fbpx
วิกิพีเดีย

ไทยวน

ระวังสับสนกับ ชาวญวน

ยวน, โยน, โยนก, ไทยวน, ไตยวน หรือ คนเมือง (คำเมือง: ᨤᩫ᩠ᨶᨾᩮᩬᩥᨦ) เป็นประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาขร้า-ไทกลุ่มหนึ่ง ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักร ปัจจุบันชาวไทยวนเป็นพลเมืองหลักในภาคเหนือของประเทศไทย มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่าง ๆ เข้ามายังเมืองของตน

ไทยวน
ᨤᩫ᩠ᨶᨾᩮᩬᩥᨦ
การรำของชาวยวนในจังหวัดเชียงใหม่
ประชากรทั้งหมด
6 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ประเทศไทย, ประเทศลาว (ห้วยทราย, เมืองต้นผึ้ง), ประเทศพม่า (ท่าขี้เหล็ก, เมียวดี)
ภาษา
คำเมือง (มักพูดสองภาษากับภาษาไทยกลาง)
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือพุทธเถรวาท ส่วนน้อยนับถือศาสนาคริสต์
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวไท

ประวัติ

ตามตำนานสิงหนวัติกล่าวว่า สิงหนวัติกุมารได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ (เข้าใจว่าอยู่ในมณฑลยูนนาน) มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสนราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ว่า โยนกนคร เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า ยวน ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง "โยนก" นั่นเอง จากนั้นก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อย ๆ จนถึงสมัย อาณาจักรล้านนา ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองแห่งหงสาวดีได้นำทัพมาตี อาณาจักรล้านนา ทำให้พม่าปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี

ใน พ.ศ. 2347 ซึ่งขณะนั้นเชียงแสนตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงเทพหริรักษ์และพระยายมราช พร้อมด้วยกองทัพลาว ยกทัพไปตีเมืองเชียงแสน เมื่อตีเมืองเชียงแสนได้แล้วจึงให้รื้อกำแพงเมือง รื้อบ้านเมือง และรวบรวมผู้คนชาวเชียงแสนโดยแบ่งเป็น 5 ส่วน ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่เชียงใหม่ ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่ที่ลำปาง ส่วนหนึ่งอยู่ที่น่าน ส่วนหนึ่งอยู่ที่เวียงจันทน์ และอีกส่วนหนึ่งให้เดินทางมายังภาคกลางโดยให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราชบุรีและสระบุรี

ที่มาของชื่อ

ชื่อที่ชาวไทยภาคกลางใช้เรียก

ชาวไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียกชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฏหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า yavana แปลว่าคนแปลกถิ่นหรือคนต่างถิ่น

ชื่อที่คนต่างชาติใช้เรียก

ชาวอังกฤษ

เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองพม่ามองว่าชาวยวนเป็นพวกเดียวกับชาวชาน (ไทใหญ่) โดยเรียกพวกนี้ว่า "ชานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐชานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ชานพม่า" (Burmese Shan) แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของชาวไทใหญ่หลาย ๆ กลุ่ม

ชาวจีน

หลักฐานจีนเรียกล้านนาว่า ปาไป่สีฟู่กั๋ว แปลว่า "อาณาจักรสนมแปดร้อย" เป็นชื่อที่ราชวงศ์หยวนใช้เรียกอาณาจักรล้านนา ที่มาของชื่อมีอธิบายในพงศาวดารราชวงศ์หยวนฉบับใหม่ กล่าวไว้ว่า "อันปาไปสีฟู่ [สนมแปดร้อย] นั้น ชื่อภาษาอี๋ว่าจิ่งไม่ [เชียงใหม่] เล่าลือกันว่าผู้เป็นประมุขมีชายาถึงแปดร้อย แต่ละคนเป็นผู้นำค่ายหนึ่ง จึงได้นามตามนี้…"

ชาวพม่า

“ไตยวน” “ไตยน” “โยน” เป็นคำเรียกจากกลุ่มชาวพม่า

ชาวลาว

ชาวลาวเรียกชาวไทยภาคเหนือว่า “ยน” หรือ “ยวน”

อื่นๆ

จากตำนานชินกาลมาลีปกรณ์และสังคีตวงศ์ได้ระบุชื่อถึงว่าล้านนามีศูนย์กลางที่เชียงใหม่ชื่อ “พิงครัฐ” และมีคำว่า โยนรัฐและโยนประเทศ ที่หมายถึงแคว้นโยนก แต่ชาวล้านนาในสมัยดังกล่าวจะนิยามตนเองหลากหลายชื่อ เช่น ไตหรือไท ไทโยน ไทยวน

ในงานเรื่อง ชนชาติไท ซึ่งตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกันซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429–2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "ชาวยวน" มิใช่ “ชาวลาว” ดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ

ศิลปะและวัฒนธรรม

ไทยวนมีภาษา ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเชื่ออันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ในสังคมของชาวไทยวนมีความคิดในเรื่องผีผสมศาสนาพุทธ โดยเฉพาะผีปู่ย่า (ผีบรรพบุรุษ) จะมีบทบาทในการควบคุมพฤติกรรมของลูกหลานไทยวนให้ประพฤติตนถูกต้องตามจารีตประเพณีและกรอบที่ดีงามของสังคม อีกทั้งมีความเชื่อเรื่อง ขึด คือข้อห้ามหรือข้อควรปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดสิ่งไม่ดีขึ้นกับตัวเองและครอบครัว

ภาษา

ดูบทความหลักที่: ภาษาไทยถิ่นเหนือ

ภาษาเขียนและภาษาพูดของไทยวนมีรูปแบบเป็นของตนเอง ซึ่งในปัจจุบันก็ยังพบเป็นการใช้ภาษาเขียนในพระธรรมคัมภีร์ศาสนาพุทธ และปั๊บสา ใบลาน ทั้งนี้ภาษาเขียนของไทยวน (หรือเรียกว่า "อักษรล้านนา" และ "อักษรธรรม") ยังใช้ในกลุ่มชาวไทลื้อที่เชียงรุ่งและชาวไทเขินที่เชียงตุง ด้วย เนื่องจากในอดีตชาวล้านนาได้นำศาสนาพุทธเข้าไปเผยแพร่ยังสองดินแดนนี้

คำเมืองหรือภาษาไทยวนยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัดเชียงราย, พะเยา, ลำปาง, อุตรดิตถ์, แพร่ และน่าน) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)

คำเมืองหรือภาษาไทยวนมีไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยกลาง แต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับอักษรธรรมล้านนาซึ่งเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอญเป็นต้นแบบ

อักษร

 
อักษรธรรมล้านนา

ดูบทความหลักได้ที่: อักษรธรรมล้านนา

อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อ ในประเทศจีน และภาษาไทเขิน ในประเทศพม่า นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน

ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหกวรรณยุกต์ ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก่า

พยัญชนะ

อักษรธรรมล้านนาจัดตามกลุ่มพยัญชนะวรรคตามพยัญชนะภาษาบาลี แบ่งออกเป็น 5 วรรค วรรคละ 5 ตัว เรียกว่า“พยัญชนะวรรค”หรือ“พยัญชนะในวรรค”อีก 8 ตัวไม่จัดอยู่ในวรรคเรียกว่า“พยัญชนะอวรรค”หรือ“พยัญชนะนอกวรรค”หรือ“พยัญชนะเศษวรรค”ส่วนการอ่านออกเสียงเรียกพยัญชนะทั้งหมดนั้น จะเรียกว่า“ตั๋ว”เช่น ตั๋ว กะ/ก/ ตั๋ว ขะ/ข/ ตั๋ว จะ/จ/ เป็นต้น

สระ

  • สระจม

เป็นสระที่ไม่สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเอง ต้องนำไปผสมกับพยัญชนะก่อนจึงจะสามารถออกเสียงได้เลย

  • สระลอย

เป็นสระที่มาจากภาษาบาลี สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเองไม่จำเป็นต้องนำไปผสมกับพยัญชนะก่อน แต่บางครั้งก็มีการนำไปผสมกับพยัญชนะหรือสระแท้ เช่น คำว่า "เอา" สามารถเขียนได้โดยเขียนสระจากภาษาบาลี 'อู' ตามด้วย สระแท้ 'า' คือ ᩐᩣ

วรรณยุกต์

เนื่องจากล้านนาได้นำเอาระบบอักขรวิธีของมอญมาใช้โดยแทบจะไม่มีการปรับเปลี่ยนเลย และภาษามอญเองก็เป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ดังนั้นในอดีตจึงไม่ปรากฏว่ามีการใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ในการเขียนอักษรธรรมล้านนาเลย (เคยมีการถกเถียงกันเรื่องชื่อของล้านนาว่าจริงๆแล้วชื่อ "ล้านนา" หรือ "ลานนา" กันแน่ แต่ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่า "ล้านนา") จนกระทั่งในระยะหลังเมื่ออิทธิพลของสยามแผ่เข้าไปในล้านนาจึงปรากฏการใช้รูปวรรณยุกต์ในการเขียนอักษรธรรมล้านนา

การแต่งกาย

การแต่งกายของบุรุษไทยวนในอดีตนิยม กางเกงชาวเลหรือกางเกงแบบชาวไทใหญ่ ที่เรียกว่า " เตี่ยวสะดอ" แจ็คเก็ตสไตล์แบบจีนสีขาวและบางครั้ง มักจะมีผ้าโพกหัว นอกจากนั้นบุรุษไทยวนมักนิยมสักขาถึงเอวเรียกว่า สับหมึก และใส่ผ้าต้อย มีการนุ่งแบบสั้นกับแบบยาวเรียกว่า โจงกระเบน แบบสั้นเรียกว่า เค็ดหม้าม หรือ เก๊นหม้าม นิยมนุ่งตามกาลเทศะ ส่วนในโอกาสทางการผู้คนอาจเลือกสวมใส่ชุดประจำชาติไทยหรือชุดไทยพระราชนิยม

การแต่งกายของสตรีไทยวนในอดีตนิยม นุ่งผ้าซิ่นตะเข็บเดียวลายขวางลำตัว ซึ่งประกอบด้วย หัวซิ่น และตีนซิ่น นิยมใช้ผ้าสีอ่อน คล้องคอ ใช้ผ้าแถบคาดอก ปล่อยชายข้าวหนึ่งลงมา หรือห่มเฉวียงไหล่ ต่อมานิยมสวมเสื้อแขนกระบอก เสื้อแขนกุด เสื้อคอกระเช้า เสื้อแบบกี่เพ้าประยุกต์ เสื้อไทใหญ่ ห่มสไบเฉียง ไว้ผมยาวเกล้ามวย ปักปิ่นและประดับด้วยดอกไม้หอม

การแต่งกายในราชสำนัก

การแต่งกายของสตรีไทยวนในราชสำนักได้ รูปแบบมาจากสยามประเทศ เนื่องด้วยยุคสมัยที่สยามประเทศได้มีอิทธิพลต่อล้านนาไทยมากขึ้น การแต่งกาย จึงมีการปรับเปลี่ยน และผสมผสานวัฒนธรรม ดังเช่นสมัยของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี มีการสวมเสื้อที่ตัดจากผ้าลูกไม้ ที่เรียกกันติดปากว่า “เสื้อแขนหมูแฮม” ชาวสยามนิยมที่จะนุ่งผ้าโจง หรือโจงกระเบน แต่พระราชชายาโปรดที่จะนุ่งผ้าซิ่น ตามแบบฉบับของล้านนาประเทศ ซิ่นที่พระราช ชายาเจ้าดารารัศมี ได้ทรงคิดค้นและประยุกต์ขึ้นและพระองค์พร้อมทั้งพระประยูร ญาติได้สวมใส่เมื่อครั้นพำนักอยู่ในสยามประเทศนั้นคือ “ซิ่นลุนตยาต่อตีนจก” ซึ่งเป็นการผสมผสานผ้าทอของราชสำนักมัณฑะเลย์ กับผ้าจกพื้นเมืองเหนือ เข้าด้วยกัน ทรงผมที่พระองค์ใช้ในสมัยนั้น เรียกกันว่า ทรงอี่ปุ่นหรือญี่ปุ่น

 
เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

การแต่งกายของบุรุษไทยวนในราชสำนัก นิยมเสื้อที่ตัดเย็บตามแบบของสยามประเทศ คอเสื้อตั้งผ่าอก มีกระดุมทองเรียงกัน ๕ เม็ด หรือที่ชาวสยามเรียกว่า “เสื้อราชประแตน” นิยมตัดด้วยผ้าไหม หรือผ้าอื่น ๆ ตามชั้นยศ นิยมนุ่งโจงกระเบนตามแบบฉบับของกรุงสยาม แต่ผ้าที่นำมานุ่งนั้น นิยมนุ่งด้วยผ้าไหมพื้นเมือง หรือผ้าหางกระรอก พร้อมทั้งคาดเอวด้วยผ้าแพรนอก และทับด้วยเข็มขัดทองตามฐานะของผู้สวมใส่ จึงนับเป็นยุคสมัยที่ไทยวนในดินแดนล้านนา มีการเปลี่ยนแปลงและผสมผสานวัฒนธรรมกับสยามประเทศเป็นอย่างมาก

ศิลปะ

ดูบทความหลักที่: ศิลปะล้านนา
 
วัดร่องขุ่น

ศิลปะล้านนาหรือศิลปะเชียงแสน หมายถึง ศิลปะในเขตภาคเหนือหรือดินแดนล้านนาของประเทศไทยในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 19–24 คาดว่ามีการสืบทอดต่อเนื่องจากศิลปะทวารวดีและศิลปะลพบุรีมาตั้งแต่สมัยหริภุญชัย ศูนย์กลางของศิลปะล้านนาเดิมอยู่ที่เชียงแสน (เรียกว่าอาณาจักรโยนก) ต่อมาเมื่อพญามังรายได้ย้ายมาสร้างเมืองเชียงใหม่ ศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนาจึงอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ งานศิลปะล้านนามีความเกี่ยวเนื่องกับศาสนาพุทธโดยเฉพาะนิกายเถรวาท

อาหาร

 
แกงฮังเล

อาหารส่วนใหญ่รสชาติไม่จัด ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหาร ความหวานจะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้น ๆ เช่น ผัก ปลา และนิยมใช้ถั่วเน่าในการปรุงอาหาร ชาวยวนมีน้ำพริกรับประทานหลายชนิด เช่น น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง ผักที่ใช้จิ้มส่วนมากเป็นผักนึ่ง ส่วนอาหารที่รู้จักกันดีได้แก่ ขนมจีนน้ำเงี้ยว ที่มีเครื่องปรุงสำคัญคือดอกงิ้วซึ่งเป็นดอกนุ่มที่ตากแห้ง ถือเป็นเครื่องเทศพื้นบ้านที่มีกลิ่นหอม; ตำขนุน และแกงขนุน ที่มีส่วนผสมเป็นผักชนิดอื่น เช่น ใบชะพลู ชะอม มะเขือเทศ นอกจากนี้ยังมีอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากชนชาติอื่นด้วย เช่น แกงฮังเล ได้รับอิทธิพลมาจากชาวพม่า; ข้าวซอย ได้รับอิทธิพลมาจากชาวจีน

นาฏศิลป์

ดูบทความหลักได้ที่: นาฏศิลป์ล้านนา

นาฏศิลป์การแสดงพื้นบ้านและราชสำนักของไทยวน นั้นมีการผสมผสานอิทธิพลทางนาฏศิลป์จากคนหลายกลุ่มชาติพันธุ์เข้าไว้ด้วยกันไม่ว่าจะเป็นนาฏศิลป์ ไทยภาคกลาง ไทลื้อ ไทเขิน ไทใหญ่ จีน พม่า ลาว และชาวไทยภูเขาอย่าง ลีซอ เข้ามาปรับท่าฟ้อนรำให้เข้ากับความเป็นชาวพื้นเมืองของไทยวนได้อย่างลงตัว มีความอ่อนช้อย นุ่มนวล และงดงาม เพลงบรรเลงมีความไพเราะ อ่อนหวาน ซึ่งนั่นเป็นเสน่ห์ของนาฏศิลป์การแสดงพื้นบ้านและราชสำนักของไทยวนหรือไทยภาคเหนือมาแต่โบราณ

นาฏศิลป์ของไทยวนหรือชาวไทยภาคเหนือ เช่น ฟ้อนเมือง(ฟ้อนเล็บ ฟ้อนก๋ายลาย)ฟ้อนเทียน ฟ้อนจ้อง ฟ้อนวี ฟ้อนขันดอก ฟ้อนดาบ ฟ้อนเชิง(ฟ้อนเจิง)ตีกลองสะบัดไชย ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนน้อยไจยา ฟ้อนหริภุญชัย ฟ้อนล่องน่าน ฟ้อนแง้น เป็นต้น

 
ฟ้อนเล็บ
 
ฟ้อนเจิง

การฟ้อนแบบคุ้มหลวง เป็นการฟ้อนที่เกิดขึ้นในคุ้มของพระราชชายา เจ้าดารารัศมี ซึ่งมีลักษณะการฟ้อนของภาคกลางผสมอยู่ เช่น ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฟ้อนน้อยใจยา เป็นต้น

 
ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา การฟ้อนที่ได้รับอิทธิพลพม่า

ดนตรี

ดูบทความหลักได้ที่: นาฏศิลป์ล้านนา

ดนตรีของไทยวน มีทั้งการบรรเลงเพลงเดี่ยวและรวมวง รวมถึงการขับร้องโดยไม่ใช้ดนตรีประกอบ เมื่อฟังดนตรีของภาคเหนือจะรู้สึกถึงความนุ่มนวล อ่อนหวาน สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมและชีวิตความเป็นอยู่ของไทยวนหรือชาวเหนือที่มีชีวิตเรียบง่าย อยู่กับธรรมชาติ เครื่องดนตรีที่ใช้ ได้แก่ สะล้อ ซอ ซึงและกลองแอว เป็นต้น

เครื่องดนตรี

  1. ซึง
  2. สะล้อ
  3. กลองเต่งถิ้ง
  4. ขลุ่ย
  5. ปี่จุม
  6. กลองสะบัดชัย
  7. กลองตึ่งโนง
  8. ปี่แน
  9. ตะหลดปด (มะหลดปด)
  10. กลองปู่จา (กลองบูชา หรือ ปู่จา)
  11. วงกลองปูเจ่ (กลองปูเจ)
  12. วงปี่ป๊าดก้อง (วงปี่พาทย์ล้านนา)
  13. พิณเปี๊ยะ

ประเภทดนตรี

  • เพลงจ๊อย

ไทยวนมีภาษาพูดใกล้เคียงกับไทลื้อและไทเขิน จึงมีดนตรีหรือการละเล่นที่คล้ายคลึงกัน มีการร้องเพลง เรียกว่า “จ๊อย” เป็นการพูดที่เป็นทำนอง สื่อสารเพื่อความบันเทิงแก่ผู้ฟัง เป็นค่าวกลอนของภาคเหนือ ไม่มีเครื่องดนตรีประกอบ ไม่มีเวที สะดวกตรงไหนยืนร้องตรงนั้น เนื้อหาในการจ๊อยเกี่ยวกับนิทานชาดก คำสอน ประวัติ หรือการเกี้ยวพาราสี อาจจะเป็นจ๊อยคนเดียว หรือจ๊อยโต้ตอบกันก็ได้

  • เพลงซอ

เป็นเพลงที่ร้องโต้ตอบเกี้ยวพาราสีกันระหว่างชายหญิง เป็นการแก้คารมกัน

 
ดนตรี

ไทยวนในภูมิภาคอื่น

ไทยวนนอกจากจะอาศัยอยู่ทางภาคเหนือในเขตจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา น่าน แพร่ แม่ฮ่องสอน ยังกระจายตัวตั้งถิ่นฐานในภูมิภาคอื่นอย่างภาคกลาง เช่น กรุงเทพฯ ราชบุรี สระบุรี นครปฐม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เช่น นครราชสีมา เป็นต้น

ปัจจุบัน พบชุมชนของไทยวนกลุ่มเชียงแสนตั้งถิ่นฐานอยู่ ในเขตจังหวัดต่างๆ ดังนี้

  1. จังหวัด สระบุรี อย่างน้อย 114 หมู่บ้าน
  2. จังหวัด ราชบุรี อย่างน้อย 77 หมู่บ้าน
  3. จังหวัด กาญจนบุรี ย่างน้อย 5 หมู่บ้าน
  4. จังหวัด นครปฐม อย่างน้อย 12 หมู่บ้าน
  5. จังหวัด ลพบุรี อย่างน้อย 51 หมู่บ้าน
  6. จังหวัด พิจิตร อย่างน้อย 8 หมู่บ้าน
  7. จังหวัด พิษณุโลก อย่างน้อย 20 หมู่บ้าน
  8. จังหวัด อุตรดิตถ์ อย่างน้อย 6 หมู่บ้าน
  9. จังหวัด สระแก้ว อย่างน้อย 12 หมู่บ้าน
  10. จังหวัด นครราชสีมา อย่างน้อย 9 หมู่บ้าน

ทั้งนี้ ชุมชนไทยวนเชียงแสนที่เก่าแก่ที่สุดในตอนกลางของประเทศไทย ซึ่ง มีอายุมากกว่า 200 ปี อยู่ในบริเวณอำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี และอำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี

 
ไทยวนอพยพ ที่อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. Entry for Northern Thai Dallas, Tex.: SIL International. ISBN 978-1-55671-216-6.
  2. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554ISBN 978-616-7073-80-4.
  3. อานันท์ กาญจนพันธ์ (2017). ประวัติศาสตร์สังคมล้านนา: ความเคลื่อนไหวของขีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่น. พิษณุโลก: หน่วยวิจัยอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร และภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. pp. 52–55. ISBN 978-616-4260-53-5.
  4. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม (2019-06-12). ""ยวน" มาจากไหน ? ใครคือ "ไทยวน"". มติชนสุดสัปดาห์.
  5. Frederic Pain (2008), "An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai", The Journal of the American Oriental Society, ISSN 0003-0279
  6. Andrew Turton (2004), "Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s", Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia, London: Frank Cass, p. 73, doi:10.1080/01440390308559156, ISBN 9780714654867
  7. ศิลปวัฒนธรรม (2021-06-30). "อ่านล้านนาจากหลักฐานจีน เรียกอาณาจักร "สนมแปดร้อย" และธนูอาบยาพิษของพระนางจามเทวี". ศิลปวัฒนธรรม.
  8. บุญช่วย ศรีสวัสด์ (2503)
  9. จิตร ภูมิศักด์ (2519)
  10. "ไทยวน - สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่". The Center for the Promotion of Arts and Culture, Chiang Mai University.
  11. "ไทยวน - สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่". The Center for the Promotion of Arts and Culture, Chiang Mai University.
  12. "การแต่งกายของชาวล้านนาในอดีต". Digitized Lanna. 2012-09-19.
  13. Chalo (วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2558). "ไทยวน". ไทยวน. Check date values in: |date= (help)
  14. tanawatpotichat (2011-12-29). "การแต่งกาย". tanawatpotichat (ภาษาอังกฤษ).
  15. "อาหารท้องถิ่น 4 ภาค". sites.google.com.
  16. "นาฏศิลป์ภาคเหนือ | สาระ ความรู้ ข่าวสาร ความบันเทิง ของชาวมัธยมศึกษา และประถมศึกษา : Knowledge for Thai Student | ThaiGoodView.com". www.thaigoodview.com.
  17. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม (2019-06-12). ""ยวน" มาจากไหน ? ใครคือ "ไทยวน"". มติชนสุดสัปดาห์.
  18. ภูมิหลังการเคลื่อนย้ายประชากรชาวยวนเชียงแสน และการตั้งถิ่นฐานในบริเวณตอนกลางของประเทศไทย The Movement Background of Chiang Saen Yuan People and the Settlement in the Central part of Thailand นราธิป ทับทัน และ ชินศักดิ์ ตัณฑิกุล
บรรณานุกรม

ไทยวน, ระว, งส, บสนก, ชาวญวน, ยวน, โยน, โยนก, ไตยวน, หร, คนเม, อง, คำเม, อง, ᨶᨾ, เป, นประชากรท, ดภาษาตระก, ลภาษาขร, ไทกล, มหน, งถ, นฐานทางตอนเหน, อของประเทศไทยซ, งเคยเป, นท, งของอาณาจ, กรล, านนา, เป, นกล, มประชากรท, ใหญ, ดในอาณาจ, กร, จจ, นชาวเป, นพลเม, องหล, . rawngsbsnkb chawywn ywn oyn oynk ithywn itywn hrux khnemuxng khaemuxng ᨤ ᨶᨾ ᨦ epnprachakrthiphudphasatrakulphasakhra ithklumhnung tngthinthanthangtxnehnuxkhxngpraethsithysungekhyepnthitngkhxngxanackrlanna 2 epnklumprachakrthiihythisudinxanackr pccubnchawithywnepnphlemuxnghlkinphakhehnuxkhxngpraethsithy mkeriyktnexngwa khnemuxng sungepnkhaeriykthiekidkhuninyukhekbphkissaekbkhaisemuxng ephuxfunfuprachakrinlannahlngsngkhram odykarkwadtxnklumkhncakthitang ekhamayngemuxngkhxngtnithywnᨤ ᨶᨾ ᨦkarrakhxngchawywnincnghwdechiyngihmprachakrthnghmd6 lankhn 1 phumiphakhthimiprachakrxyangminysakhypraethsithy praethslaw hwythray emuxngtnphung praethsphma thakhiehlk emiywdi phasakhaemuxng mkphudsxngphasakbphasaithyklang sasnaswnihynbthuxphuththethrwath swnnxynbthuxsasnakhristklumchatiphnthuthiekiywkhxngchawithbthkhwamnimikhxkhwam khaemuxng hakimmikarsnbsnunkarernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxnghruxsylksnxunaethnxksrthrrmlanna enuxha 1 prawti 2 thimakhxngchux 2 1 chuxthichawithyphakhklangicheriyk 2 2 chuxthikhntangchatiicheriyk 2 2 1 chawxngkvs 2 2 2 chawcin 2 2 3 chawphma 2 2 4 chawlaw 2 3 xun 3 silpaaelawthnthrrm 3 1 phasa 3 2 xksr 3 2 1 phyychna 3 2 2 sra 3 2 3 wrrnyukt 3 3 karaetngkay 3 3 1 karaetngkayinrachsank 3 4 silpa 3 5 xahar 3 6 natsilp 3 7 dntri 3 7 1 ekhruxngdntri 3 7 2 praephthdntri 4 ithywninphumiphakhxun 5 duephim 6 xangxingprawtitamtanansinghnwtiklawwa singhnwtikumaridxphyphphukhnbriwarmacakemuxngrachkhvh ekhaicwaxyuinmnthlyunnan matngbaneruxnxyuthiechiyngaesnrawtnsmyphuththkal tngchuxbanemuxngniwa oynknkhr eriykprachachnemuxngniwa ywn sungepnesiyngephiynmacakchuxemuxng oynk nnexng 3 caknnkmikstriykhrxngemuxngoynknimaeruxy cnthungsmy xanackrlanna txma ph s 2101 phraecabuerngnxngaehnghngsawdiidnathphmati xanackrlanna thaihphmapkkhrxngemuxngehnuxepnewlananthung 200 piin ph s 2347 sungkhnannechiyngaesntkxyuphayitkarpkkhrxngkhxngphma phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkoprdekla ihkrmhlwngethphhrirksaelaphrayaymrach phrxmdwykxngthphlaw ykthphiptiemuxngechiyngaesn emuxtiemuxngechiyngaesnidaelwcungihruxkaaephngemuxng ruxbanemuxng aelarwbrwmphukhnchawechiyngaesnodyaebngepn 5 swn swnhnungihipxyuechiyngihm swnhnungihipxyuthilapang swnhnungxyuthinan swnhnungxyuthiewiyngcnthn aelaxikswnhnungihedinthangmayngphakhklangodyihtngbaneruxnxyuthirachburiaelasraburi 4 thimakhxngchuxchuxthichawithyphakhklangicheriyk chawithyphakhklanginsmyobranekhyeriykchawithyinthinehnuxwa ywn odyprakthlkthaninwrrnkhdiechn lilitywnphay sungkwikhxngxyuthyarcnakhuninsmysmedcphrabrmitrolknath nkwichakartangpraethssnnisthanwa khawa ywn xaccamacakkhasnskvtwa yavana aeplwakhnaeplkthinhruxkhntangthin 5 chuxthikhntangchatiicheriyk chawxngkvs ecaxananikhmxngkvsinsmythiekhapkkhrxngphmamxngwachawywnepnphwkediywkbchawchan ithihy odyeriykphwkniwa chansyam Siamese Shan ephuxaeykaeyaxxkcakcakchawrthchaninpraethsphmathixngkvseriykwa chanphma Burmese Shan 6 aesdngihehnthungkhwamiklchidthangwthnthrrmpraephnikhxngchawithihyhlay klum chawcin hlkthancineriyklannawa paipsifukw aeplwa xanackrsnmaepdrxy epnchuxthirachwngshywnicheriykxanackrlanna thimakhxngchuxmixthibayinphngsawdarrachwngshywnchbbihm klawiwwa xnpaipsifu snmaepdrxy nn chuxphasaxiwacingim echiyngihm elaluxknwaphuepnpramukhmichayathungaepdrxy aetlakhnepnphunakhayhnung cungidnamtamni 7 chawphma itywn ityn oyn epnkhaeriykcakklumchawphma 8 chawlaw chawlaweriykchawithyphakhehnuxwa yn hrux ywn 9 xun caktananchinkalmalipkrnaelasngkhitwngsidrabuchuxthungwalannamisunyklangthiechiyngihmchux phingkhrth aelamikhawa oynrthaelaoynpraeths thihmaythungaekhwnoynk aetchawlannainsmydngklawcaniyamtnexnghlakhlaychux echn ithruxith ithoyn ithywninnganeruxng chnchatiith sungtiphimphin ph s 2466 wileliym khliftn dxdd michchnnarichawxemriknsungthanganthiechiyngraynanthung 32 pi ph s 2429 2461 klawthungkhnekhtphakhehnuxtxnbnkhxngithywaepn chawywn miich chawlaw dngthihlayfayekhaicsilpaaelawthnthrrmithywnmiphasa khnbthrrmeniym caritpraephni silpwthnthrrm withichiwit aelakhwamechuxxnepnexklksnechphaatn insngkhmkhxngchawithywnmikhwamkhidineruxngphiphsmsasnaphuthth odyechphaaphipuya phibrrphburus camibthbathinkarkhwbkhumphvtikrrmkhxnglukhlanithywnihpraphvtitnthuktxngtamcaritpraephniaelakrxbthidingamkhxngsngkhm xikthngmikhwamechuxeruxng khud khuxkhxhamhruxkhxkhwrptibtiephuximihekidsingimdikhunkbtwexngaelakhrxbkhrw 10 phasa dubthkhwamhlkthi phasaithythinehnux phasaekhiynaelaphasaphudkhxngithywnmirupaebbepnkhxngtnexng sunginpccubnkyngphbepnkarichphasaekhiyninphrathrrmkhmphirsasnaphuthth aelapbsa iblan thngniphasaekhiynkhxngithywn hruxeriykwa xksrlanna aela xksrthrrm yngichinklumchawithluxthiechiyngrungaelachawithekhinthiechiyngtung dwy enuxngcakinxditchawlannaidnasasnaphuththekhaipephyaephryngsxngdinaednni 11 khaemuxnghruxphasaithywnyngsamarthaebngxxkepnsaeniynglannatawntk incnghwdechiyngihm laphun aelaaemhxngsxn aelasaeniynglannatawnxxk incnghwdechiyngray phaeya lapang xutrditth aephr aelanan sungcamikhwamaetktangknbang khux saeniynglannatawnxxkswnihycaimphbsraexuxa exux aetcaichsraexiya exiyaethn miesiyngexuxaaelaexuxephiyngaetkhntangthinfngimxxkexng enuxngcakesiyngthixxkmacaepnesiyngnasikiklekhiyngkbexiya exiy khaemuxnghruxphasaithywnmiiwyakrnkhlaykbphasaithyklang aetichkhasphthimehmuxnknaelaiwyakrnthiaetktangknxyubang aetedimichkhukbxksrthrrmlannasungepntwxksrkhxngxanackrlannathiichxksrmxyepntnaebb xksr xksrthrrmlanna dubthkhwamhlkidthi xksrthrrmlannaxksrthrrmlanna hrux twemuxng epnxksrthiichinsamphasa idaek phasaithythinehnux phasaithlux inpraethscin aelaphasaithekhin inpraethsphma nxkehnuxcakni xksrlannayngichkblawthrrm hruxlaweka aelaphasathinxuninkhmphiriblanphuththaelasmudbnthuk xksrniyngeriyk xksrthrrmhruxxksrywnphasaithythinehnuxepnphasaiklchidkbphasaithyaelaepnsmachikkhxngtrakulphasaechiyngaesn miphuphudekuxb 6 000 000 khninphakhehnuxkhxngpraethsithy aelahlayphnkhninpraethslaw sungmicanwnnxythiruxksrlanna xksrniyngichxyuinphrasngkhxayumak phasaithythinehnuxmihkwrrnyukt khnathiphasaithymihawrrnyukt thaihkarthxdesiyngepnxksrithymipyha mikhwamsnicinxksrlannakhunmaxikbanginhmukhnhnumsaw aetkhwamyungyakephimkhun khux aebbphasaphudsmyihm thieriyk khaemuxng xxkesiyngtangcakaebbeka phyychna xksrthrrmlannacdtamklumphyychnawrrkhtamphyychnaphasabali aebngxxkepn 5 wrrkh wrrkhla 5 tw eriykwa phyychnawrrkh hrux phyychnainwrrkh xik 8 twimcdxyuinwrrkheriykwa phyychnaxwrrkh hrux phyychnanxkwrrkh hrux phyychnaesswrrkh swnkarxanxxkesiyngeriykphyychnathnghmdnn caeriykwa tw echn tw ka k tw kha kh tw ca c epntn sra sracmepnsrathiimsamarthxxkesiyngiddwytwexng txngnaipphsmkbphyychnakxncungcasamarthxxkesiyngidely sralxyepnsrathimacakphasabali samarthxxkesiyngiddwytwexngimcaepntxngnaipphsmkbphyychnakxn aetbangkhrngkmikarnaipphsmkbphyychnahruxsraaeth echn khawa exa samarthekhiynidodyekhiynsracakphasabali xu tamdwy sraaeth a khux ᩐ wrrnyukt enuxngcaklannaidnaexarabbxkkhrwithikhxngmxymaichodyaethbcaimmikarprbepliynely aelaphasamxyexngkepnphasathiimmiwrrnyukt dngnninxditcungimpraktwamikarichekhruxnghmaywrrnyuktinkarekhiynxksrthrrmlannaely ekhymikarthkethiyngkneruxngchuxkhxnglannawacringaelwchux lanna hrux lanna knaen aetinthisudkidkhxsrupwa lanna cnkrathnginrayahlngemuxxiththiphlkhxngsyamaephekhaipinlannacungpraktkarichrupwrrnyuktinkarekhiynxksrthrrmlanna karaetngkay karaetngkaykhxngburusithywninxditniym kangekngchawelhruxkangekngaebbchawithihy thieriykwa etiywsadx aeckhektsitlaebbcinsikhawaelabangkhrng mkcamiphaophkhw nxkcaknnburusithywnmkniymskkhathungexweriykwa sbhmuk aelaisphatxy mikarnungaebbsnkbaebbyaweriykwa ocngkraebn aebbsneriykwa ekhdhmam hrux eknhmam niymnungtamkalethsa 12 swninoxkasthangkarphukhnxaceluxkswmischudpracachatiithyhruxchudithyphrarachniymkaraetngkaykhxngstriithywninxditniym nungphasintaekhbediywlaykhwanglatw sungprakxbdwy hwsin aelatinsin niymichphasixxn khlxngkhx ichphaaethbkhadxk plxychaykhawhnunglngma hruxhmechwiyngihl txmaniymswmesuxaekhnkrabxk esuxaekhnkud esuxkhxkraecha esuxaebbkiephaprayukt esuxithihy hmsibechiyng iwphmyaweklamwy pkpinaelapradbdwydxkimhxm 13 karaetngkayinrachsank karaetngkaykhxngstriithywninrachsankid rupaebbmacaksyampraeths enuxngdwyyukhsmythisyampraethsidmixiththiphltxlannaithymakkhun karaetngkay cungmikarprbepliyn aelaphsmphsanwthnthrrm dngechnsmykhxngphrarachchayaecadararsmi mikarswmesuxthitdcakphalukim thieriykkntidpakwa esuxaekhnhmuaehm chawsyamniymthicanungphaocng hruxocngkraebn aetphrarachchayaoprdthicanungphasin tamaebbchbbkhxnglannapraeths sinthiphrarach chayaecadararsmi idthrngkhidkhnaelaprayuktkhunaelaphraxngkhphrxmthngphraprayur yatiidswmisemuxkhrnphankxyuinsyampraethsnnkhux sinluntyatxtinck sungepnkarphsmphsanphathxkhxngrachsankmnthaely kbphackphunemuxngehnux ekhadwykn thrngphmthiphraxngkhichinsmynn eriykknwa thrngxipunhruxyipun ecadararsmi phrarachchaya karaetngkaykhxngburusithywninrachsank niymesuxthitdeybtamaebbkhxngsyampraeths khxesuxtngphaxk mikradumthxngeriyngkn 5 emd hruxthichawsyameriykwa esuxrachpraaetn niymtddwyphaihm hruxphaxun tamchnys niymnungocngkraebntamaebbchbbkhxngkrungsyam aetphathinamanungnn niymnungdwyphaihmphunemuxng hruxphahangkrarxk phrxmthngkhadexwdwyphaaephrnxk aelathbdwyekhmkhdthxngtamthanakhxngphuswmis cungnbepnyukhsmythiithywnindinaednlanna mikarepliynaeplngaelaphsmphsanwthnthrrmkbsyampraethsepnxyangmak 14 silpa dubthkhwamhlkthi silpalanna wdrxngkhun silpalannahruxsilpaechiyngaesn hmaythung silpainekhtphakhehnuxhruxdinaednlannakhxngpraethsithyinchwngtnphuththstwrrsthi 19 24 khadwamikarsubthxdtxenuxngcaksilpathwarwdiaelasilpalphburimatngaetsmyhriphuychy sunyklangkhxngsilpalannaedimxyuthiechiyngaesn eriykwaxanackroynk txmaemuxphyamngrayidyaymasrangemuxngechiyngihm sunyklangkhxngxanackrlannacungxyuthiemuxngechiyngihm ngansilpalannamikhwamekiywenuxngkbsasnaphuththodyechphaanikayethrwath xahar aeknghngel xaharswnihyrschatiimcd imniymisnatalinxahar khwamhwancaidcakswnphsmkhxngxaharnn echn phk pla aelaniymichthwenainkarprungxahar chawywnminaphrikrbprathanhlaychnid echn naphrikhnum naphrikxxng phkthiichcimswnmakepnphknung swnxaharthiruckkndiidaek khnmcinnaengiyw thimiekhruxngprungsakhykhuxdxkngiwsungepndxknumthitakaehng thuxepnekhruxngethsphunbanthimiklinhxm takhnun aelaaekngkhnun thimiswnphsmepnphkchnidxun echn ibchaphlu chaxm maekhuxeths nxkcakniyngmixaharthiidrbxiththiphlcakchnchatixundwy 15 echn aeknghngel idrbxiththiphlmacakchawphma khawsxy idrbxiththiphlmacakchawcin natsilp dubthkhwamhlkidthi natsilplannanatsilpkaraesdngphunbanaelarachsankkhxngithywn nnmikarphsmphsanxiththiphlthangnatsilpcakkhnhlayklumchatiphnthuekhaiwdwyknimwacaepnnatsilp ithyphakhklang ithlux ithekhin ithihy cin phma law aelachawithyphuekhaxyang lisx ekhamaprbthafxnraihekhakbkhwamepnchawphunemuxngkhxngithywnidxyanglngtw mikhwamxxnchxy numnwl aelangdngam ephlngbrrelngmikhwamipheraa xxnhwan sungnnepnesnhkhxngnatsilpkaraesdngphunbanaelarachsankkhxngithywnhruxithyphakhehnuxmaaetobran 16 natsilpkhxngithywnhruxchawithyphakhehnux echn fxnemuxng fxnelb fxnkaylay fxnethiyn fxncxng fxnwi fxnkhndxk fxndab fxneching fxnecing tiklxngsabdichy fxnsawihm fxnnxyicya fxnhriphuychy fxnlxngnan fxnaengn epntn fxnelb fxnecing karfxnaebbkhumhlwng epnkarfxnthiekidkhuninkhumkhxngphrarachchaya ecadararsmi sungmilksnakarfxnkhxngphakhklangphsmxyu echn fxnmanmuyechiyngta fxnnxyicya epntn fxnmanmuyechiyngta karfxnthiidrbxiththiphlphma dntri dubthkhwamhlkidthi natsilplannadntrikhxngithywn mithngkarbrrelngephlngediywaelarwmwng rwmthungkarkhbrxngodyimichdntriprakxb emuxfngdntrikhxngphakhehnuxcarusukthungkhwamnumnwl xxnhwan sathxnihehnwthnthrrmaelachiwitkhwamepnxyukhxngithywnhruxchawehnuxthimichiwiteriybngay xyukbthrrmchati ekhruxngdntrithiich idaek salx sx sungaelaklxngaexw epntn 17 ekhruxngdntri sung salx klxngetngthing khluy picum klxngsabdchy klxngtungonng piaen tahldpd mahldpd klxngpuca klxngbucha hrux puca wngklxngpuec klxngpuec wngpipadkxng wngpiphathylanna phinepiyapraephthdntri ephlngcxyithywnmiphasaphudiklekhiyngkbithluxaelaithekhin cungmidntrihruxkarlaelnthikhlaykhlungkn mikarrxngephlng eriykwa cxy epnkarphudthiepnthanxng suxsarephuxkhwambnethingaekphufng epnkhawklxnkhxngphakhehnux immiekhruxngdntriprakxb immiewthi sadwktrngihnyunrxngtrngnn enuxhainkarcxyekiywkbnithanchadk khasxn prawti hruxkarekiywpharasi xaccaepncxykhnediyw hruxcxyottxbknkid ephlngsxepnephlngthirxngottxbekiywpharasiknrahwangchayhying epnkaraekkharmkn dntriithywninphumiphakhxunithywnnxkcakcaxasyxyuthangphakhehnuxinekhtcnghwdechiyngihm echiyngray laphun lapang phaeya nan aephr aemhxngsxn yngkracaytwtngthinthaninphumiphakhxunxyangphakhklang echn krungethph rachburi sraburi nkhrpthm phakhtawnxxkechiyngehnuxhruxphakhxisan echn nkhrrachsima epntnpccubn phbchumchnkhxngithywnklumechiyngaesntngthinthanxyu inekhtcnghwdtang dngni cnghwd sraburi xyangnxy 114 hmuban cnghwd rachburi xyangnxy 77 hmuban cnghwd kaycnburi yangnxy 5 hmuban cnghwd nkhrpthm xyangnxy 12 hmuban cnghwd lphburi xyangnxy 51 hmuban cnghwd phicitr xyangnxy 8 hmuban cnghwd phisnuolk xyangnxy 20 hmuban cnghwd xutrditth xyangnxy 6 hmuban cnghwd sraaekw xyangnxy 12 hmuban cnghwd nkhrrachsima xyangnxy 9 hmubanthngni chumchnithywnechiyngaesnthiekaaekthisudintxnklangkhxngpraethsithy sung mixayumakkwa 200 pi xyuinbriewnxaephxesaih cnghwdsraburi aelaxaephxemuxngrachburi cnghwdrachburi 18 ithywnxphyph thixaephxlbael cnghwdxutrditthduephimxanackrlanna phasaithythinehnux xksrthrrmlanna silpalannaxangxingechingxrrth Lewis M Paul ed 2009 Ethnologue Languages of the World Sixteenth edition Entry for Northern Thai Dallas Tex SIL International ISBN 978 1 55671 216 6 phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 ISBN 978 616 7073 80 4 xannth kaycnphnth 2017 prawtisastrsngkhmlanna khwamekhluxnihwkhxngkhiwitaelawthnthrrmthxngthin phisnuolk hnwywicyxarythrrmsuksaokhng salawin mhawithyalynerswr aelaphakhwichasngkhmwithyaaelamanusywithya mhawithyalyechiyngihm pp 52 55 ISBN 978 616 4260 53 5 mhawithyalyechiyngihm chmrmhktwemuxng sanksngesrimsilpwthnthrrm 2019 06 12 ywn macakihn ikhrkhux ithywn mtichnsudspdah Frederic Pain 2008 An introduction to Thai ethnonymy examples from Shan and Northern Thai The Journal of the American Oriental Society ISSN 0003 0279 Andrew Turton 2004 Violent Capture of People for Exchange on Karen Tai borders in the 1830s Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia London Frank Cass p 73 doi 10 1080 01440390308559156 ISBN 9780714654867 silpwthnthrrm 2021 06 30 xanlannacakhlkthancin eriykxanackr snmaepdrxy aelathnuxabyaphiskhxngphranangcamethwi silpwthnthrrm buychwy sriswsd 2503 citr phumiskd 2519 ithywn sanksngesrimsilpwthnthrrm mhawithyalyechiyngihm The Center for the Promotion of Arts and Culture Chiang Mai University ithywn sanksngesrimsilpwthnthrrm mhawithyalyechiyngihm The Center for the Promotion of Arts and Culture Chiang Mai University karaetngkaykhxngchawlannainxdit Digitized Lanna 2012 09 19 Chalo wnphuththi 29 emsayn ph s 2558 ithywn ithywn Check date values in date help tanawatpotichat 2011 12 29 karaetngkay tanawatpotichat phasaxngkvs xaharthxngthin 4 phakh sites google com natsilpphakhehnux sara khwamru khawsar khwambnething khxngchawmthymsuksa aelaprathmsuksa Knowledge for Thai Student ThaiGoodView com www thaigoodview com mhawithyalyechiyngihm chmrmhktwemuxng sanksngesrimsilpwthnthrrm 2019 06 12 ywn macakihn ikhrkhux ithywn mtichnsudspdah phumihlngkarekhluxnyayprachakrchawywnechiyngaesn aelakartngthinthaninbriewntxnklangkhxngpraethsithy The Movement Background of Chiang Saen Yuan People and the Settlement in the Central part of Thailand nrathip thbthn aela chinskdi tnthikul brrnanukrmthenswr ecriyemuxng khnemuxng prawtisastrlannasmyihm ph s 2317 2553 phimphkhrngthi 2 echiyngihm sthabnphthnaemuxngechiyngihm 2554 246 hna ISBN 978 974 496 387 1 rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 phimphkhrngthi 2 krungethph rachbnthitysthan 2556 1 544 hna ISBN 978 616 7073 80 4 surchy cngcitngam khumuxthxngethiyw eriynru lanna echiyngihm laphun lapang krungethph miwesiymephrs 2549 128 hna hna 16 ISBN 9789749497166 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ithywn amp oldid 9832748, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม