fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาศาสตร์สังคม

ภาษาศาสตร์สังคม (อังกฤษ: sociolinguistics) คือการศึกษาเชิงพรรณนาเกี่ยวกับผลกระทบของแง่มุมใด ๆ ทั้งหมดของสังคม (รวมถึงบรรทัดฐาน ความคาดหวัง และบริบททางวัฒนธรรม) ต่อวิธีการใช้ภาษา และผลกระทบของสังคมต่อภาษา ภาษาศาสตร์สังคมแตกต่างจากสังคมวิทยาภาษาซึ่งมุ่งเน้นไปที่ผลกระทบของภาษาต่อสังคม ภาษาศาสตร์สังคมมีเนื้อหาซ้อนเหลื่อมกับวัจนปฏิบัติศาสตร์มาก และยังมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ บางคนตั้งคำถามถึงความแตกต่างระหว่างสาขาทั้งสองโดยเน้นย้ำความสัมพันธ์ต่อกันและกันในอดีต

ภาษาศาสตร์สังคมยังศึกษาว่าวิธภาษาระหว่างกลุ่มบุคคลที่แยกจากกันโดยตัวแปรทางสังคมบางอย่าง (เช่น ชาติพันธุ์ ศาสนา สถานภาพ สถานะเพศ ระดับการศึกษา อายุ ฯลฯ) มีความแตกต่างกันอย่างไร และการสร้างและความยึดมั่นในเกณฑ์เหล่านี้ถูกใช้ในการจัดจำแนกบุคคลในชั้นสังคมหรือชั้นเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างไร เนื่องจากการใช้ภาษานั้นแตกต่างกันไปในแต่ละสถานที่ การใช้ภาษาจึงแตกต่างกันไปตามชั้นสังคมด้วย และสังคมภาษณ์ (sociolect) เหล่านี้คือสิ่งที่ภาษาศาสตร์สังคมสนใจศึกษา

แง่มุมทางสังคมของภาษาได้รับการค้นคว้าตามแบบสมัยใหม่โดยนักภาษาศาสตร์ชาวอินเดียและชาวญี่ปุ่นในคริสต์ทศวรรษ 1930 และโดยหลุยส์ โกชา นักภาษาศาสตร์ชาวสวิส ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 แต่ยังไม่ได้รับความสนใจมากนักในซีกโลกตะวันตกจนกระทั่งในเวลาต่อมา ในทางกลับกัน การศึกษาเหตุจูงใจทางสังคมของการเปลี่ยนแปลงภาษามีรากฐานมาจากแบบจำลองคลื่นของปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 การใช้ศัพท์ ภาษาศาสตร์สังคม เป็นครั้งแรก (ที่ได้รับการยืนยัน) ปรากฏในชื่อบทความ "Sociolinguistics in India" ของทอมัส คัลลัน ฮอดสัน ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Man in India ใน ค.ศ. 1939 ภาษาศาสตร์สังคมปรากฏครั้งแรกในซีกโลกตะวันตกในคริสต์ทศวรรษ 1960 และได้รับการบุกเบิกโดยนักภาษาศาสตร์เช่นวิลเลียม ลาโบฟ ในสหรัฐ และบาซิล เบิร์นสไตน์ ในสหราชอาณาจักร ในคริสต์ทศวรรษ 1960 วิลเลียม อเล็กซานเดอร์ สจวร์ต และไฮนทซ์ โคลส ได้นำเสนอแนวคิดพื้นฐานสำหรับทฤษฎีภาษาศาสตร์สังคมของภาษาพหุศูนย์ ซึ่งอธิบายว่าวิธภาษามาตรฐานมีความแตกต่างกันอย่างไรในแต่ละชาติ (เช่น ภาษาอังกฤษแบบบริติช/อเมริกัน/แคนาดา/ออสเตรเลีย; ภาษาเยอรมันแบบเยอรมัน/ออสเตรีย/สวิส; ภาษาบอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบียแบบบอสเนีย/โครเอเชีย/มอนเตเนโกร/เซอร์เบีย เป็นต้น)

อ้างอิง

  1. Gumperz, John J.; Cook-Gumperz, Jenny (2008). "Studying language, culture, and society: Sociolinguistics or linguistic anthropology?". Journal of Sociolinguistics. 12 (4): 532–545. doi:10.1111/j.1467-9841.2008.00378.x.
  2. Paulston, Christine Bratt and G. Richard Tucker, eds. Sociolinguistics: The Essential Readings. Malden, Ma.: Wiley-Blackwell, 2003.
  3. T. C. Hodson and the Origins of British Socio-linguistics by John E. Joseph 2009-02-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Sociolinguistics Symposium 15, Newcastle-upon-Tyne, April 2004
  4. Stewart, William A (1968). "A Sociolinguistic Typology for Describing National Multilingualism". ใน Fishman, Joshua A (บ.ก.). Readings in the Sociology of Language. The Hague, Paris: Mouton. p. 534. doi:10.1515/9783110805376.531. ISBN 978-3-11-080537-6. OCLC 306499.
  5. Kloss, Heinz (1976). "Abstandsprachen und Ausbausprachen" [Abstand-languages and Ausbau-languages]. ใน Göschel, Joachim; Nail, Norbert; van der Elst, Gaston (บ.ก.). Zur Theorie des Dialekts: Aufsätze aus 100 Jahren Forschung. Zeitschrift für Dialektologie and Linguistik, Beihefte, n.F., Heft 16. Wiesbaden: F. Steiner. p. 310. OCLC 2598722.
  6. Ammon, Ulrich (1995). Die deutsche Sprache in Deutschland, Österreich und der Schweiz: das Problem der nationalen Varietäten [German Language in Germany, Austria and Switzerland: The Problem of National Varieties] (ภาษาเยอรมัน). Berlin & New York: Walter de Gruyter. pp. 1–11. OCLC 33981055.
  7. Kordić, Snježana (2010). Jezik i nacionalizam [Language and Nationalism] (PDF). Rotulus Universitas (ภาษาเซอร์โบ-โครเอเชีย). Zagreb: Durieux. pp. 77–90. doi:10.2139/ssrn.3467646. ISBN 978-953-188-311-5. LCCN 2011520778. OCLC 729837512. OL 15270636W. แม่แบบ:CROSBI. (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2012. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.

ภาษาศาสตร, งคม, งกฤษ, sociolinguistics, อการศ, กษาเช, งพรรณนาเก, ยวก, บผลกระทบของแง, มใด, งหมดของส, งคม, รวมถ, งบรรท, ดฐาน, ความคาดหว, และบร, บททางว, ฒนธรรม, อว, การใช, ภาษา, และผลกระทบของส, งคมต, อภาษา, แตกต, างจากส, งคมว, ทยาภาษาซ, งม, งเน, นไปท, ผลกระทบของภ. phasasastrsngkhm xngkvs sociolinguistics khuxkarsuksaechingphrrnnaekiywkbphlkrathbkhxngaengmumid thnghmdkhxngsngkhm rwmthungbrrthdthan khwamkhadhwng aelabribththangwthnthrrm txwithikarichphasa aelaphlkrathbkhxngsngkhmtxphasa phasasastrsngkhmaetktangcaksngkhmwithyaphasasungmungennipthiphlkrathbkhxngphasatxsngkhm phasasastrsngkhmmienuxhasxnehluxmkbwcnptibtisastrmak aelayngmikhwamekiywkhxngxyangiklchidkbmanusywithyaphasasastr bangkhntngkhathamthungkhwamaetktangrahwangsakhathngsxngodyennyakhwamsmphnthtxknaelakninxdit 1 phasasastrsngkhmyngsuksawawithphasarahwangklumbukhkhlthiaeykcakknodytwaeprthangsngkhmbangxyang echn chatiphnthu sasna sthanphaph sthanaephs radbkarsuksa xayu l mikhwamaetktangknxyangir aelakarsrangaelakhwamyudmnineknthehlanithukichinkarcdcaaenkbukhkhlinchnsngkhmhruxchnesrsthkicaelasngkhmidxyangir enuxngcakkarichphasannaetktangknipinaetlasthanthi karichphasacungaetktangkniptamchnsngkhmdwy aelasngkhmphasn sociolect ehlanikhuxsingthiphasasastrsngkhmsnicsuksaaengmumthangsngkhmkhxngphasaidrbkarkhnkhwatamaebbsmyihmodynkphasasastrchawxinediyaelachawyipuninkhristthswrrs 1930 aelaodyhluys okcha nkphasasastrchawswis intnkhristthswrrs 1900 aetyngimidrbkhwamsnicmaknkinsikolktawntkcnkrathnginewlatxma inthangklbkn karsuksaehtucungicthangsngkhmkhxngkarepliynaeplngphasamirakthanmacakaebbcalxngkhlunkhxngplaykhriststwrrsthi 19 karichsphth phasasastrsngkhm epnkhrngaerk thiidrbkaryunyn praktinchuxbthkhwam Sociolinguistics in India khxngthxms khlln hxdsn thitiphimphinwarsar Man in India in kh s 1939 2 3 phasasastrsngkhmpraktkhrngaerkinsikolktawntkinkhristthswrrs 1960 aelaidrbkarbukebikodynkphasasastrechnwileliym laobf inshrth aelabasil ebirnsitn inshrachxanackr inkhristthswrrs 1960 wileliym xelksanedxr scwrt 4 aelaihnths okhls idnaesnxaenwkhidphunthansahrbthvsdiphasasastrsngkhmkhxngphasaphhusuny sungxthibaywawithphasamatrthanmikhwamaetktangknxyangirinaetlachati echn phasaxngkvsaebbbritich xemrikn aekhnada xxsetreliy 5 phasaeyxrmnaebbeyxrmn xxsetriy swis 6 phasabxseniy okhrexechiy mxnetenokr esxrebiyaebbbxseniy okhrexechiy mxnetenokr esxrebiy 7 epntn xangxing aekikh Gumperz John J Cook Gumperz Jenny 2008 Studying language culture and society Sociolinguistics or linguistic anthropology Journal of Sociolinguistics 12 4 532 545 doi 10 1111 j 1467 9841 2008 00378 x Paulston Christine Bratt and G Richard Tucker eds Sociolinguistics The Essential Readings Malden Ma Wiley Blackwell 2003 T C Hodson and the Origins of British Socio linguistics by John E Joseph Archived 2009 02 10 thi ewyaebkaemchchin Sociolinguistics Symposium 15 Newcastle upon Tyne April 2004 Stewart William A 1968 A Sociolinguistic Typology for Describing National Multilingualism in Fishman Joshua A b k Readings in the Sociology of Language The Hague Paris Mouton p 534 doi 10 1515 9783110805376 531 ISBN 978 3 11 080537 6 OCLC 306499 Kloss Heinz 1976 Abstandsprachen und Ausbausprachen Abstand languages and Ausbau languages in Goschel Joachim Nail Norbert van der Elst Gaston b k Zur Theorie des Dialekts Aufsatze aus 100 Jahren Forschung Zeitschrift fur Dialektologie and Linguistik Beihefte n F Heft 16 Wiesbaden F Steiner p 310 OCLC 2598722 Ammon Ulrich 1995 Die deutsche Sprache in Deutschland Osterreich und der Schweiz das Problem der nationalen Varietaten German Language in Germany Austria and Switzerland The Problem of National Varieties phasaeyxrmn Berlin amp New York Walter de Gruyter pp 1 11 OCLC 33981055 Kordic Snjezana 2010 Jezik i nacionalizam Language and Nationalism PDF Rotulus Universitas phasaesxrob okhrexechiy Zagreb Durieux pp 77 90 doi 10 2139 ssrn 3467646 ISBN 978 953 188 311 5 LCCN 2011520778 OCLC 729837512 OL 15270636W aemaebb CROSBI ekb PDF cakaehlngedimemux 1 June 2012 subkhnemux 17 May 2019 bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasa ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasasastrsngkhm amp oldid 9323930, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม