fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษามอนเตเนโกร

ภาษามอนเตเนโกร (อังกฤษ: Montenegrin; มอนเตเนโกร: црногорски, crnogorski) คือวิธภาษาเชิงบรรทัดฐานของภาษาบอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย ส่วนใหญ่ใช้โดยชาวมอนเตเนโกรและเป็นภาษาทางการของประเทศมอนเตเนโกร ภาษามอนเตเนโกรมีพื้นฐานมาจากภาษาย่อยชทอคาเวียน (ซึ่งเป็นภาษาย่อยที่แพร่หลายมากที่สุดของภาษาบอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย) หรือหากเจาะจงลงอีกก็คือสำเนียงเฮอร์เซโกวีนาตะวันออกซึ่งยังเป็นพื้นฐานของภาษาโครเอเชีย ภาษาเซอร์เบีย และภาษาบอสเนียมาตรฐานอีกด้วย

ภาษามอนเตเนโกร
црногорски / crnogorski
ออกเสียง[tsr̩nǒɡorskiː]
ประเทศที่มีการพูดมอนเตเนโกร
ชาติพันธุ์มอนเตเนโกร
จำนวนผู้พูด232,600[ไม่แน่ใจ]  (2011) 
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรซีริลลิก (อักษรมอนเตเนโกร)
อักษรละติน (อักษรมอนเตเนโกร)
อักษรเบรลล์ยูโกสลาฟ
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ มอนเตเนโกร
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
เทศบาลมาลีอิจ็อช (วอยวอดีนา เซอร์เบีย)
ผู้วางระเบียบคณะกรรมการสร้างมาตรฐานภาษามอนเตเนโกร
รหัสภาษา
ISO 639-2cnr
ISO 639-3cnr
Linguaspherepart of 53-AAA-g
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาของมอนเตเนโกรในประวัติศาสตร์และตามธรรมเนียมเดิมมีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้ง "ภาษามอนเตเนโกร" "ภาษาของเรา" และ "ภาษาเซอร์เบีย" แนวคิดเกี่ยวกับการวางมาตรฐานภาษามอนเตเนโกรแยกจากภาษาเซอร์เบียปรากฏขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1990 ระหว่างการล่มสลายของยูโกสลาเวีย ผ่านบรรดาผู้สนับสนุนเอกราชมอนเตเนโกรจากสหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ภาษามอนเตเนโกรกลายเป็นภาษาทางการของมอนเตเนโกรหลังจากการให้สัตยาบันรัฐธรรมนูญฉบับใหม่เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 2007

มาตรฐานภาษามอนเตเนโกรยังอยู่ระหว่างการพัฒนา ระบบการเขียนได้รับการกำหนดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 ด้วยการเพิ่มตัวอักษรสองตัวเข้าไปในชุดตัวอักษร การใช้งานตัวอักษรดังกล่าวเป็นที่โต้เถียงและได้รับการยอมรับจากสาธารณชนในวงจำกัดโดยมีผู้เสนอตัวสะกดทางเลือก ตัวอักษรทั้งสองถูกนำมาใช้ในเอกสารทางการตั้งแต่ ค.ศ. 2009 แต่ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017 ก็ถูกรัฐสภามอนเตเนโกรตัดออกจากเอกสารทุกประเภทของรัฐ

อ้างอิง

  1. ได้แก่ 229,251 คนในมอนเตเนโกร (ร้อยละ 36.97),[โปรดขยายความ] 2,519 คนในเซอร์เบีย, 876 คนในโครเอเชีย
  2. สภายุโรป: [1] (ในภาษาอังกฤษ)
  3. https://balkaninsight.com/2017/08/07/serbian-montenegrins-demand-right-to-use-native-language-08-04-2017/
  4. "cnr - ISO 639-3". www-01.sil.org.
  5. Šipka, Danko (2019). Lexical layers of identity: words, meaning, and culture in the Slavic languages. New York: Cambridge University Press. p. 201. doi:10.1017/9781108685795. ISBN 978-953-313-086-6. LCCN 2018048005. OCLC 1061308790. the Montenegrin language (one of the four ethnic variants of Serbo-Croatian)
  6. http://www.rferl.org/content/Serbian_Croatian_Bosnian_or_Montenegrin_Many_In_Balkans_Just_Call_It_Our_Language_/1497105.html Serbian, Croatian, Bosnian, Or Montenegrin? Or Just 'Our Language'?], Radio Free Europe, February 21, 2009
  7. "Reprint: A speech in the Assembly gathering on the 16th of February, 1898. made during the respective discussion by the representative of Ante Trumbić". Kolo Matice Hrvatske. 1, 2: 200–201. 1991.
  8. Nenadović, Ljubomir (1889). "O Crnogorcima: Pisma sa Cetinja 1878. godine". Novi Sad. ISBN 86-7558-383-4.
  9. Encyclopædia Britannica, Eleventh Edition (1910–11). 1911. p. 771.
  10. De Bajza, Giuseppe (1928). La questione Montenegrina. Budapest, Hungary: Casa editrice Franklin.
  11. cf. Roland Sussex, Paul Cubberly, The Slavic Languages, Cambridge University Press, Cambridge 2006; esp. v. pp. 73: "Serbia had used Serbian as an official language since 1814, and Montenegro even earlier.".
  12. "CG: Niko neće crnogorska slova". Večernje Novosti. 1 October 2013.
  13. "Crnogorska skupština odustala od upotrebe slova ś i ź". Sputnik News Serbia. 2 February 2017.

ภาษามอนเตเนโกร, งกฤษ, montenegrin, มอนเตเนโกร, црногорски, crnogorski, อว, ธภาษาเช, งบรรท, ดฐานของภาษาบอสเน, โครเอเช, มอนเตเนโกร, เซอร, เบ, วนใหญ, ใช, โดยชาวมอนเตเนโกรและเป, นภาษาทางการของประเทศมอนเตเนโกร, นฐานมาจากภาษาย, อยชทอคาเว, ยน, งเป, นภาษาย, อยท, แพร, . phasamxnetenokr xngkvs Montenegrin mxnetenokr crnogorski crnogorski khuxwithphasaechingbrrthdthankhxngphasabxseniy okhrexechiy mxnetenokr esxrebiy 5 swnihyichodychawmxnetenokraelaepnphasathangkarkhxngpraethsmxnetenokr phasamxnetenokrmiphunthanmacakphasayxychthxkhaewiyn sungepnphasayxythiaephrhlaymakthisudkhxngphasabxseniy okhrexechiy mxnetenokr esxrebiy hruxhakecaacnglngxikkkhuxsaeniyngehxresokwinatawnxxksungyngepnphunthankhxngphasaokhrexechiy phasaesxrebiy aelaphasabxseniymatrthanxikdwy 6 phasamxnetenokrcrnogorski crnogorskixxkesiyng tsr nǒɡorskiː praethsthimikarphudmxnetenokrchatiphnthumxnetenokrcanwnphuphud232 600 1 imaenic phudkhuy 2011 trakulphasaxinod yuorepiyn bxlot slawikslawikslawikitslawikittawntkbxseniy okhrexechiy mxnetenokr esxrebiyphasamxnetenokrrabbkarekhiynxksrsirillik xksrmxnetenokr xksrlatin xksrmxnetenokr xksrebrllyuokslafsthanphaphthangkarphasathangkar mxnetenokrphasachnklumnxythirbrxngin bxseniyaelaehxresokwina 2 ethsbalmalixicxch wxywxdina esxrebiy 3 phuwangraebiybkhnakrrmkarsrangmatrthanphasamxnetenokrrhsphasaISO 639 2cnrISO 639 3cnr 4 Linguaspherepart of 53 AAA gbthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhdphasakhxngmxnetenokrinprawtisastraelatamthrrmeniymedimmichuxeriykhlaychux thng phasamxnetenokr 7 8 9 10 phasakhxngera 7 aela phasaesxrebiy 11 aenwkhidekiywkbkarwangmatrthanphasamxnetenokraeykcakphasaesxrebiypraktkhuninkhristthswrrs 1990 rahwangkarlmslaykhxngyuokslaewiy phanbrrdaphusnbsnunexkrachmxnetenokrcakshphaphrthesxrebiyaelamxnetenokr phasamxnetenokrklayepnphasathangkarkhxngmxnetenokrhlngcakkarihstyabnrththrrmnuychbbihmemuxwnthi 22 tulakhm kh s 2007matrthanphasamxnetenokryngxyurahwangkarphthna rabbkarekhiynidrbkarkahndkhunemuxwnthi 10 krkdakhm kh s 2009 dwykarephimtwxksrsxngtwekhaipinchudtwxksr karichngantwxksrdngklawepnthiotethiyngaelaidrbkaryxmrbcaksatharnchninwngcakdodymiphuesnxtwsakdthangeluxk 12 twxksrthngsxngthuknamaichinexksarthangkartngaet kh s 2009 aetineduxnkumphaphnth kh s 2017 kthukrthsphamxnetenokrtdxxkcakexksarthukpraephthkhxngrth 13 xangxing aekikh idaek 229 251 khninmxnetenokr rxyla 36 97 oprdkhyaykhwam 2 519 khninesxrebiy 876 khninokhrexechiy sphayuorp 1 inphasaxngkvs https balkaninsight com 2017 08 07 serbian montenegrins demand right to use native language 08 04 2017 cnr ISO 639 3 www 01 sil org Sipka Danko 2019 Lexical layers of identity words meaning and culture in the Slavic languages New York Cambridge University Press p 201 doi 10 1017 9781108685795 ISBN 978 953 313 086 6 LCCN 2018048005 OCLC 1061308790 the Montenegrin language one of the four ethnic variants of Serbo Croatian http www rferl org content Serbian Croatian Bosnian or Montenegrin Many In Balkans Just Call It Our Language 1497105 html Serbian Croatian Bosnian Or Montenegrin Or Just Our Language Radio Free Europe February 21 2009 7 0 7 1 Reprint A speech in the Assembly gathering on the 16th of February 1898 made during the respective discussion by the representative of Ante Trumbic Kolo Matice Hrvatske 1 2 200 201 1991 Nenadovic Ljubomir 1889 O Crnogorcima Pisma sa Cetinja 1878 godine Novi Sad ISBN 86 7558 383 4 Encyclopaedia Britannica Eleventh Edition 1910 11 1911 p 771 De Bajza Giuseppe 1928 La questione Montenegrina Budapest Hungary Casa editrice Franklin cf Roland Sussex Paul Cubberly The Slavic Languages Cambridge University Press Cambridge 2006 esp v pp 73 Serbia had used Serbian as an official language since 1814 and Montenegro even earlier CG Niko nece crnogorska slova Vecernje Novosti 1 October 2013 Crnogorska skupstina odustala od upotrebe slova s i z Sputnik News Serbia 2 February 2017 bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasaekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasamxnetenokr amp oldid 8723075, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม