fbpx
วิกิพีเดีย

ภาวะเชิงการนับ

ในทางคณิตศาสตร์ ภาวะเชิงการนับ ของเซต (อังกฤษ: cardinality) คือการวัดปริมาณว่ามีสมาชิกจำนวนเท่าไรในเซต ตัวอย่างเช่น เซต A = {2, 4, 6} มีสมาชิก 3 ตัว ดังนั้น A มีภาวะเชิงการนับเป็น 3 เพื่อทำความเข้าใจถึงภาวะเชิงการนับสามารถทำได้สองแนวทาง หนึ่งคือการเปรียบเทียบเซตโดยตรงด้วยฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึงหรือฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง และอีกทางหนึ่งคือการใช้จำนวนเชิงการนับ

ภาวะเชิงการนับของเซต A เขียนแทนด้วย | A | โดยใช้ขีดตั้งเขียนล้อมรอบในลักษณะเดียวกับค่าสัมบูรณ์ ดังนั้นความหมายจึงขึ้นอยู่กับบริบท ภาวะเชิงการนับของเซตอาจแสดงด้วยสัญกรณ์อื่นเช่น A.A, หรือ # A

การเปรียบเทียบเซต

กรณีที่ 1: | A | = | B |

เซต A กับเซต B จะมีภาวะเชิงการนับเท่ากัน ถ้ามีฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง (bijection) นั่นคือเป็นทั้งฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (injection) และทั้งฟังก์ชันทั่วถึง (surjection) จาก A ไป B อย่างน้อยหนึ่งฟังก์ชัน

ตัวอย่างเช่น กำหนดให้เซต E = {0, 2, 4, 6, …} เป็นเซตของจำนวนคู่ที่ไม่เป็นลบ และเซต N = {0, 1, 2, 3, …} เป็นเซตของจำนวนธรรมชาติ (ซึ่งรวม 0 เข้าไปด้วย) ภาวะเชิงการนับของ E จะเท่ากับภาวะเชิงการนับของ N เนื่องจากมีฟังก์ชัน f(n) = 2n เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งแบบทั่วถึงจาก N ไป E และในทางกลับกันก็มีฟังก์ชัน f(n) = n / 2 เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งแบบทั่วถึงจาก E ไป N ด้วย

กรณีที่ 2: | A | ≥ | B |

เซต A จะมีภาวะเชิงการนับมากกว่าหรือเท่ากับเซต B ถ้ามีฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (injection) จาก B ไป A อย่างน้อยหนึ่งฟังก์ชัน

กรณีที่ 3: | A | > | B |

เซต A จะมีภาวะเชิงการนับมากกว่าเซต B อย่างแท้จริง ถ้ามีฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (injection) จาก B ไป A อย่างน้อยหนึ่งฟังก์ชัน โดยที่ฟังก์ชันนั้นไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง (non-bijection)

ตัวอย่างเช่น กำหนดให้เซต R เป็นเซตของจำนวนจริง และเซต N เป็นเซตของจำนวนธรรมชาติ เนื่องจากความสัมพันธ์โดยเซตย่อย i : NR เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (จำนวนธรรมชาติใด ๆ ถือว่าเป็นจำนวนจริง) และสามารถแสดงได้ว่าความสัมพันธ์นี้ไม่ได้เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง (ยังมีจำนวนจริงอีกมากที่ไม่ได้เป็นจำนวนธรรมชาติ) ดังนั้นภาวะเชิงการนับของ R จึงมากกว่าภาวะเชิงการนับของ N อย่างแท้จริง

จำนวนเชิงการนับ

ดูบทความหลักที่: จำนวนเชิงการนับ

จากหัวข้อข้างต้น "ภาวะเชิงการนับ" ได้นิยามโดยการอธิบายด้วยฟังก์ชัน นั่นคือ "ภาวะเชิงการนับ" ของเซตไม่ได้ถูกนิยามว่าเป็นวัตถุอย่างหนึ่งอย่างใดโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม วัตถุเช่นนั้นอาจสามารถนิยามขึ้นมาใหม่ได้

ความสัมพันธ์ของการมีภาวะเชิงการนับที่เท่ากันเรียกว่า ภาวะเท่ากันของจำนวน (equinumerosity) และสิ่งนี้เป็นความสัมพันธ์สมมูล (equivalence relation) บนคลาสของเซตทั้งหมด ดังนั้นคลาสที่สมมูลกับเซต A ภายใต้ความสัมพันธ์นี้ จะประกอบขึ้นจากเซตทั้งหมดที่มีภาวะเชิงการนับเท่ากับของเซต A จึงมีสองวิธีการที่จะนิยาม "ภาวะเชิงการนับของเซต"

  1. ภาวะเชิงการนับของเซต A จะถูกนิยามเป็น คลาสที่สมมูลกันภายใต้ภาวะเท่ากันของจำนวน
  2. เซตตัวแทนซึ่งออกแบบไว้เพื่อคลาสที่สมมูลกันแต่ละคลาส ทางเลือกปกติสามัญที่ใช้กันคือการกำหนดจำนวนเชิงอันดับที่ในคลาสนั้น สิ่งนี้มักจะใช้เป็นการนิยามของจำนวนเชิงการนับในทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์

ภาวะเชิงการนับของเซตอนันต์เขียนแทนได้เป็น

 

สำหรับแต่ละจำนวนของ α ในจำนวนเชิงอันดับที่ (ที่ 0, ที่ 1, ที่ 2, …) ℵα + 1 จะเป็นจำนวนเชิงการนับอย่างน้อยที่สุดที่มากกว่า ℵα

ภาวะเชิงการนับของเซตจำนวนธรรมชาติเขียนแทนด้วยอะเลฟศูนย์ (ℵ0) ในขณะที่ภาวะเชิงการนับของเซตจำนวนจริงเขียนแทนด้วย c ซึ่งหมายถึงภาวะเชิงการนับของความต่อเนื่อง (cardinality of the continuum)

เซตจำกัด เซตนับได้ และเซตนับไม่ได้

ถ้าสัจพจน์การเลือก (axiom of choice) และกฎไตรวิภาค (trichotomy law) มีอยู่สำหรับภาวะเชิงการนับ ดังนั้นเราจะสามารถสร้างนิยามทางเลือกเหล่านี้ได้

  • เซต X ใด ๆ ที่มีภาวะเชิงการนับน้อยกว่าของจำนวนธรรมชาติ นั่นคือ | X | < | N | เซตนั้นจะเป็นเซตจำกัด
  • เซต X ใด ๆ ที่มีภาวะเชิงการนับเท่ากับของจำนวนธรรมชาติ นั่นคือ | X | = | N | = ℵ0 เซตนั้นจะเป็นเซตอนันต์ที่นับได้
  • เซต X ใด ๆ ที่มีภาวะเชิงการนับมากกว่าของจำนวนธรรมชาติ นั่นคือ | X | > | N | ตัวอย่างเช่น | R | = c > | N | เซตนั้นจะเป็นเซตอนันต์ที่นับไม่ได้

เซตอนันต์

แนวความคิดดั้งเดิมที่ใช้กับเซตจำกัดพังทลายลงเมื่อพบกับเซตอนันต์ ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกออร์ก คันทอร์ กอทท์ลอบ เฟรเกอ ริชาร์ด เดเดคินด์ และอีกหลายท่านไม่ยอมรับมุมมองของกาลิเลโอ (ซึ่งสืบทอดมาจากยูคลิด) ที่ว่า สิ่งทั้งหมดทั้งมวลไม่สามารถมีขนาดเท่ากับสิ่งที่เป็นบางส่วน ตัวอย่างหนึ่งคือปฏิทรรศน์โรงแรมใหญ่ของฮิลเบิร์ต (Hilbert's paradox of the Grand Hotel)

เหตุผลของการไม่ยอมรับแนวคิดดังกล่าว เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะหลายอย่างที่อาจทำให้เซต A ใหญ่กว่าเซต B หรือมีขนาดเท่ากับเซต B ซึ่งสมมูลกันในเซตจำกัด แต่จะไม่สมมูลกันในเซตอนันต์อีกต่อไป ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันอาจสามารถทำให้ผลออกมาต่างกันก็ได้ ตัวอย่างเช่น ลักษณะเฉพาะของขนาดที่เลือกโดยคันทอร์ เซตอนันต์ A จะใหญ่กว่าเซตอนันต์ B ในบางโอกาส ส่วนลักษณะเฉพาะอย่างอื่นสรุปว่า เซตอนันต์ A จะมีขนาดเท่ากับเซตอนันต์ B เสมอ ด้วยเหตุผลว่าเป็นอนันต์เหมือนกัน

สำหรับเซตจำกัด การนับก็ถือเป็นการสร้างความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง ระหว่างเซตที่ถูกนับกับส่วนหนึ่งของจำนวนเต็มบวกโดยเริ่มจากหนึ่งเป็นต้นไป ดังนั้นจึงไม่มีรูปแบบที่เพียงพอเพื่อการนับเซตอนันต์ เพราะการนับจะให้ผลที่เป็นหนึ่งเดียวบนเซตจำกัด ในขณะที่เซตอนันต์จะถูกแทนที่ด้วยความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่งกับจำนวนเชิงอันดับที่ที่แตกต่างกันได้หลายแบบ ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าเราจะนับ (หรือเรียงลำดับ) เซตนั้นอย่างไร

นอกจากนั้น ลักษณะเฉพาะของขนาดที่แตกต่างออกไปซึ่งใช้กับเซตอนันต์ จะทำให้เกิดการละเลย "กฎ" ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในเซตจำกัด เช่นลักษณะเฉพาะของคันทอร์อันสงวนกฎไว้ว่า เซตหนึ่ง ๆ จะมีขนาดใหญ่กว่าเซตอื่นในบางโอกาส ได้ละเลยกฎการตัดสมาชิกออกจากเซตเพื่อทำให้ขนาดของเซตเล็กลง ในขณะที่ลักษณะเฉพาะแบบอื่น อาจสงวนกฎการตัดสมาชิกออกจากเซต แต่ละเลยกฎอย่างอื่นอีกก็ได้ ยิ่งไปกว่านั้น ลักษณะเฉพาะบางอย่างอาจไม่ได้ละเลยกฎ "โดยตรง" แต่ก็ไม่ได้รักษากฎนั้นไว้ "โดยตรง" เช่นกัน ขึ้นอยู่กับสัจพจน์ที่นำมาโต้แย้ง อาทิสัจพจน์การเลือกหรือสมมติฐานความต่อเนื่อง ซึ่งจะทำให้เกิดความเป็นไปได้สามข้อดังที่อธิบายไว้ข้างต้น ความเป็นไปได้แต่ละอย่างอาจละเลยกฎบางข้อ รักษากฎบางอย่าง ทำให้ไม่อาจตัดสินได้

ถ้าแนวคิดนี้ขยายไปถึงมัลติเซต กฎอย่างอื่นซึ่งใช้กับมัลติเซตจำกัดจะถูกละเลยมากยิ่งขึ้นไปอีก (สมมติว่าใช้แนวคิดของคันทอร์) เช่นกำหนดมัลติเซตอนันต์ A กับ B เมื่อ A ไม่ใหญ่กว่า B และ B ก็ไม่ใหญ่กว่า A แต่เราไม่สามารถสรุปได้ว่า A กับ B จะมีขนาดเท่ากัน แต่กฎนี้จะยังคงอยู่สำหรับมัลติเซตจำกัด กฎไตรวิภาคก็ถูกละเลยในกรณีที่เป็นมัลติเซตเช่นกัน

เดเดคินด์ได้นิยามเซตอนันต์ว่ามีขนาดอันหนึ่งที่เหมือนกัน โดยอย่างน้อยก็เท่ากับเซตย่อยแท้ของมันเอง สัญกรณ์อนันต์ในลักษณะนี้เรียกว่าเซตอนันต์เดเดคินด์ การนิยามนี้สามารถใช้งานได้กับสัจพจน์การเลือกในบางรูปแบบเท่านั้น อย่างไรก็ตาม นักคณิตศาสตร์บางท่านก็สรุปว่าแนวคิดนี้ใช้งานไม่ได้

คันทอร์ได้แนะนำจำนวนเชิงการนับที่สูงขึ้นไปกว่านั้น เพื่อแสดงให้เห็นว่าเซตอนันต์บางเซต มีขนาดใหญ่กว่าเซตอนันต์อื่น ซึ่งจำนวนที่น้อยที่สุดก็คือภาวะเชิงการนับของจำนวนธรรมชาติ (ℵ0)

ภาวะเชิงการนับของความต่อเนื่อง

ดูบทความหลักที่: ภาวะเชิงการนับของความต่อเนื่อง

ผลลัพธ์ที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของคันทอร์คือการแสดงว่าภาวะเชิงการนับของความต่อเนื่อง ( ) มีค่ามากกว่าภาวะเชิงการนับของจำนวนธรรมชาติ (ℵ0) นั่นคือยังมีจำนวนจริง R อื่น ๆ อีกที่มากไปกว่าจำนวนธรรมชาติ N คันทอร์ได้แสดงไว้ว่า

  (ดูเพิ่มที่ การอ้างเหตุผลแนวทแยงของคันทอร์)

สมมติฐานความต่อเนื่อง (continuum hypothesis) ระบุไว้ว่า ไม่มีจำนวนเชิงการนับใดที่มีค่าอยู่ระหว่าง ภาวะเชิงการนับของจำนวนจริงกับภาวะเชิงการนับของจำนวนธรรมชาติ นั่นคือ

  (ดูเพิ่มที่ เบ็ทหนึ่ง)

อย่างไรก็ตาม สมมติฐานนี้ยังไม่สามารถพิสูจน์หรือปฏิเสธได้ภายใต้ทฤษฎีเซตเชิงสัจพจน์แบบ ZFC ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง

เลขคณิตเชิงการนับก็สามารถใช้แสดงได้ว่า ไม่เพียงแค่จำนวนจุดบนเส้นจำนวนจริงจะเท่ากับจำนวนจุดบนส่วนของเส้นตรงเท่านั้น แต่ยังเท่ากับจำนวนจุดบนระนาบสองมิติ ปริภูมิสามมิติ หรือแม้แต่ปริภูมิมิติจำกัดใด ๆ ผลลัพธ์เหล่านี้อาจขัดกับสามัญสำนึกอยู่บ้าง เพราะมันเป็นการสรุปว่าเซตย่อยแท้และเซตใหญ่แท้ของเซตอนันต์ S มีขนาดเท่ากันกับ S ถึงแม้ว่า S จะมีสมาชิกหลายตัวที่ไม่มีอยู่ในเซตย่อยของมัน และเซตใหญ่ของ S จะมีสมาชิกหลายตัวที่ไม่มีอยู่ใน S ก็ตาม

ผลลัพธ์อย่างแรกของสิ่งเหล่านี้ปรากฏโดยการพิจารณาฟังก์ชันแทนเจนต์เป็นตัวอย่าง ซึ่งทำให้เกิดความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึงระหว่างช่วง (−½π, ½π) กับ R (ดูเพิ่มที่ ปฏิทรรศน์โรงแรมใหญ่ของฮิลเบิร์ต)

ผลลัพธ์อย่างที่สองแสดงไว้โดยคันทอร์เมื่อ ค.ศ. 1878 (แต่ปรากฏสู่สาธารณชนเมื่อ ค.ศ. 1890) ในตอนที่ จูเซปเป เปอาโน นำเสนอเส้นโค้งเติมเต็มปริภูมิ (space-filling curve) ซึ่งเส้นโค้งจะบิดเลี้ยวไปจนกว่าจะเติมเต็มพื้นที่ว่างในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือทรงลูกบาศก์ หรือไฮเพอร์คิวบ์ หรือที่ว่างในมิติจำกัดใด ๆ อย่างเพียงพอ ซึ่งเส้นโค้งเหล่านี้ไม่ได้เป็นข้อพิสูจน์โดยตรงว่า จำนวนจุดในเส้นตรงหนึ่งเส้นจะเท่ากับจำนวนจุดในปริภูมิมิติจำกัดอันหนึ่ง แต่ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งที่ใช้พิสูจน์ได้

คันทอร์ยังได้แสดงไว้อีกว่า เซตที่มีภาวะเชิงการนับมากกว่า   อย่างแท้จริงก็ยังมีอยู่อีก อาทิ

  • เซตของเซตย่อยทั้งหมดของ R เช่น เซตกำลังของ R เขียนแทนด้วย P (R) หรือ 2R
  • เซต RR ของฟังก์ชันทั้งหมดจาก R ไป R

ซึ่งทั้งคู่มีภาวะเชิงการนับเป็น

  (ดูเพิ่มที่ เบ็ทสอง)

และทำให้เกิดภาวะเท่ากันระหว่าง   ซึ่งสามารถแสดงโดยใช้เลขคณิตเชิงการนับดังนี้

 
 
 

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ความหมายของ cardinality
  • Cardinality and Power set?

ภาวะเช, งการน, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ในทางคณ, ตศาสตร, ของเซ. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inthangkhnitsastr phawaechingkarnb khxngest xngkvs cardinality khuxkarwdprimanwamismachikcanwnethairinest twxyangechn est A 2 4 6 mismachik 3 tw dngnn A miphawaechingkarnbepn 3 ephuxthakhwamekhaicthungphawaechingkarnbsamarththaidsxngaenwthang hnungkhuxkarepriybethiybestodytrngdwyfngkchnhnungtxhnungthwthunghruxfngkchnhnungtxhnung aelaxikthanghnungkhuxkarichcanwnechingkarnbphawaechingkarnbkhxngest A ekhiynaethndwy A odyichkhidtngekhiynlxmrxbinlksnaediywkbkhasmburn dngnnkhwamhmaycungkhunxyukbbribth phawaechingkarnbkhxngestxacaesdngdwysykrnxunechn A A hrux A enuxha 1 karepriybethiybest 1 1 krnithi 1 A B 1 2 krnithi 2 A B 1 3 krnithi 3 A gt B 2 canwnechingkarnb 3 estcakd estnbid aelaestnbimid 4 estxnnt 4 1 phawaechingkarnbkhxngkhwamtxenuxng 5 duephim 6 aehlngkhxmulxunkarepriybethiybest aekikhkrnithi 1 A B aekikh est A kbest B camiphawaechingkarnbethakn thamifngkchnhnungtxhnungthwthung bijection nnkhuxepnthngfngkchnhnungtxhnung injection aelathngfngkchnthwthung surjection cak A ip B xyangnxyhnungfngkchntwxyangechn kahndihest E 0 2 4 6 epnestkhxngcanwnkhuthiimepnlb aelaest N 0 1 2 3 epnestkhxngcanwnthrrmchati sungrwm 0 ekhaipdwy phawaechingkarnbkhxng E caethakbphawaechingkarnbkhxng N enuxngcakmifngkchn f n 2n epnfngkchnhnungtxhnungaebbthwthungcak N ip E aelainthangklbknkmifngkchn f n n 2 epnfngkchnhnungtxhnungaebbthwthungcak E ip N dwy krnithi 2 A B aekikh est A camiphawaechingkarnbmakkwahruxethakbest B thamifngkchnhnungtxhnung injection cak B ip A xyangnxyhnungfngkchn krnithi 3 A gt B aekikh est A camiphawaechingkarnbmakkwaest B xyangaethcring thamifngkchnhnungtxhnung injection cak B ip A xyangnxyhnungfngkchn odythifngkchnnnimepnfngkchnhnungtxhnungthwthung non bijection twxyangechn kahndihest R epnestkhxngcanwncring aelaest N epnestkhxngcanwnthrrmchati enuxngcakkhwamsmphnthodyestyxy i N R epnfngkchnhnungtxhnung canwnthrrmchatiid thuxwaepncanwncring aelasamarthaesdngidwakhwamsmphnthniimidepnfngkchnhnungtxhnungthwthung yngmicanwncringxikmakthiimidepncanwnthrrmchati dngnnphawaechingkarnbkhxng R cungmakkwaphawaechingkarnbkhxng N xyangaethcringcanwnechingkarnb aekikhdubthkhwamhlkthi canwnechingkarnb cakhwkhxkhangtn phawaechingkarnb idniyamodykarxthibaydwyfngkchn nnkhux phawaechingkarnb khxngestimidthukniyamwaepnwtthuxyanghnungxyangidodyechphaa xyangirktam wtthuechnnnxacsamarthniyamkhunmaihmidkhwamsmphnthkhxngkarmiphawaechingkarnbthiethakneriykwa phawaethaknkhxngcanwn equinumerosity aelasingniepnkhwamsmphnthsmmul equivalence relation bnkhlaskhxngestthnghmd dngnnkhlasthismmulkbest A phayitkhwamsmphnthni caprakxbkhuncakestthnghmdthimiphawaechingkarnbethakbkhxngest A cungmisxngwithikarthicaniyam phawaechingkarnbkhxngest phawaechingkarnbkhxngest A cathukniyamepn khlasthismmulknphayitphawaethaknkhxngcanwn esttwaethnsungxxkaebbiwephuxkhlasthismmulknaetlakhlas thangeluxkpktisamythiichknkhuxkarkahndcanwnechingxndbthiinkhlasnn singnimkcaichepnkarniyamkhxngcanwnechingkarnbinthvsdiestechingscphcnphawaechingkarnbkhxngestxnntekhiynaethnidepn ℵ 0 lt ℵ 1 lt ℵ 2 lt displaystyle aleph 0 lt aleph 1 lt aleph 2 lt ldots dd sahrbaetlacanwnkhxng a incanwnechingxndbthi thi 0 thi 1 thi 2 ℵa 1 caepncanwnechingkarnbxyangnxythisudthimakkwa ℵaphawaechingkarnbkhxngestcanwnthrrmchatiekhiynaethndwyxaelfsuny ℵ0 inkhnathiphawaechingkarnbkhxngestcanwncringekhiynaethndwy c sunghmaythungphawaechingkarnbkhxngkhwamtxenuxng cardinality of the continuum estcakd estnbid aelaestnbimid aekikhthascphcnkareluxk axiom of choice aelakditrwiphakh trichotomy law mixyusahrbphawaechingkarnb dngnneracasamarthsrangniyamthangeluxkehlaniid est X id thimiphawaechingkarnbnxykwakhxngcanwnthrrmchati nnkhux X lt N estnncaepnestcakd est X id thimiphawaechingkarnbethakbkhxngcanwnthrrmchati nnkhux X N ℵ0 estnncaepnestxnntthinbid est X id thimiphawaechingkarnbmakkwakhxngcanwnthrrmchati nnkhux X gt N twxyangechn R c gt N estnncaepnestxnntthinbimidestxnnt aekikhaenwkhwamkhiddngedimthiichkbestcakdphngthlaylngemuxphbkbestxnnt inchwngplaykhriststwrrsthi 19 ekxxrk khnthxr kxththlxb efrekx richard ededkhind aelaxikhlaythanimyxmrbmummxngkhxngkalielox sungsubthxdmacakyukhlid thiwa singthnghmdthngmwlimsamarthmikhnadethakbsingthiepnbangswn twxyanghnungkhuxptithrrsnorngaermihykhxnghilebirt Hilbert s paradox of the Grand Hotel ehtuphlkhxngkarimyxmrbaenwkhiddngklaw enuxngcakmilksnaechphaahlayxyangthixacthaihest A ihykwaest B hruxmikhnadethakbest B sungsmmulkninestcakd aetcaimsmmulkninestxnntxiktxip lksnaechphaathiaetktangknxacsamarththaihphlxxkmatangknkid twxyangechn lksnaechphaakhxngkhnadthieluxkodykhnthxr estxnnt A caihykwaestxnnt B inbangoxkas swnlksnaechphaaxyangxunsrupwa estxnnt A camikhnadethakbestxnnt B esmx dwyehtuphlwaepnxnntehmuxnknsahrbestcakd karnbkthuxepnkarsrangkhwamsmphnthhnungtxhnungthwthung rahwangestthithuknbkbswnhnungkhxngcanwnetmbwkodyerimcakhnungepntnip dngnncungimmirupaebbthiephiyngphxephuxkarnbestxnnt ephraakarnbcaihphlthiepnhnungediywbnestcakd inkhnathiestxnntcathukaethnthidwykhwamsmphnthhnungtxhnungkbcanwnechingxndbthithiaetktangknidhlayaebb sungkhunxyukbwaeracanb hruxeriyngladb estnnxyangirnxkcaknn lksnaechphaakhxngkhnadthiaetktangxxkipsungichkbestxnnt cathaihekidkarlaely kd tang thimixyuinestcakd echnlksnaechphaakhxngkhnthxrxnsngwnkdiwwa esthnung camikhnadihykwaestxuninbangoxkas idlaelykdkartdsmachikxxkcakestephuxthaihkhnadkhxngestelklng inkhnathilksnaechphaaaebbxun xacsngwnkdkartdsmachikxxkcakest aetlaelykdxyangxunxikkid yingipkwann lksnaechphaabangxyangxacimidlaelykd odytrng aetkimidrksakdnniw odytrng echnkn khunxyukbscphcnthinamaotaeyng xathiscphcnkareluxkhruxsmmtithankhwamtxenuxng sungcathaihekidkhwamepnipidsamkhxdngthixthibayiwkhangtn khwamepnipidaetlaxyangxaclaelykdbangkhx rksakdbangxyang thaihimxactdsinidthaaenwkhidnikhyayipthungmltiest kdxyangxunsungichkbmltiestcakdcathuklaelymakyingkhunipxik smmtiwaichaenwkhidkhxngkhnthxr echnkahndmltiestxnnt A kb B emux A imihykwa B aela B kimihykwa A aeteraimsamarthsrupidwa A kb B camikhnadethakn aetkdnicayngkhngxyusahrbmltiestcakd kditrwiphakhkthuklaelyinkrnithiepnmltiestechnknededkhindidniyamestxnntwamikhnadxnhnungthiehmuxnkn odyxyangnxykethakbestyxyaethkhxngmnexng sykrnxnntinlksnanieriykwaestxnntededkhind karniyamnisamarthichnganidkbscphcnkareluxkinbangrupaebbethann xyangirktam nkkhnitsastrbangthanksrupwaaenwkhidniichnganimidkhnthxridaenanacanwnechingkarnbthisungkhunipkwann ephuxaesdngihehnwaestxnntbangest mikhnadihykwaestxnntxun sungcanwnthinxythisudkkhuxphawaechingkarnbkhxngcanwnthrrmchati ℵ0 phawaechingkarnbkhxngkhwamtxenuxng aekikh dubthkhwamhlkthi phawaechingkarnbkhxngkhwamtxenuxng phllphththisakhythisudxnhnungkhxngkhnthxrkhuxkaraesdngwaphawaechingkarnbkhxngkhwamtxenuxng c displaystyle mathfrak c mikhamakkwaphawaechingkarnbkhxngcanwnthrrmchati ℵ0 nnkhuxyngmicanwncring R xun xikthimakipkwacanwnthrrmchati N khnthxridaesdngiwwa c 2 ℵ 0 gt ℵ 0 displaystyle mathfrak c 2 aleph 0 gt aleph 0 duephimthi karxangehtuphlaenwthaeyngkhxngkhnthxr dd smmtithankhwamtxenuxng continuum hypothesis rabuiwwa immicanwnechingkarnbidthimikhaxyurahwang phawaechingkarnbkhxngcanwncringkbphawaechingkarnbkhxngcanwnthrrmchati nnkhux c ℵ 1 ℶ 1 displaystyle mathfrak c aleph 1 beth 1 duephimthi ebthhnung dd xyangirktam smmtithanniyngimsamarthphisucnhruxptiesthidphayitthvsdiestechingscphcnaebb ZFC sungepnthvsdithiyxmrbknxyangkwangkhwangelkhkhnitechingkarnbksamarthichaesdngidwa imephiyngaekhcanwncudbnesncanwncringcaethakbcanwncudbnswnkhxngesntrngethann aetyngethakbcanwncudbnranabsxngmiti priphumisammiti hruxaemaetpriphumimiticakdid phllphthehlanixackhdkbsamysanukxyubang ephraamnepnkarsrupwaestyxyaethaelaestihyaethkhxngestxnnt S mikhnadethaknkb S thungaemwa S camismachikhlaytwthiimmixyuinestyxykhxngmn aelaestihykhxng S camismachikhlaytwthiimmixyuin S ktamphllphthxyangaerkkhxngsingehlanipraktodykarphicarnafngkchnaethnecntepntwxyang sungthaihekidkhwamsmphnthhnungtxhnungthwthungrahwangchwng p p kb R duephimthi ptithrrsnorngaermihykhxnghilebirt phllphthxyangthisxngaesdngiwodykhnthxremux kh s 1878 aetpraktsusatharnchnemux kh s 1890 intxnthi cuespep epxaon naesnxesnokhngetimetmpriphumi space filling curve sungesnokhngcabideliywipcnkwacaetimetmphunthiwanginrupsiehliymcturs hruxthrnglukbask hruxihephxrkhiwb hruxthiwanginmiticakdid xyangephiyngphx sungesnokhngehlaniimidepnkhxphisucnodytrngwa canwncudinesntrnghnungesncaethakbcanwncudinpriphumimiticakdxnhnung aetkepntwxyanghnungthiichphisucnidkhnthxryngidaesdngiwxikwa estthimiphawaechingkarnbmakkwa c displaystyle mathfrak c xyangaethcringkyngmixyuxik xathi estkhxngestyxythnghmdkhxng R echn estkalngkhxng R ekhiynaethndwy P R hrux 2R est RR khxngfngkchnthnghmdcak R ip Rsungthngkhumiphawaechingkarnbepn 2 c ℶ 2 gt c displaystyle 2 mathfrak c beth 2 gt mathfrak c duephimthi ebthsxng dd aelathaihekidphawaethaknrahwang c 2 c c ℵ 0 c c c 2 c displaystyle mathfrak c 2 mathfrak c mathfrak c aleph 0 mathfrak c mathfrak c mathfrak c 2 mathfrak c sungsamarthaesdngodyichelkhkhnitechingkarnbdngni c 2 2 ℵ 0 2 2 2 ℵ 0 2 ℵ 0 c displaystyle mathfrak c 2 left 2 aleph 0 right 2 2 2 times aleph 0 2 aleph 0 mathfrak c c ℵ 0 2 ℵ 0 ℵ 0 2 ℵ 0 ℵ 0 2 ℵ 0 c displaystyle mathfrak c aleph 0 left 2 aleph 0 right aleph 0 2 aleph 0 times aleph 0 2 aleph 0 mathfrak c c c 2 ℵ 0 c 2 c ℵ 0 2 c displaystyle mathfrak c mathfrak c left 2 aleph 0 right mathfrak c 2 mathfrak c times aleph 0 2 mathfrak c dd duephim aekikhcanwnxaelf canwnebth phawaechingxndbthiaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb phawaechingkarnbkhwamhmaykhxng cardinality Cardinality and Power set ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawaechingkarnb amp oldid 8829621, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม