fbpx
วิกิพีเดีย

เครื่องหมายวรรคตอน

เครื่องหมายวรรคตอน เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเขียนอักษรในภาษาหนึ่ง ๆ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งวรรคตอน มักจะไม่เกี่ยวกับระบบเสียงใด ๆ ทั้งสิ้น

เครื่องหมายวรรคตอน
วรรคตอน
อะพอสทรอฟี   '
วงเล็บ [ ]  ( )  { }  ⟨ ⟩
ทวิภาค :
จุลภาค ,  ،  
จุดไข่ปลา   ...  . . .      
อัศเจรีย์  !
มหัพภาค .
กิลเลอเมต ‹ ›  « »
ยัติภังค์ -
ยัติภาค   
ปรัศนี  ?
อัญประกาศ ‘ ’  “ ”  ' '  " "
อัฒภาค ;
ทับ /    
ตัวแบ่งคำ
อินเตอร์พังก์ ·
เว้นวรรค     
การพิมพ์ทั่วไป
แอมเพอร์แซนด์ &
ดอกจัน *
แอต @
แบ็กสแลช \
เบสิสพอยต์
บุลเลต
แคเรต ^
แดกเกอร์ † ‡ ⹋
องศา °
บุพสัญญา ” 〃
ดับเบิลไฮเฟน = ⸗
อัศเจรีย์กลับหัว ¡
ปรัศนีกลับหัว ¿
เครื่องหมายอ้างอิง
เครื่องหมายคูณ ×
นัมเบอร์, แฮชแท็ก #
นูเมอโร
ออเบอลุส ÷
ตัวบอกลำดับ º ª
สัญลักษณ์ร้อยละ (เปอร์เซ็นต์)  %
สัญลักษณ์พันละ (เปอร์มิลล์)
พิลโครว์
บวกและลบ + −
บวกหรือลบ ± ∓
ไพรม์     
เซกชัน §
ทิลเดอ, ตัวหนอน ~
อันเดอร์สกอร์ _
เส้นตั้ง |    ¦
ทรัพย์สินทางปัญญา
ลิขสิทธิ์ ©
กอปปีเลฟต์ 🄯
ลิขสิทธิ์การอัดเสียง
เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ®
เซอร์วิสมาร์ก
เครื่องหมายการค้า
สกุลเงิน
เครื่องหมายสัญลักษณ์สกุลเงิน ¤
สัญลักษณ์สกุลเงิน

؋ ​₳ ​ ฿ ​ ₵ ​¢ ​₡ ​₢ ​ $ ​ ​₯ ​֏ ​ ₠ ​€ ​ ƒ ​₣ ​ ₲ ​ ₴ ​ ₭ ​ ₺ ​₾ ​ ₼ ​ℳ ​₥ ​ ₦ ​ ₧ ​ ​₰ ​£ ​ 元 圆 圓 ​﷼ ​ ​₽ ​ ​ ₪ ​ ৳ ​₸ ​₮ ​ ₩ ​ ¥

การพิมพ์เฉพาะทาง
แอสเทอริซึม
ฟลอวรอน
ดัชนี
อินเทอร์รอแบง
วรรคตอนไอเรอนี
ลอซินจ์
ไท
ที่เกี่ยวข้อง
ในภาษาอื่น ๆ
  • จีน
  • ฮีบรู
  • ญี่ปุ่น
  • เกาหลี
ในภาษาไทย
  • หมวดหมู่

ในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ กัน และมีกฎเกณฑ์การใช้ต่าง ๆ กัน ซึ่งผู้ใช้ภาษานั้นจะต้องทราบ และใช้ตามกฎที่ปฏิบัติกันมา เพื่อให้มีความเข้าใจในภาษาไปในทางเดียวกัน

เครื่องหมายวรรคตอนภาษาไทย

ในเอกสารโบราณของไทยมีเครื่องหมายวรรคตอนของไทยอยู่หลายตัว และบางตัวนิยมใช้มาถึงปัจจุบัน โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มตามเกณฑ์การใช้งาน ดังนี้

  1. เครื่องหมายกำกับเสียง ได้แก่
    1. ไม้ยมก: ใช้เพื่อซ้ำเสียงเดิม
    2. ทัณฑฆาต: ใช้เพื่อฆ่าเสียง หรือเพื่อไม่ออกเสียงพยัญชนะที่กำกับไว้
    3. ยามักการ: ใช้เพื่อควบกล้ำเสียงพยัญชนะ
  2. เครื่องหมายกำกับวรรคตอน ได้แก่
    1. ไปยาลน้อย: ใช้ย่อคำ
    2. ไปยาลใหญ่: ใช้ละข้อความ
    3. ฟองมัน: ใช้ขึ้นต้นข้อความ
    4. อังคั่นเดี่ยว (ขั้นเดี่ยว): ใช้เขียนเมื่อจบประโยค หรือเป็นเครื่องหมายบอกวันเดือนทางจันทรคติ
    5. อังคั่นคู่ (ขั้นคู่): ใช้เขียนเมื่อจบข้อความใหญ่ หรือจบตอน
    6. อังคั่นวิสรรชนีย์: ใช้เขียนเมื่อจบเรื่อง
    7. โคมูตร: ใช้เมื่อสิ้นสุดข้อความ หรือบทกลอน
    8. มหัพภาค: ใช้ย่อคำ
    9. เสมอภาค: ไช้สำหรับตัวเลขที่เท่ากัน

หรือแบ่งเป็น 2 กลุ่มตามเกณฑ์ที่มา

    1. เครื่องหมายวรรคตอนที่เป็นของไทยแต่เดิม ได้แก่ ตาไก่ โคมูตร เป็นต้น
    2. เครื่องหมายวรรคตอนที่รับอิทธิพลการเขียนจากต่างประเทศ เช่น จุลภาค มหัพภาค เป็นต้น

เคร, องหมายวรรคตอน, เป, นเคร, องหมายหร, อส, ญล, กษณ, เข, ยนข, นเพ, อใช, ประกอบการเข, ยนอ, กษรในภาษาหน, เพ, อประโยชน, ในการแบ, งวรรคตอน, กจะไม, เก, ยวก, บระบบเส, ยงใด, งส, นวรรคตอนอะพอสทรอฟ, วงเล, ทว, ภาค, ลภาค, ดไข, ปลา, ฯอ, ศเจร, มห, พภาค, ลเลอเมต, งค, ภาค, ป. ekhruxnghmaywrrkhtxn epnekhruxnghmayhruxsylksnthiekhiynkhunephuxichprakxbkarekhiynxksrinphasahnung ephuxpraoychninkaraebngwrrkhtxn mkcaimekiywkbrabbesiyngid thngsinekhruxnghmaywrrkhtxnwrrkhtxnxaphxsthrxfi wngelb thwiphakh culphakh cudikhpla xsecriy mhphphakh kilelxemt ytiphngkh ytiphakh prsni xyprakas xthphakh thb twaebngkhaxinetxrphngk ewnwrrkh karphimphthwipaexmephxraesnd amp dxkcn aext aebksaelch ebsisphxyt bulelt aekhert aedkekxr xngsa buphsyya dbebilihefn xsecriyklbhw prsniklbhw ekhruxnghmayxangxing ekhruxnghmaykhun nmebxr aehchaethk nuemxor xxebxlus twbxkladbº ªsylksnrxyla epxresnt sylksnphnla epxrmill philokhrw bwkaelalb bwkhruxlb iphrm eskchn thiledx twhnxn xnedxrskxr esntng thrphysinthangpyyalikhsiththi c kxppielft likhsiththikarxdesiyng ekhruxnghmaykarkhacdthaebiyn esxrwismark ekhruxnghmaykarkha skulenginekhruxnghmaysylksnskulengin sylksnskulengin ƒ ℳ 元 圆 圓 円karphimphechphaathangaexsethxrisum flxwrxn dchni xinethxrrxaebng wrrkhtxnixerxni lxsinc ith thiekiywkhxngekhruxnghmayesrimxksrekhruxnghmaytrrksastr xksriwthsepsinphasaxun cinhibruyipunekahliinphasaithyokhmutrtinkhru ipyalnxyipyalihylfxngmnimymkxngkhn a ahmwdhmudkhkinaetlaphasacamiekhruxnghmaywrrkhtxntang kn aelamikdeknthkarichtang kn sungphuichphasanncatxngthrab aelaichtamkdthiptibtiknma ephuxihmikhwamekhaicinphasaipinthangediywknekhruxnghmaywrrkhtxnphasaithy aekikhinexksarobrankhxngithymiekhruxnghmaywrrkhtxnkhxngithyxyuhlaytw aelabangtwniymichmathungpccubn odyaebngidepn 2 klumtameknthkarichngan dngni ekhruxnghmaykakbesiyng idaek imymk ichephuxsaesiyngedim thnthkhat ichephuxkhaesiyng hruxephuximxxkesiyngphyychnathikakbiw yamkkar ichephuxkhwbklaesiyngphyychna ekhruxnghmaykakbwrrkhtxn idaek ipyalnxy ichyxkha ipyalihy ichlakhxkhwam fxngmn ichkhuntnkhxkhwam xngkhnediyw khnediyw ichekhiynemuxcbpraoykh hruxepnekhruxnghmaybxkwneduxnthangcnthrkhti xngkhnkhu khnkhu ichekhiynemuxcbkhxkhwamihy hruxcbtxn xngkhnwisrrchniy ichekhiynemuxcberuxng okhmutr ichemuxsinsudkhxkhwam hruxbthklxn mhphphakh ichyxkha esmxphakh ichsahrbtwelkhthiethaknhruxaebngepn 2 klumtameknththima ekhruxnghmaywrrkhtxnthiepnkhxngithyaetedim idaek taik okhmutr epntn ekhruxnghmaywrrkhtxnthirbxiththiphlkarekhiyncaktangpraeths echn culphakh mhphphakh epntn bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasaekhathungcak https th wikipedia org w index php title ekhruxnghmaywrrkhtxn amp oldid 9314976, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม