffaepnsuny praktkarnimsenxr praktkarnixosothp khwamimtxenuxngkhxngflksaemehlk karkraoddkhxngkha khwamrxncaephaa praktkarocesfsn chxngwangphlngngan phikhokhehiyernstwnaywdyingaebbtang mihlaypraephth idmikaraebngpraephthtamenguxnikhtangknthaihidchuxeriyktang knechnediywkn mikarnaesnxkaraebngpraephthiw xathi karaebngpraephthtamthvsti aelakaraebngpraephthtamchnidkhxngsarprakxb epntnemuxmikraaesiffaihlphantwnaywdying twnaywdyingkcayngkhngxyuinsphaphnaywdyingid aelakhwamhnaaennkraaesiffaihlphanmikhatakwakha hnung aelaemuxkhwamhnaaennkraaesiffathiihlphanmikhasungkwakhaniaelw wsducaklaysphaphepntwnapktithnthi cungeriykkhwamhnaaennkraaesiffakhaniwa khwamhnaaennkraaeswikvt Critical current density Jc sungprimannikhunxyukbxunhphumi klawkhux khwamhnaaennkraaeswikvtcamikhaephimkhunemuxxunhphumildlngkaraebngpraephthtamsarprakxb aekikhkaraebngpraephthtwnaywdyingtamsarprakxbepnkaraebngpraephthkhxngtwnaywdyingodykhanungthungsarprakxbthithaihekidtwnaywdying dngnn karaebngpraephthaebbniswnihycaepnkaraebngpraephthodyphicarnakhxmulthiidcakkarthdlxng aetmibangswnthiphlkarkhanwntamthvsdisamarthxthibaykarthdlxngiddi kareriykchuxcungkhanungthungkhxmulthangthvsdimakkwakarthdlxng sungkaraebngpraephthkhxngtwnaywdyingtamchnidkhxngsarprakxbmidngni 2 1 twnaywdyingaebbdngedim Conventional superconductors twnaywdyingaebbdngedim Conventional superconductors epntwnaywdyingthisamarthichthvsdibisiexs xthibayid twnaywdyingtwaerkthikhnphbkhuxprxthmixunhphumiwikvt 4 15 ekhlwin thukkhnphbinpi 1911 odytwnaywdyinginklumniswnihyepnthatuaelasarprakxbechn Al mixunhphumiwikvt 1 19 ekhlwin Nb mixunhphumiwikvt 9 2 ekhlwin aelasarprakxbechn CuS mixunhphumiwikvt 1 6 ekhlwin odysarprakxbthimixunhphumiwikvtsungsudkhux Nb3Ge khuxmixunhphumiwikvt 23 2 ekhlwin2 twnaywdyingxunhphumisungnkwithyasastridichkhwamphyayaminkarsngekhraahtwnaywdyingihmixunhphumiwikvtsungkhunodyichewlathung 75 pi cungcasamarthkhnphbtwnaywdyingxunhphumisungidkhrngaerkinpi 1986 odyebthnxrsaelamulelxr 1986 insarprakxb Ba La Cu O sungtxmamikarkhnphbinsarprakxb Y Ba Cu O aelasarprakxbxikhlayklumodymixngkhprakxbsakhykhuxranspkhxngkhxpepxrxxkisdaelamilsnaednxikxyangkhuxtwnaywdyingchnidnicamixunhphumiwikvtthisungmakkwa 35 ekhlwin sungekinkhxbekhtkhxngtwnaywdyingaebbdngedimtamthvsdibisiexs dngnntwnaywdyingchnidnicungthukeriykwa twnaywdyingxunhphumisung aelaenuxngcakmikhxpepxrxxkisdepnxngkhprakxbhlkthisakhykhxngsphaphnaywdying dngnninbangkhrngcungthukeriykwa twnaywdyingaebbkhiwephrth pccubntwnaywdyingxunhphumisungepnthisnickhxngnkwicythwolkenuxngcakmismbtithisamarthnamaichnganidngaykwatwnaywdyingchnidxun 3 twnaywdyingthiepnaemehlk Magnetic superconductors enuxngcakaemehlkphaynxkmiphlthalaysphaphnaywdyingid aetintwnaywdyingbangpraephth khux phwktwnaywdyingthimisarecuxpraephthaemehlk camiphlthaihekidsphaphkhwamepnaemehlkkhuninokhrngsrang thaihxunhphumiwikvtmikhaldlng nxkcakniyngthaihekidtwnaywdyingthieriykwatwnaywdyingaebb Gapless odyxbrikxsxfaelakxrkhxf idphicarnaphlkhxngkaraelkepliynspin Spin exchange khxngsarecuxpraephthaemehlkthiimekhmkhn phbwamiphlthaihxunhphumiwikvt Critical Temperature Tc ldlng odykhwamekhmkhnkhxngsarecuxpraephthaemehlkcamikhahnungthithaih Tc ldlngcnklayepnsuny aelakhwamekhmkhnxikkhahnungthaihchxngwangphlngnganmikhaepnsunydwykarkhnphbtwnaywdyinginklumthatuhayak Rare earth RE echn sarprakxb REMo6X8 X S hrux Se aela XRh4B4 X Y TH hrux RE inpi kh s 1975 1977 idmikarsuksaphlkhxngkarxyurwmknkhxngsphaphnaywdyingkbsphaphkhwamepnaemehlk odyinsarprakxb HoMo6X8 cami Tc2 1 8 ekhlwin aetthi Tc2 0 7 ekhlwin sungsarcaklbepnsphaphpkti aelami Tm epncudepliynkhxngsphaphnaywdyingkbsphaphaemehlk aelainsarprakxb REMo6X8 cami Tc2 Tm cakkarthdlxnginkrnisarprakxb ErRh4B4 aela HoMo6X8 phbwathixunhphumitakwa Tc2 camisphaphnaywdyingxyurwmkbsphaphaemehlkefxror ferromagnetism aelainsarprakxb ErMo6S8 aela SmRh4B4 caphbkarxyurwmknkhxngsphaphnaywdyingkbsphaphaemehlkaexntiefxror antiferromagnetism 4 olhaxielktrxnhnk Heavy Electron Metal samarthphbidinsarprakxb UBe13 Tc 0 85 ekhlwin CeCu2Si2 Tc 0 65 ekhlwin aela UPt3 Tc 0 54ekhlwin odymismbtikhux khwamcukhwamrxnthixunhphumitacamikhamakkwakhxngdlhapktithung 2 thung 3 etha odyekidcakxielktrxnchnexf f electron khwamcukhwamrxncaephaakhxngxielktrxnthisthanapkti Cen cami Cen aeprphntrngtam N Ef aelaaeprphntrngtam m 3 2 emux N E khux khwamhnaaennsthanathiphiwefxrmi aela m khux mwlyngphl enuxngcaksarehlanimikha Cen mak dngnn m khxngsarehlanicungmikhamakdwy thaihthukeriykwa xielktrxnhnk insar NbBeB U2Sn17 aela UCd11 nxkcakepnxielktrxnhnkaelw yngphbsmbtikarepnaemehlkdwymikarkhnphbphwktwnaywdyingxielktrxnhnk imepnspinaebbsingelt imkhunkbthisthang imepntwnaywdyingaebbkhlunexs aelaxthibaydwythvsdibisiexs imid odyphbwaklikkarekidsphaphnaywdying xaccaimekidcakxntrkiriyaxielktrxnkbofnxn inbangkhrngtwnaywdyingpraephthnixacthukeriykwa twnaywdyingklumefxrmixxnhnk5 twnaywdyingaebbxxkisdsarprakxbtwaerkthimikarkhnphbkhux SrTiO3 x inpi 1965 odymixunhphumiwikvtkhxnkhangtaaelainpi 1986 khux Ba Pb1 xB1x O3 thimi Tc 13 ekhlwin thi x 0 25 cakkarthdlxnginpi 1988 phbwasarprakxbxxkisdklumnithimixunhphumiwikvtsungthisudkhux K0 4Ba0 6 BiO3 mi Tc 30 ekhlwin sungmiokhrngsrangaebbefxrrxfsikpechnediywkbtwnaywdyingaebbkhiwephrth aetmixunhphumiwikvtthitakwamakeriyktwnaywdyingniwa twnaywdyingxxkisdaebbedimtwnaywdyingthikhnphblasudkhuxtwnaywdyingthimiehlkepnxngkhprakxbsungmiehlkxxkisdepnxngkhprakxbhlk echn LaFePO aela LaFeAsO thimikarecuxfluxxrinaesdngsmbtikarepntwnaywdyingthixunphumi 4 ekhlwin aela 26 ekhlwin tamladb odymikhasnamaemehlkwikvtthisxngaelakraaesiffawikvtthisungmakthaihepntwnaywdyingthiidrbkhwamsnicepnxyangmakinpccubnsmbtiechingkhwamrxn aekikhinsphawanaywdyingemuxthakarthdlxngwdkhaexnothrpi entropy caphbwamikhaldlngxyangehnidchd karldlngkhxngexnothrpiemuxepriybethiybrahwangsphawapktikbsphawanaywdyingthaihthrabwa sphawanaywdyingmikhwamepnraebiybkhxngxielktrxnmakkwainsphawapkti odyinolhathwip khwamcukhwamrxn Cv mikhwamsmphnthkbxunhphumitamsmkar C v gT AT3 dd emux gT khux ethxmthiekidmacakkhwamimsmburnkhxngphluk AT 3 khux ethxmthiekidmacakkarsnkhxngaeltthis Lattice vibration hruxmiofnxn Phonon V c khux khwamcukhwamrxnthiprimatrkhngtwemux g aela A epnkhakhngtwthikhunkbchnidkhxngssar sahrbkrnitwnaywdyingtamthvstibisiexs camikhwamcukhwamrxnepnC sae Dkb T dd emux D khux chxngwangphlngngan aela kB khux khakhngtwkhxngobltsmnn hruxekhiynidepnC s aTc ae b Tc T dd dd emux a b a khux khakhngtwthiimkhunkbxunhphumi C skhux khwamcukhwamrxnkhxngtwnaywdyingduephim aekikhAndreev reflection Charge transfer complex Color superconductivity in quarks Composite Reaction Texturing Conventional superconductor Covalent superconductors Flux pumping High temperature superconductivity Homes s law Iron based superconductor Kondo effect List of superconductors Little Parks effect Magnetic levitation Macroscopic quantum phenomena Magnetic sail National Superconducting Cyclotron Laboratory Oxypnictide Persistent current Proximity effect Room temperature superconductor Rutherford cable Spallation Neutron Source Superconducting RF Superconductor classification Superfluid film Superstripes Technological applications of superconductivity Timeline of low temperature technology Type I superconductor Type II superconductor Unconventional superconductor BCS theory Bean s critical state modelxangxing aekikh Kittel C 1991 Introduction to Solid state Physics 6 ed John Wiley amp Sons Burns 1992 bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title sphaphnaywdying amp oldid 7526044, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม