fbpx
วิกิพีเดีย

อาหารไม่ย่อย

อาหารไม่ย่อย หรือ อาหารย่อยไม่ดี (อังกฤษ: Indigestion, Dyspepsia) เป็นการย่อยอาหารอย่างบกพร่อง อาการอาจรวมท้อง (ส่วนบน) อืด แสบร้อนกลางอก คลื่นไส้ เรอ หรือปวดท้องด้านบน ผู้มีอาการอาจรู้สึกอิ่มเร็วกว่าปกติ นี่เป็นปัญหาที่สามัญและบ่อยครั้งมีเหตุจากโรคกรดไหลย้อนหรือกระเพาะอาหารอักเสบ ในกรณีส่วนน้อย อาจเป็นอาการแรกของโรคแผลเปื่อยเพปติก คือเป็นแผลเปื่อยในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น หรือบางครั้งเป็นมะเร็ง ดังนั้น อาหารไม่ย่อยที่ยังไม่ทราบสาเหตุในผู้อายุมากกว่า 55 ปี หรือมีอาการน่าเป็นห่วงอื่น ๆ อาจต้องตรวจเพิ่ม

อาหารย่อยไม่ดี
(Indigestion)
ชื่ออื่นDyspepsia
สาขาวิชาวิทยาทางเดินอาหาร

ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า functional indigestion (อาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่ เคยเรียกว่า nonulcer dyspepsia [อาหารไม่ย่อยที่ไม่มีแผล]) เป็นอาหารไม่ย่อย "ที่ไม่มีหลักฐานว่าเป็นโรคกาย (organic disease) ที่อาจจะอธิบายอาการได้" โดยมีผลกระทบต่อประชากร 15% ในประเทศตะวันตก

อาการ

ในกรณีโดยมาก ประวัติคนไข้จะมีประโยชน์จำกัดเพื่อแยกแยกระหว่างโรคทางกาย (organic) จากโรคโดยหน้าที่ (functional) งานทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบปี 2006 ได้ประเมินประสิทธิผลของการวินิจฉัยโรคกายอาศัยความเห็นแพทย์ โดยเทียบกับเมื่อวินิจฉัยอาศัยแบบจำลองคอมพิวเตอร์ที่ใช้ใช้ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ ปัจจัยเสี่ยง รายการประวัติ และอาการของคนไข้ งานศึกษาได้แสดงว่า ในบรรดาคนไข้ที่ส่งต่อให้ส่องกล้องดูทางอาหารส่วนบน ทั้งความเห็นแพทย์และแบบจำลองคอมพิวเตอร์ไม่สามารถแยกแยะโรคทางกายแยกจากโรคโดยหน้าที่ได้ดีพอ

งานหนึ่งเทียบคนไข้ที่มีโรคแผลเปื่อยเพปติกกับคนไข้ที่มีอาการอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่เมื่อปรับอายุและเพศให้สมกันแล้ว แม้กลุ่มคนไข้ที่มีอาการแบบโดยหน้าที่จะท้องอืดด้านบน คลื่นไส้ เป็นทุกข์และกังวลมากกว่า แต่อาการเกือบทั้งหมดก็มีในคนไข้ทั้งสองกลุ่ม จึงเป็นเรื่องยากที่แพทย์จะระบุคนไข้ที่อาจมีโรคทางกาย และดังนั้น จึงควรตรวจเพิ่มเพื่อแยกคนไข้ที่มีโรคโดยหน้าที่ผู้ได้รับการทดลองรักษาด้วยยาตามอาการแล้ว โดยการตรวจควรมีเป้าหมายเพื่อระบุหรือกันออกเหตุของอาการโดยเฉพาะ ๆ ตามธรรมดาแล้ว คนไข้ที่เสี่ยงก็คือผู้ที่มีอาการน่าเป็นห่วง แต่ประโยชน์ของอาการเช่นนี้ เพื่อกำหนดว่ามีมะเร็งหลอดอาหารหรือกระเพาะอาหารหรือไม่ ก็ยังเป็นเรื่องยังไม่ยุติ งานวิเคราะห์อภิมานได้ตรวจความไวและความจำเพาะของอาการน่าเป็นห่วงต่าง ๆ แล้วพบค่าอยู่ที่ 0-83% และ 40-98% ตามลำดับ แต่งานศึกษาที่ได้ตรวจดูก็มีความแตกต่างกันอย่างมากมาย

การตรวจร่างกายอาจพบอาการกดเจ็บที่ท้อง แต่นี่ไม่ได้แสดงอะไรโดยจำเพาะเจาะจง ถ้าพบ Carnett sign คืออาการกดเจ็บที่ท้องที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเกร็งท้องหรือเมื่อคลำตรวจ นี่จะแสดงนัยว่ามีสมุฏฐานจากกล้ามเนื้อผนังท้อง การเจ็บปวดที่ผิวหนังโดยกระจายไปทั่ว dermatome อาจแสดง polyradiculopathy ในระดับทรวงอก ส่วนอาการกดเจ็บที่ท้องด้านขวาด้านบนอาจแสดงถุงน้ำดีอักเสบเรื้อรัง

เหตุ

ที่ไม่เกี่ยวกับแผลเปื่อย

ในบรรดาคนไข้อาหารไม่ย่อย ร้อยละ 50-70 จะไม่สามารถระบุโรคทางกายที่เป็นเหตุของอาการได้ ซึ่งในกรณีนี้ อาจเรียกว่าได้ว่า เป็นอาหารไม่ย่อยที่ไม่เกี่ยวกับแผลเปื่อย และวินิจฉัยอาศัยการมีการปวดที่ยอดอกเป็นอย่างน้อย 6 เดือน โดยไร้สาเหตุอื่นที่อาจอธิบายอาการได้

หลังติดเชื้อ

กระเพาะและลำไส้เล็กอักเสบอาจเพิ่มโอกาสเสี่ยงให้เกิดอาหารไม่ย่อยแบบเรื้อรัง ส่วนอาหารไม่ย่อยหลังติดเชื้อ (infectious dyspepsia) เป็นคำที่ใช้เมื่อมีอาการอาหารไม่ย่อยหลังจากกระเพาะและลำไส้เล็กเกิดติดเชื้อแบบฉับพลัน นักวิชาการเชื่อว่า มูลฐานของกลุ่มอาการลำไส้ไวเกินต่อการกระตุ้น (IBS) และอาหารไม่ย่อยหลังติดเชื้ออาจคล้ายกัน โดยเป็นด้านต่าง ๆ ของพยาธิสรีรวิทยาเดียวกัน

โดยหน้าที่/การทำงาน

อาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่/การทำงาน (functional dyspepsia) เป็นอาหารไม่ย่อยเรื้อรังแบบสามัญที่สุด คือคนไข้อาการนี้ถึง 70% จะไม่สามารถตรวจพบว่าเป็นโรคกายที่เนื่องกับอาการ โดยอาการอาจมาจากปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างระบบประสาท อาหารค้างอยู่ในกระเพาะนาน (เช่น เพราะเหตุอัมพฤกษ์กระเพาะ) หรือการปรับรับอาหารได้บกพร่อง ความวิตกกังวลยังสัมพันธ์กับอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่อีกด้วย ในบางกรณี มันอาจเป็นอาการที่ปรากฏก่อนอาการลำไส้-ทางเดินอาหารอื่น ๆ ในบางกรณี ความวิตกกังวลจะเกิดหลังจากเกิดอาการนี้ ซึ่งแสดงนัยว่ามีความผิดปกติในการส่งสัญญาณระหว่างลำไส้-ทางเดินอาหารกับสมอง แม้ไม่เป็นโรคร้าย แต่อาการก็อาจเรื้อรังและรักษายาก

อาหารที่ประกอบด้วยข้าวสาลีและไขมันอาจทำให้อาหารไม่ย่อย ดังนั้น การลดหรือหยุดอาหารเหล่านั้นอาจทำให้อาการดีขึ้น

โรคทางเดินอาหาร

เมื่อสามารถหาเหตุได้ โดยมากก็จะเป็นโรคกรดไหลย้อนและโรคแผลเปื่อยเพปติก เหตุที่สามัญน้อยกว่ารวมทั้งกระเพาะอักเสบ, มะเร็งกระเพาะอาหาร, มะเร็งหลอดอาหาร, coeliac disease, แพ้อาหาร, โรคลำไส้อักเสบ, mesenteric ischemia ซึ่งเป็นภาวะที่ลำไส้เล็กบาดเจ็บเนื่องจากไม่ได้รับเลือดเพียงพอ, และอัมพฤกษ์กระเพาะอาหาร

โรคตับและตับอ่อน

โรคตับและตับอ่อนที่ทำให้เกิดอาการนี้รวมทั้งโรคนิ่วน้ำดี ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง และมะเร็งตับอ่อน

การรับอาหารและยา

อาหารไม่ย่อยแบบฉับพลันโดยเป็นชั่วคราวอาจเกิดจากการทานอาหารมากเกินไป เร็วเกินไป ทานอาหารไขมันสูง ทานอาหารเมื่อเครียด หรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือกาแฟมากเกินไป มียาหลายชนิดทำให้อาหารไม่ย่อย รวมทั้ง

การติดเชื้อ Helicobacter pylori

บทบาทของแบคทีเรีย Helicobacter pylori ในอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่ยังเป็นเรื่องไม่ยุติ โดยยังไม่ปรากฏความสัมพันธ์แบบเป็นเหตุผลที่ชัดเจน ซึ่งจริงทั้งในเรื่องของอาการและพยาธิสรีรวิทยา แม้จะมีงานศึกษาทางวิทยาการระบาดบ้างที่ได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการติดเชื้อ H. pylori กับอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่ แต่งานศึกษาอื่น ๆ ก็ไม่แสดง ข้อขัดแย้งอาจมาจากความแตกต่างของวิธีการที่ใช้ และการไม่พิจารณาตัวแปรกวน เช่น ประวัติว่าเคยมีโรคแผลเปื่อยเพปติกมาก่อน และสถานะทางสังคม-เศรษฐกิจ

การทดลองที่มีกลุ่มควบคุมต่าง ๆ สรุปไม่เหมือนกันว่า การกำจัดเชื้อ H. pylori มีประโยชน์ต่ออาการอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่หรือไม่ โดยการทดลองประมาณครึ่งหนึ่งแสดงว่ามีผลดี ส่วนอีกครึ่งไม่แสดงว่ามีประโยชน์ การทดลองรวมข้อมูลหลายศูนย์ในสหรัฐที่จัดคนไข้โดยสุ่มเข้ากลุ่มรักษาหรือกลุ่มยาหลอกแล้วติดตามคนไข้ 12 เดือนพบว่า 28% ของคนไข้ที่รักษาและ 23% ที่ได้รับยาหลอกรายงานว่า อาการบรรเทาลงเมื่อติดตามที่ 12 เดือน เช่นเดียวกัน งานทดลองในยุโรปก็ไม่แสดงความแตกต่างการบรรเทาอาการที่สำคัญเมื่อกำจัดเชื้อ H. pylori เทียบกับกลุ่มควบคุม

มีงานปริทัศน์เป็นระบบหลายงานในเรื่องการกำจัดเชื้อ แต่ก็มีผลต่าง ๆ กันเช่นกัน งานปริทัศน์เป็นระบบในวารสารแพทย์ Annals of Internal Medicine แสดงว่า ไม่มีผลที่มีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมี OR ของการรักษาสำเร็จเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ 1.29 (95% CI, 0.89-1.89; P = 0.18) คือ ไม่ปรากฏกว่ามีผลไม่ว่าจะปรับการวิเคราะห์เพื่อลดความต่าง ๆ กันของงานทดลองและเพื่อแยกแยะว่าได้กำจัด/รักษาเชื้อ H. pylori ได้จริง ๆ ด้วยหรือไม่ ส่วนงานทบทวนแบบคอเครนพบผลเล็กน้อยแต่มีนัยสำคัญในการบรรเทาอาการเมื่อเทียบการกำจัด H. pylori กับยาหลอก คือ 36% vs 30% ตามลำดับ

โรคทั่วกาย

มีโรคทั่วกาย (systemic disease) จำนวนหนึ่งที่อาจมีอาการอาหารไม่ย่อย รวมทั้งโรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะหัวใจวาย โรคเบาหวาน ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์เกิน (hyperparathyroidism) โรคไทรอยด์ และโรคไตเรื้อรัง

พยาธิสรีรวิทยา

ปัจจัยทางกายเหตุจิตและปัจจัยทางประชานเป็นเรื่องสำคัญเมื่อประเมินคนไข้ที่มีอาหารไม่ย่อยแบบเรื้อรัง สมมติฐานทางจิตเวชอ้างว่า อาการอาจมีเหตุจากความซึมเศร้า ความวิตกกังวลที่เพิ่มขึ้น หรือความผิดปกติทางกายเหตุจิต (somatization disorder) งานศึกษาทางวิทยาการระบาดแสดงว่า อาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่สัมพันธ์กับความผิดปกติทางจิต โดยอาการต่าง ๆ รวมทั้ง neurosis, ความวิตกกังวล, โรคคิดว่าตนป่วย, และโรคซึมเศร้าจะสามัญในบรรดาคนไข้ที่กำลังตรวจปัญหาทางเดินอาหารที่ไม่ทราบสาเหตุมากกว่าในกลุ่มควบคุมที่ปกติ การเปรียบเทียบโรคโดยหน้าที่และโรคกายได้แสดงว่า คนไข้ที่มีโรคโดยหน้าที่จะมีโอกาสลดความวิตกกังวลน้อยกว่า เมื่อติดตามที่ปีหนึ่งหลังจากหมอให้ความมั่นใจแล้วว่า ไม่ใช่โรคหนักอะไร ซึ่งแสดงนัยว่า เทียบกับโรคกาย อาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่อาจคงยืนเป็นเวลานาน และสัมพันธ์กับอารมณ์อย่างมีกำลัง

การวินิจฉัย

คนไข้อายุน้อยกว่า 55 ปีที่ไม่มีอาการน่าเป็นห่วงสามารถรักษาได้เลยโดยไม่ต้องตรวจเพิ่ม คนไข้อายุมากกว่า 55 ปีที่เพิ่งเริ่มมีอาการ หรือว่าคนไข้ที่มีอาการน่าเป็นห่วงควรรีบส่องกล้องดูทางอาหารส่วนบน ซึ่งจะช่วยกันโรคแผลเปื่อยเพปติก แผลเปื่อยเนื่องจากยา เนื้อร้าย และเหตุที่มีน้อยกว่าอื่น ๆ

คนไข้อายุน้อยกว่า 55 ปีที่ไม่มีอาการน่าเป็นห่วงไม่จำเป็นต้องส่องกล้อง แต่อาจพิจารณาตรวจดูว่ามีโรคแผลเปื่อยเพปติกที่มีเหตุจากติดเชื้อ Helicobacter pylori หรือไม่ ซึ่งจะทำเมื่อความชุกของโรคในพื้นที่สูง หรือคนไข้มีปัจจัยเสี่ยง เช่น โดยชาติพันธุ์ หรือเพราะย้ายที่อยู่มาจากเขตที่มีความชุกโรคสูง ถ้ายืนยันการติดเชื้อได้ ก็จะสามารถกำจัดได้ด้วยยา[ต้องการอ้างอิง]

อาหารไม่ย่อยเนื่องจากยาปกติจะเกี่ยวกับยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ โดยอาจมีภาวะแทรกซ้อน เช่นเลือดออกหรือแผลเปื่อยบวกกับกระเพาะทะลุ

การรักษา

อาการแบบโดยหน้าที่หรือที่ยังไม่ได้แยกแยะ จะรักษาคล้าย ๆ กัน การเลือกยารักษาอาจตัดสินใจได้ยาก เพราะการทดลองที่แสดงข้อมูลมักรวมอาการแสบร้อนกลางอกโดยเป็นส่วนหนึ่งของอาการนี้ ซึ่งทำให้มีผลนิยมยายับยั้งการหลั่งกรด (PPI) ซึ่งมีประสิทธิผลรักษาอาการแสบร้อนกลางอก

การรักษาทั่วไปสำหรับอาการนี้รวมทั้งการเปลี่ยนพฤติกรรม ยาลดกรด สารต้านตัวรับเอช2 ยาเพิ่มการบีบตัวของลำไส้เล็ก (prokinetic) และยาแก้ท้องอืด อย่างไรก็ดี นักวิชาการได้ให้ข้อสังเกตว่า เรื่องน่าหนักใจอย่างหนึ่งในการรักษาโรคโดยหน้าที่ก็คือ วิธีการทั่วไปเหล่านี้ปรากฏกว่ามีประสิทธิผลน้อยมากหรือไม่มีเลย

ยาดลดกรด

ยาลดกรดและ sucralfate พบในงานทบทวนวรรณกรรมว่า ไม่ได้ดีกว่ายาหลอก ส่วนสารต้านตัวรับเอช2พบว่า มีประโยชน์อย่างสำคัญในงานศึกษาที่มีคุณภาพต่ำ (คือ ความเสี่ยงสัมพัทธ์ลดลง 30%) แต่มีประโยชน์เพียงเล็กน้อยในงานทดลองที่มีคุณภาพดี

ส่วนยาเพิ่มการบีบตัวของลำไส้เล็กดูเหมือนจะได้ผลดี เพราะการค้างอยู่ในกระเพาะอาหารนานพิจารณาว่า เป็นกลไกหลักทางพยาธิสรีรวิทยาอย่างหนึ่งสำหรับอาการอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่ โดยงานวิเคราะห์อภิมานแสดงการลดความเสี่ยงสัมพัทธ์ถึง 50% แต่งานศึกษาต่าง ๆ ที่พิจารณาเพื่อให้ได้ข้อสรุปนี้ใช้ยา cisapride ซึ่งได้นำออกจากตลาดแล้ว (โดยปัจจุบันมีขายเพียงเพื่อทดลองเท่านั้น) เนื่องจากผลข้างเคียงหนักเกี่ยวกับหัวใจ (Torsades de pointes) และก็มีผู้อ้างว่า แสดงประโยชน์สูงเช่นนี้ก็เพราะมีความเอนเอียงในการตีพิมพ์ ส่วนยาเพิ่มการบีบตัวของลำไส้เล็กที่ยังใช้อยู่รวมทั้ง metoclopramide, อิริโทรมัยซิน และ tegaserod มีประสิทธิผลน้อยหรือไม่มีและบ่อยครั้งมีผลข้างเคียงมาก

ยาแก้ท้องอืดคือ simethicone ก็มีประโยชน์บ้าง โดยงานทดลองหนึ่งแสดงประโยชน์เหนือยาหลอก และอีกงานหนึ่งแสดงผลเท่ากับ cisapride

ดังนั้น เมื่อเกิดยากลุ่ม PPI เมื่อไม่นานนี้ คำถามก็คือ ยาใหม่ ๆ เหล่านี้มีผลดีกว่ายาที่เคยใช้มาก่อน ๆ หรือไม่[ต้องการอ้างอิง] ปัจจุบัน องค์การอาหารและยาสหรัฐ (FDA) ได้อนุมัติยากลุ่ม PPI โดยขึ้นอยู่กับยี่ห้อ ให้ใช้รักษาหลอดอาหารอักเสบแบบมีแผล, โรคกรดไหลย้อน, กลุ่มอาการโซลลิงเจอร์-เอลลิสัน, การกำจัดเชื้อโรค H. pylori, โรคแผลเปื่อยในลำไส้เล็กส่วนต้นและในกระเพาะอาหาร, และการรักษาและป้องกันแผลเปื่อยที่เกิดจาก NSAID แต่ก็ไม่ได้อนุมัติให้ใช้แก้ท้องอืดโดยหน้าที่ แม้ก็ยังมีแนวทางรักษาและวรรณกรรมอิงหลักฐานที่ได้ประเมินการใช้ PPI เพื่อข้อบ่งใช้นี้ งานปี 2006 ได้สรุปการทดลองสำคัญ ๆ เป็นตารางพร้อมกับแนวทางการรักษาอาการอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่

ยาสมุนไพร

งานทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบปี 2002 ตรวจดูผลิตภัณฑ์สมุนไพรแล้วพบว่า สมุนไพรหลายอย่าง รวมทั้งมินต์ Mentha piperita (เปปเปอร์มินต์) และเทียนตากบ มีผลดีสำหรับอาหารไม่ย่อยซึ่งไม่มีแผลโดยมี "ลักษณะความปลอดภัยที่น่าชื่นใจ"งานวิเคราะห์อภิมานปี 2004 ของงานศึกษาที่ตรวจสอบผลิตภัณฑ์สมุนไพรรวมกัน 9 อย่างที่เรียกว่า Iberogast (เริ่มต้นจากประเทศเยอรมนี) พบว่ามันมีประสิทธิผลดีกว่ายาหลอกสำหรับคนที่มีอาหารไม่ย่อยโดยหน้าที่

รากศัพท์

คำภาษาอังกฤษว่า dyspepsia มาจากคำกรีกโบราณ คือ dys- แปลว่า ไม่ดี หรือ ยาก และ πέψις (pepsis) แปลว่า ย่อยอาหาร

เชิงอรรถ

  1. -
    • Polyradiculoneuropathy หมายถึงภาวะที่ polyneuropathy และ polyradiculopathy เกิดขึ้นพร้อมกัน เช่น กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร
    • Polyneuropathy เป็นความเสียหายหรือโรคที่มีผลต่อเส้นประสาทนอกระบบประสาทส่วนกลางในบริเวณคล้ายกันทั้งสองข้างของร่างกาย ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย เกิดความชา หรือเจ็บแบบแสบร้อน
    • Radiculopathy หมายถึงกลุ่มสภาวะที่เส้นประสาทหนึ่ง ๆ เกิดความเสียหายและทำงานบกพร่อง (เป็นโรคเส้นประสาท) ความเสียหายจะอยู่ที่รากของเส้นประสาทซึ่งอาจมีผลเป็นความเจ็บปวด กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย ชา หรือปัญหาควบคุมกล้ามเนื้อใดกล้ามเนื้อหนึ่งโดยเฉพาะ ๆ
  2. coeliac disease หรือ celiac disease เป็นโรคภูมิต้านตนเองระยะยาวที่โดยหลักมีผลต่อลำไส้เล็กและเกิดในบุคคลที่มีปัจจัยทางพันธุกรรม อาการคลาสสิกรวมทั้งปัญหาในทางเดินอาหารเช่นท้องร่วงเรื้อรัง ท้องป่อง ดูดซึมอาหารผิดปกติ ไม่อยากอาหาร และไม่โตตามวัยในเด็ก
  3. neurosis หมายเอาความผิดปกติทางจิตจำนวนหนึ่งที่คนไข้มีความทุกข์เรื้อรังแต่ไม่มีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอน คำนี้ได้นำออกจากคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM-III) ตั้งแต่ปี 1980 จึงเลิกใช้ในบางที่แล้ว แต่ก็ยังมีอยู่ใน ICD-10 ไม่ควรสับสนคำนี้กับ psychosis ซึ่งหมายถึงการไม่รู้อะไรจริงอะไรไม่จริง และไม่ควรสับสนกับ neuroticism ซึ่งเป็นลักษณะทางบุคลิกภาพอย่างหนึ่งตามทฤษฎีทางจิตวิทยา

อ้างอิง

  1. "Dyspepsia", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) อาหารไม่ย่อย, ธาตุพิการ
  2. "Indigestion", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) การย่อย (อาหาร) ไม่ดี
  3. dyspepsia ใน พจนานุกรมศัพท์การแพทย์ดอร์แลนด์
  4. Duvnjak, Marko, บ.ก. (2011). Dyspepsia in clinical practice (1. Aufl. ed.). New York: Springer. p. 2. ISBN 9781441917300.
  5. Talley, NJ; Vakil, N (2005-10). "Guidelines for the management of dyspepsia". Am. J. Gastroenterol. 100 (10): 2324–37. doi:10.1111/j.1572-0241.2005.00225.x. PMID 16181387. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: uses authors parameter (link)
  6. Zajac, P; Holbrook, A; Super, ME; Vogt, M (March–April 2013). "An overview: Current clinical guidelines for the evaluation, diagnosis, treatment, and management of dyspepsia". Osteopathic Family Physician. 5 (2): 79–85. doi:10.1016/j.osfp.2012.10.005.CS1 maint: date format (link)
  7. National Institute for Health and Clinical Excellence. Clinical guideline 17: Dyspepsia. London, 2004.
  8. Saad, RJ; Chey, WD (2006-08). "Review article: current and emerging therapies for functional dyspepsia". Aliment. Pharmacol. Ther. 24 (3): 475–92. doi:10.1111/j.1365-2036.2006.03005.x. PMID 16886913. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: uses authors parameter (link) Free full-text
  9. van Kerkhoven, LA; van Rossum, LG; van Oijen, MG; Tan, AC; Laheij, RJ; Jansen, JB (2006-09). "Upper gastrointestinal endoscopy does not reassure patients with functional dyspepsia". Endoscopy. 38 (9): 879–85. doi:10.1055/s-2006-944661. PMID 16981103. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: uses authors parameter (link) Free full-text 2011-07-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  10. Moayyedi, P; Talley, NJ; Fennerty, MB; Vakil, N (2006-04-05). "Can the clinical history distinguish between organic and functional dyspepsia?". JAMA (Review). 295 (13): 1566–76. doi:10.1001/jama.295.13.1566. PMID 16595759.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  11. Vakil, N; Moayyedi, P; Fennerty, MB; Talley, NJ (2006-08). "Limited value of alarm features in the diagnosis of upper gastrointestinal malignancy: systematic review and meta-analysis". Gastroenterology. 131 (2): 390–401. doi:10.1053/j.gastro.2006.04.029. PMID 16890592. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: uses authors parameter (link)
  12. "Polyneuropathies. Medical information about polyneuropathy". Patient. สืบค้นเมื่อ 2016-07-17.
  13. Eck, Jason C. "Radiculopathy". MedicineNet. สืบค้นเมื่อ 2012-04-12.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  14. Flier, SN; S, Rose (2006). "Is functional dyspepsia of particular concern in women? A review of gender differences in epidemiology, pathophysiologic mechanism, clinical presentation and management". Am J Gastroenterol. 101: S644-S653. doi:10.1111/j.1572-0241.2006.01015.x. PMID 17177870.
  15. Futagami, S; Itoh, T; Sakamoto, C (2015). "Systematic review with meta-analysis: post-infectious functional dyspepsia". Aliment. Pharmacol. Ther. 41 (2): 177–88. doi:10.1111/apt.13006. PMID 25348873.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  16. Talley, NJ; Ford, AC (2015-11-05). "Functional Dyspepsia". N Engl J Med (Review). 373 (19): 1853–63. doi:10.1056/NEJMra1501505. PMID 26535514.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  17. Duncanson, KR; Talley, NJ; Walker, MM; Burrows, TL (2017). "Food and functional dyspepsia: a systematic review". J Hum Nutr Diet (Systematic Review). doi:10.1111/jhn.12506. PMID 28913843.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  18. "Celiac Disease". NIDDKD. 2015-06. สืบค้นเมื่อ 2016-03-17. Check date values in: |date= (help)
  19. "Clinical presentation of celiac disease in the pediatric population". 2005-04. PMID 15825129. Cite journal requires |journal= (help); Check date values in: |date= (help)
  20. Yelon, Jay A (2014). Geriatric Trauma and Critical Care. New York: Springer Verlag. p. 182. ISBN 9781461485018.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  21. Ford, AC; Moayyedi, P (2013). "Dysepsia". BMJ. 347: f5059. doi:10.1136/bmj.f5059. PMID 23990632.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  22. Laine, L; Schoenfeld, P; Fennerty, MB (2001). "Therapy for Helicobacter pylori in patients with nonulcer dyspepsia. A meta-analysis of randomized, controlled trials". Ann Intern Med. 134: 361–369. doi:10.7326/0003-4819-134-5-200103060-00008. PMID 11242496.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  23. Moayyedi, P; Deeks, J; Talley, NJ (2003). "An update of the Cochrane systematic review of Helicobacter pylori eradication therapy in nonulcer dyspepsia". Am J Gastroenterol. 98 (12): 2621–6. doi:10.1111/j.1572-0241.2003.08724.x. PMID 14687807.
  24. Talley, NJ (2002). "Review article: Helicobacter pylori and nonulcer dyspepsia". Aliment Pharmacol Ther. 16 (1): 58–65. doi:10.1046/j.1365-2036.2002.0160s1058.x. PMID 11849130.
  25. Pajala, M; Heikkinen, M (2006). "A prospective 1-year follow-up study in patients with functional or organic dyspepsia: changes in gastrointestinal symptoms, mental distress and fear of serious illness". Aliment Pharmacol Ther. 24: 1241–1246. doi:10.1111/j.1365-2036.2006.03108.x. PMID 17014583.
  26. Mönkemüller, K; Malfertheiner, P (2006). "Drug treatment of functional dyspepsia". World J. Gastroenterol. 12 (17): 2694–700. PMID 16718755.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  27. Talley, NJ; Vakil, N (2005). "Guidelines for the management of dyspepsia". Am. J. Gastroenterol. 100 (10): 2324–37. doi:10.1111/j.1572-0241.2005.00225.x. PMID 16181387.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  28. "Information regarding withdrawal of Propulsid (cisapride) by Janssen Pharmaceutica". FDA.
  29. Thompson, Coon J; Ernst, E (2002-10). "Systematic review: herbal medicinal products for non-ulcer dyspepsia". Aliment. Pharmacol. Ther. 16 (10): 1689–99. doi:10.1046/j.1365-2036.2002.01339.x. PMID 12269960. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: uses authors parameter (link)
  30. Melzer, J; Rösch, W; Reichling, J; Brignoli, R; Saller, R (2004). "Meta-analysis: phytotherapy of functional dyspepsia with the herbal drug preparation STW 5 (Iberogast)". Aliment. Pharmacol. Ther. 20 (11–12): 1279–87. doi:10.1111/j.1365-2036.2004.02275.x. PMID 15606389.CS1 maint: uses authors parameter (link)

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
  • ICD-10: K30.k
  • ICD-9-CM: 536.8
  • DiseasesDB: 30831
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 003260
  • Patient UK: อาหารไม่ย่อย

อาหารไม, อย, หร, อาหารย, อยไม, งกฤษ, indigestion, dyspepsia, เป, นการย, อยอาหารอย, างบกพร, อง, อาการอาจรวมท, อง, วนบน, แสบร, อนกลางอก, คล, นไส, เรอ, หร, อปวดท, องด, านบน, อาการอาจร, กอ, มเร, วกว, าปกต, เป, นป, ญหาท, สาม, ญและบ, อยคร, งม, เหต, จากโรคกรดไหลย, อน. xaharimyxy 1 hrux xaharyxyimdi 2 xngkvs Indigestion Dyspepsia epnkaryxyxaharxyangbkphrxng 3 xakarxacrwmthxng swnbn xud aesbrxnklangxk khlunis erx hruxpwdthxngdanbn 4 phumixakarxacrusukximerwkwapkti 5 niepnpyhathisamyaelabxykhrngmiehtucakorkhkrdihlyxnhruxkraephaaxaharxkesb 6 inkrniswnnxy xacepnxakaraerkkhxngorkhaephlepuxyephptik khuxepnaephlepuxyinkraephaaxaharaelalaiselkswntn hruxbangkhrngepnmaerng dngnn xaharimyxythiyngimthrabsaehtuinphuxayumakkwa 55 pi hruxmixakarnaepnhwngxun xactxngtrwcephim 7 xaharyxyimdi Indigestion chuxxunDyspepsiasakhawichawithyathangedinxaharswnkhaphasaxngkvswa functional indigestion xaharimyxyodyhnathi ekhyeriykwa nonulcer dyspepsia xaharimyxythiimmiaephl 8 epnxaharimyxy thiimmihlkthanwaepnorkhkay organic disease thixaccaxthibayxakarid 9 odymiphlkrathbtxprachakr 15 inpraethstawntk 8 enuxha 1 xakar 2 ehtu 2 1 thiimekiywkbaephlepuxy 2 2 hlngtidechux 2 3 odyhnathi karthangan 2 4 orkhthangedinxahar 2 5 orkhtbaelatbxxn 2 6 karrbxaharaelaya 2 7 kartidechux Helicobacter pylori 2 8 orkhthwkay 3 phyathisrirwithya 4 karwinicchy 5 karrksa 5 1 yadldkrd 5 2 yasmuniphr 6 raksphth 7 echingxrrth 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunxakar aekikhinkrniodymak prawtikhnikhcamipraoychncakdephuxaeykaeykrahwangorkhthangkay organic cakorkhodyhnathi functional nganthbthwnwrrnkrrmxyangepnrabbpi 2006 idpraeminprasiththiphlkhxngkarwinicchyorkhkayxasykhwamehnaephthy odyethiybkbemuxwinicchyxasyaebbcalxngkhxmphiwetxrthiichichkhxmulthangprachakrsastr pccyesiyng raykarprawti aelaxakarkhxngkhnikh ngansuksaidaesdngwa inbrrdakhnikhthisngtxihsxngklxngduthangxaharswnbn thngkhwamehnaephthyaelaaebbcalxngkhxmphiwetxrimsamarthaeykaeyaorkhthangkayaeykcakorkhodyhnathiiddiphx 10 nganhnungethiybkhnikhthimiorkhaephlepuxyephptik kbkhnikhthimixakarxaharimyxyodyhnathiemuxprbxayuaelaephsihsmknaelw aemklumkhnikhthimixakaraebbodyhnathicathxngxuddanbn khlunis epnthukkhaelakngwlmakkwa aetxakarekuxbthnghmdkmiinkhnikhthngsxngklum cungepneruxngyakthiaephthycarabukhnikhthixacmiorkhthangkay aeladngnn cungkhwrtrwcephimephuxaeykkhnikhthimiorkhodyhnathiphuidrbkarthdlxngrksadwyyatamxakaraelw odykartrwckhwrmiepahmayephuxrabuhruxknxxkehtukhxngxakarodyechphaa tamthrrmdaaelw khnikhthiesiyngkkhuxphuthimixakarnaepnhwng aetpraoychnkhxngxakarechnni ephuxkahndwamimaernghlxdxaharhruxkraephaaxaharhruxim kyngepneruxngyngimyuti nganwiekhraahxphimanidtrwckhwamiwaelakhwamcaephaakhxngxakarnaepnhwngtang aelwphbkhaxyuthi 0 83 aela 40 98 tamladb aetngansuksathiidtrwcdukmikhwamaetktangknxyangmakmay 11 kartrwcrangkayxacphbxakarkdecbthithxng aetniimidaesdngxairodycaephaaecaacng thaphb Carnett sign khuxxakarkdecbthithxngthiephimkhunenuxngcakekrngthxnghruxemuxkhlatrwc nicaaesdngnywamismutthancakklamenuxphnngthxng karecbpwdthiphiwhnngodykracayipthw dermatome xacaesdng polyradiculopathy A inradbthrwngxk swnxakarkdecbthithxngdankhwadanbn xacaesdngthungnadixkesberuxrng 14 ehtu aekikhthiimekiywkbaephlepuxy aekikh inbrrdakhnikhxaharimyxy rxyla 50 70 caimsamarthrabuorkhthangkaythiepnehtukhxngxakarid sunginkrnini xaceriykwaidwa epnxaharimyxythiimekiywkbaephlepuxy aelawinicchyxasykarmikarpwdthiyxdxk epnxyangnxy 6 eduxn odyirsaehtuxunthixacxthibayxakarid hlngtidechux aekikh kraephaaaelalaiselkxkesbxacephimoxkasesiyngihekidxaharimyxyaebberuxrng swnxaharimyxyhlngtidechux infectious dyspepsia epnkhathiichemuxmixakarxaharimyxyhlngcakkraephaaaelalaiselkekidtidechuxaebbchbphln nkwichakarechuxwa multhankhxngklumxakarlaisiwekintxkarkratun IBS aelaxaharimyxyhlngtidechuxxackhlaykn odyepndantang khxngphyathisrirwithyaediywkn 15 odyhnathi karthangan aekikh xaharimyxyodyhnathi karthangan functional dyspepsia epnxaharimyxyeruxrngaebbsamythisud khuxkhnikhxakarnithung 70 caimsamarthtrwcphbwaepnorkhkaythienuxngkbxakar odyxakarxacmacakptismphnththisbsxnrahwangrabbprasath xaharkhangxyuinkraephaanan echn ephraaehtuxmphvkskraephaa hruxkarprbrbxaharidbkphrxng khwamwitkkngwlyngsmphnthkbxaharimyxyodyhnathixikdwy inbangkrni mnxacepnxakarthipraktkxnxakarlais thangedinxaharxun inbangkrni khwamwitkkngwlcaekidhlngcakekidxakarni sungaesdngnywamikhwamphidpktiinkarsngsyyanrahwanglais thangedinxaharkbsmxng aemimepnorkhray aetxakarkxaceruxrngaelarksayak 16 xaharthiprakxbdwykhawsaliaelaikhmnxacthaihxaharimyxy dngnn karldhruxhyudxaharehlannxacthaihxakardikhun 17 orkhthangedinxahar aekikh emuxsamarthhaehtuid odymakkcaepnorkhkrdihlyxnaelaorkhaephlepuxyephptik ehtuthisamynxykwarwmthngkraephaaxkesb maerngkraephaaxahar maernghlxdxahar coeliac disease B aephxahar orkhlaisxkesb mesenteric ischemia sungepnphawathilaiselkbadecbenuxngcakimidrbeluxdephiyngphx 20 aelaxmphvkskraephaaxahar orkhtbaelatbxxn aekikh orkhtbaelatbxxnthithaihekidxakarnirwmthngorkhniwnadi tbxxnxkesberuxrng aelamaerngtbxxn karrbxaharaelaya aekikhxaharimyxyaebbchbphlnodyepnchwkhrawxacekidcakkarthanxaharmakekinip erwekinip thanxaharikhmnsung thanxaharemuxekhriyd hruxdumekhruxngdumaexlkxhxlhruxkaaefmakekinip miyahlaychnidthaihxaharimyxy rwmthng 21 aexsiphrin yaaekxkesbchnidimichsetxrxyd NSAIDs yaptichiwna rwmthng metronidazole macrolides yarksaorkhebahwan rwmthng emtfxrmin Alpha glucosidase inhibitor amylin analogs GLP 1 receptor antagonists yaldkhwamdn rwmthng ACE inhibitors Angiotensin II receptor antagonist yaldkhxelsetxrxl rwmthnginxasin fibrate yarksaorkhthangcitewch rwmthng cholinesterase inhibitor echn donepezil rivastigmine yaklum SSRI rwmthngfluxxkesthin sertraline yaklum Serotonin norepinephrine reuptake inhibitor rwmthng venlafaxine duloxetine yarksaorkhpharkhinsnrwmthng dopamine agonist MAO B inhibitors corticosteroids exsotrecn dichxksin ehlk oxpixxyd kartidechux Helicobacter pylori aekikh bthbathkhxngaebkhthieriy Helicobacter pylori inxaharimyxyodyhnathiyngepneruxngimyuti odyyngimpraktkhwamsmphnthaebbepnehtuphlthichdecn sungcringthngineruxngkhxngxakaraelaphyathisrirwithya aemcamingansuksathangwithyakarrabadbangthiidaesdngkhwamsmphnthrahwangkartidechux H pylori kbxaharimyxyodyhnathi aetngansuksaxun kimaesdng khxkhdaeyngxacmacakkhwamaetktangkhxngwithikarthiich aelakarimphicarnatwaeprkwn echn prawtiwaekhymiorkhaephlepuxyephptikmakxn aelasthanathangsngkhm esrsthkic 22 karthdlxngthimiklumkhwbkhumtang srupimehmuxnknwa karkacdechux H pylori mipraoychntxxakarxaharimyxyodyhnathihruxim odykarthdlxngpramankhrunghnungaesdngwamiphldi swnxikkhrungimaesdngwamipraoychn karthdlxngrwmkhxmulhlaysunyinshrththicdkhnikhodysumekhaklumrksahruxklumyahlxkaelwtidtamkhnikh 12 eduxnphbwa 28 khxngkhnikhthirksaaela 23 thiidrbyahlxkraynganwa xakarbrrethalngemuxtidtamthi 12 eduxn echnediywkn nganthdlxnginyuorpkimaesdngkhwamaetktangkarbrrethaxakarthisakhyemuxkacdechux H pylori ethiybkbklumkhwbkhumminganprithsnepnrabbhlaynganineruxngkarkacdechux aetkmiphltang knechnkn nganprithsnepnrabbinwarsaraephthy Annals of Internal Medicine aesdngwa immiphlthiminysakhythangsthiti odymi OR khxngkarrksasaercethiybkbklumkhwbkhumthi 1 29 95 CI 0 89 1 89 P 0 18 khux impraktkwamiphlimwacaprbkarwiekhraahephuxldkhwamtang knkhxngnganthdlxng aelaephuxaeykaeyawaidkacd rksaechux H pylori idcring dwyhruxim swnnganthbthwnaebbkhxekhrnphbphlelknxyaetminysakhyinkarbrrethaxakaremuxethiybkarkacd H pylori kbyahlxk khux 36 vs 30 tamladb 23 24 orkhthwkay aekikh miorkhthwkay systemic disease canwnhnungthixacmixakarxaharimyxy rwmthngorkhhlxdeluxdhwic phawahwicway orkhebahwan phawahxromnpharaithrxydekin hyperparathyroidism orkhithrxyd aelaorkhiteruxrngphyathisrirwithya aekikhpccythangkayehtucitaelapccythangprachanepneruxngsakhyemuxpraeminkhnikhthimixaharimyxyaebberuxrng smmtithanthangcitewchxangwa xakarxacmiehtucakkhwamsumesra khwamwitkkngwlthiephimkhun hruxkhwamphidpktithangkayehtucit somatization disorder ngansuksathangwithyakarrabadaesdngwa xaharimyxyodyhnathismphnthkbkhwamphidpktithangcit odyxakartang rwmthng neurosis C khwamwitkkngwl orkhkhidwatnpwy aelaorkhsumesracasamyinbrrdakhnikhthikalngtrwcpyhathangedinxaharthiimthrabsaehtumakkwainklumkhwbkhumthipkti karepriybethiyborkhodyhnathiaelaorkhkayidaesdngwa khnikhthimiorkhodyhnathicamioxkasldkhwamwitkkngwlnxykwa emuxtidtamthipihnunghlngcakhmxihkhwammnicaelwwa imichorkhhnkxair sungaesdngnywa ethiybkborkhkay xaharimyxyodyhnathixackhngyunepnewlanan aelasmphnthkbxarmnxyangmikalng 25 karwinicchy aekikhkhnikhxayunxykwa 55 pithiimmixakarnaepnhwngsamarthrksaidelyodyimtxngtrwcephim khnikhxayumakkwa 55 pithiephingerimmixakar hruxwakhnikhthimixakarnaepnhwngkhwrribsxngklxngduthangxaharswnbn sungcachwyknorkhaephlepuxyephptik aephlepuxyenuxngcakya enuxray aelaehtuthiminxykwaxun 7 khnikhxayunxykwa 55 pithiimmixakarnaepnhwngimcaepntxngsxngklxng aetxacphicarnatrwcduwamiorkhaephlepuxyephptikthimiehtucaktidechux Helicobacter pylori hruxim sungcathaemuxkhwamchukkhxngorkhinphunthisung hruxkhnikhmipccyesiyng echn odychatiphnthu hruxephraayaythixyumacakekhtthimikhwamchukorkhsung thayunynkartidechuxid kcasamarthkacdiddwyya txngkarxangxing xaharimyxyenuxngcakyapkticaekiywkbyaaekxkesbchnidimichsetxrxyd odyxacmiphawaaethrksxn echneluxdxxkhruxaephlepuxybwkkbkraephaathalukarrksa aekikhxakaraebbodyhnathihruxthiyngimidaeykaeya carksakhlay kn kareluxkyarksaxactdsinicidyak ephraakarthdlxngthiaesdngkhxmulmkrwmxakaraesbrxnklangxkodyepnswnhnungkhxngxakarni sungthaihmiphlniymyaybyngkarhlngkrd PPI sungmiprasiththiphlrksaxakaraesbrxnklangxkkarrksathwipsahrbxakarnirwmthngkarepliynphvtikrrm yaldkrd sartantwrbexch2 yaephimkarbibtwkhxnglaiselk prokinetic aelayaaekthxngxud xyangirkdi nkwichakaridihkhxsngektwa eruxngnahnkicxyanghnunginkarrksaorkhodyhnathikkhux withikarthwipehlanipraktkwamiprasiththiphlnxymakhruximmiely 26 yadldkrd aekikh yaldkrdaela sucralfate phbinnganthbthwnwrrnkrrmwa imiddikwayahlxk 27 swnsartantwrbexch2phbwa mipraoychnxyangsakhyinngansuksathimikhunphaphta khux khwamesiyngsmphththldlng 30 27 aetmipraoychnephiyngelknxyinnganthdlxngthimikhunphaphdi 26 swnyaephimkarbibtwkhxnglaiselkduehmuxncaidphldi ephraakarkhangxyuinkraephaaxaharnan phicarnawa epnklikhlkthangphyathisrirwithyaxyanghnungsahrbxakarxaharimyxyodyhnathi 26 odynganwiekhraahxphimanaesdngkarldkhwamesiyngsmphthththung 50 aetngansuksatang thiphicarnaephuxihidkhxsrupniichya cisapride sungidnaxxkcaktladaelw odypccubnmikhayephiyngephuxthdlxngethann 28 enuxngcakphlkhangekhiynghnkekiywkbhwic Torsades de pointes aelakmiphuxangwa aesdngpraoychnsungechnnikephraamikhwamexnexiynginkartiphimph 27 swnyaephimkarbibtwkhxnglaiselkthiyngichxyurwmthng metoclopramide xiriothrmysin aela tegaserod miprasiththiphlnxyhruximmiaelabxykhrngmiphlkhangekhiyngmak 27 yaaekthxngxudkhux simethicone kmipraoychnbang odynganthdlxnghnungaesdngpraoychnehnuxyahlxk aelaxiknganhnungaesdngphlethakb cisapride 27 dngnn emuxekidyaklum PPI emuximnanni khathamkkhux yaihm ehlanimiphldikwayathiekhyichmakxn hruxim txngkarxangxing pccubn xngkhkarxaharaelayashrth FDA idxnumtiyaklum PPI odykhunxyukbyihx ihichrksahlxdxaharxkesbaebbmiaephl orkhkrdihlyxn klumxakarosllingecxr exllisn karkacdechuxorkh H pylori orkhaephlepuxyinlaiselkswntnaelainkraephaaxahar aelakarrksaaelapxngknaephlepuxythiekidcak NSAID aetkimidxnumtiihichaekthxngxudodyhnathi aemkyngmiaenwthangrksaaelawrrnkrrmxinghlkthanthiidpraeminkarich PPI ephuxkhxbngichni nganpi 2006 idsrupkarthdlxngsakhy epntarangphrxmkbaenwthangkarrksaxakarxaharimyxyodyhnathi 26 yasmuniphr aekikh nganthbthwnwrrnkrrmxyangepnrabbpi 2002 trwcduphlitphnthsmuniphraelwphbwa smuniphrhlayxyang rwmthngmint Mentha piperita eppepxrmint aelaethiyntakb miphldisahrbxaharimyxysungimmiaephlodymi lksnakhwamplxdphythinachunic 29 nganwiekhraahxphimanpi 2004 khxngngansuksathitrwcsxbphlitphnthsmuniphrrwmkn 9 xyangthieriykwa Iberogast erimtncakpraethseyxrmni phbwamnmiprasiththiphldikwayahlxksahrbkhnthimixaharimyxyodyhnathi 30 raksphth aekikhkhaphasaxngkvswa dyspepsia macakkhakrikobran khux dys aeplwa imdi hrux yak aela pepsis pepsis aeplwa yxyxaharechingxrrth aekikh Polyradiculoneuropathy hmaythungphawathi polyneuropathy aela polyradiculopathy ekidkhunphrxmkn echn klumxakarkilaelng barer Polyneuropathy epnkhwamesiyhayhruxorkhthimiphltxesnprasathnxkrabbprasathswnklanginbriewnkhlayknthngsxngkhangkhxngrangkay thaihklamenuxxxnepliy ekidkhwamcha hruxecbaebbaesbrxn 12 Radiculopathy hmaythungklumsphawathiesnprasathhnung ekidkhwamesiyhayaelathanganbkphrxng epnorkhesnprasath khwamesiyhaycaxyuthirakkhxngesnprasathsungxacmiphlepnkhwamecbpwd klamenuxxxnephliy cha hruxpyhakhwbkhumklamenuxidklamenuxhnungodyechphaa 13 coeliac disease hrux celiac disease epnorkhphumitantnexngrayayawthiodyhlkmiphltxlaiselkaelaekidinbukhkhlthimipccythangphnthukrrm 18 xakarkhlassikrwmthngpyhainthangedinxaharechnthxngrwngeruxrng thxngpxng dudsumxaharphidpkti imxyakxahar aelaimottamwyinedk 19 neurosis hmayexakhwamphidpktithangcitcanwnhnungthikhnikhmikhwamthukkheruxrngaetimmixakarhlngphidhruxprasathhlxn khaniidnaxxkcakkhumuxkarwinicchyaelasthitisahrbkhwamphidpktithangcit DSM III tngaetpi 1980 cungelikichinbangthiaelw aetkyngmixyuin ICD 10 imkhwrsbsnkhanikb psychosis sunghmaythungkarimruxaircringxairimcring aelaimkhwrsbsnkb neuroticism sungepnlksnathangbukhlikphaphxyanghnungtamthvsdithangcitwithyaxangxing aekikh Dyspepsia sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr xaharimyxy thatuphikar Indigestion sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr karyxy xahar imdi dyspepsia in phcnanukrmsphthkaraephthydxraelnd Duvnjak Marko b k 2011 Dyspepsia in clinical practice 1 Aufl ed New York Springer p 2 ISBN 9781441917300 Talley NJ Vakil N 2005 10 Guidelines for the management of dyspepsia Am J Gastroenterol 100 10 2324 37 doi 10 1111 j 1572 0241 2005 00225 x PMID 16181387 Check date values in date help CS1 maint uses authors parameter link Zajac P Holbrook A Super ME Vogt M March April 2013 An overview Current clinical guidelines for the evaluation diagnosis treatment and management of dyspepsia Osteopathic Family Physician 5 2 79 85 doi 10 1016 j osfp 2012 10 005 CS1 maint date format link 7 0 7 1 National Institute for Health and Clinical Excellence Clinical guideline 17 Dyspepsia London 2004 8 0 8 1 Saad RJ Chey WD 2006 08 Review article current and emerging therapies for functional dyspepsia Aliment Pharmacol Ther 24 3 475 92 doi 10 1111 j 1365 2036 2006 03005 x PMID 16886913 Check date values in date help CS1 maint uses authors parameter link Free full text van Kerkhoven LA van Rossum LG van Oijen MG Tan AC Laheij RJ Jansen JB 2006 09 Upper gastrointestinal endoscopy does not reassure patients with functional dyspepsia Endoscopy 38 9 879 85 doi 10 1055 s 2006 944661 PMID 16981103 Check date values in date help CS1 maint uses authors parameter link Free full text Archived 2011 07 27 thi ewyaebkaemchchin Moayyedi P Talley NJ Fennerty MB Vakil N 2006 04 05 Can the clinical history distinguish between organic and functional dyspepsia JAMA Review 295 13 1566 76 doi 10 1001 jama 295 13 1566 PMID 16595759 CS1 maint uses authors parameter link Vakil N Moayyedi P Fennerty MB Talley NJ 2006 08 Limited value of alarm features in the diagnosis of upper gastrointestinal malignancy systematic review and meta analysis Gastroenterology 131 2 390 401 doi 10 1053 j gastro 2006 04 029 PMID 16890592 Check date values in date help CS1 maint uses authors parameter link Polyneuropathies Medical information about polyneuropathy Patient subkhnemux 2016 07 17 Eck Jason C Radiculopathy MedicineNet subkhnemux 2012 04 12 CS1 maint uses authors parameter link Flier SN S Rose 2006 Is functional dyspepsia of particular concern in women A review of gender differences in epidemiology pathophysiologic mechanism clinical presentation and management Am J Gastroenterol 101 S644 S653 doi 10 1111 j 1572 0241 2006 01015 x PMID 17177870 Futagami S Itoh T Sakamoto C 2015 Systematic review with meta analysis post infectious functional dyspepsia Aliment Pharmacol Ther 41 2 177 88 doi 10 1111 apt 13006 PMID 25348873 CS1 maint uses authors parameter link Talley NJ Ford AC 2015 11 05 Functional Dyspepsia N Engl J Med Review 373 19 1853 63 doi 10 1056 NEJMra1501505 PMID 26535514 CS1 maint uses authors parameter link Duncanson KR Talley NJ Walker MM Burrows TL 2017 Food and functional dyspepsia a systematic review J Hum Nutr Diet Systematic Review doi 10 1111 jhn 12506 PMID 28913843 CS1 maint uses authors parameter link Celiac Disease NIDDKD 2015 06 subkhnemux 2016 03 17 Check date values in date help Clinical presentation of celiac disease in the pediatric population 2005 04 PMID 15825129 Cite journal requires journal help Check date values in date help Yelon Jay A 2014 Geriatric Trauma and Critical Care New York Springer Verlag p 182 ISBN 9781461485018 CS1 maint uses authors parameter link Ford AC Moayyedi P 2013 Dysepsia BMJ 347 f5059 doi 10 1136 bmj f5059 PMID 23990632 CS1 maint uses authors parameter link Laine L Schoenfeld P Fennerty MB 2001 Therapy for Helicobacter pylori in patients with nonulcer dyspepsia A meta analysis of randomized controlled trials Ann Intern Med 134 361 369 doi 10 7326 0003 4819 134 5 200103060 00008 PMID 11242496 CS1 maint uses authors parameter link Moayyedi P Deeks J Talley NJ 2003 An update of the Cochrane systematic review of Helicobacter pylori eradication therapy in nonulcer dyspepsia Am J Gastroenterol 98 12 2621 6 doi 10 1111 j 1572 0241 2003 08724 x PMID 14687807 Talley NJ 2002 Review article Helicobacter pylori and nonulcer dyspepsia Aliment Pharmacol Ther 16 1 58 65 doi 10 1046 j 1365 2036 2002 0160s1058 x PMID 11849130 Pajala M Heikkinen M 2006 A prospective 1 year follow up study in patients with functional or organic dyspepsia changes in gastrointestinal symptoms mental distress and fear of serious illness Aliment Pharmacol Ther 24 1241 1246 doi 10 1111 j 1365 2036 2006 03108 x PMID 17014583 26 0 26 1 26 2 26 3 Monkemuller K Malfertheiner P 2006 Drug treatment of functional dyspepsia World J Gastroenterol 12 17 2694 700 PMID 16718755 CS1 maint uses authors parameter link 27 0 27 1 27 2 27 3 27 4 Talley NJ Vakil N 2005 Guidelines for the management of dyspepsia Am J Gastroenterol 100 10 2324 37 doi 10 1111 j 1572 0241 2005 00225 x PMID 16181387 CS1 maint uses authors parameter link Information regarding withdrawal of Propulsid cisapride by Janssen Pharmaceutica FDA Thompson Coon J Ernst E 2002 10 Systematic review herbal medicinal products for non ulcer dyspepsia Aliment Pharmacol Ther 16 10 1689 99 doi 10 1046 j 1365 2036 2002 01339 x PMID 12269960 Check date values in date help CS1 maint uses authors parameter link Melzer J Rosch W Reichling J Brignoli R Saller R 2004 Meta analysis phytotherapy of functional dyspepsia with the herbal drug preparation STW 5 Iberogast Aliment Pharmacol Ther 20 11 12 1279 87 doi 10 1111 j 1365 2036 2004 02275 x PMID 15606389 CS1 maint uses authors parameter link aehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhV T DICD 10 K30 kICD 9 CM 536 8DiseasesDB 30831thrphyakrphaynxkMedlinePlus 003260Patient UK xaharimyxyekhathungcak https th wikipedia org w index php title xaharimyxy amp oldid 7900799, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม