fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษากฺ๋อง

ภาษากฺ๋อง เป็นภาษาใกล้สูญภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาทิเบต-พม่าของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นภาษาที่แสดงลักษณะของภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่าอย่างเด่นชัด กล่าวคือ มีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ มีพยัญชนะท้ายน้อย ความสั้น-ยาวของเสียงสระไม่ส่งผลต่อความหมายของคำ และมีการเรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา

ภาษากฺ๋อง
ประเทศที่มีการพูดไทย
จำนวนผู้พูด80 คน (2543)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
จีน-ทิเบต
ระบบการเขียนอักษรไทย
รหัสภาษา
ISO 639-2sit
ISO 639-3ugo

ผู้พูดภาษากฺ๋องเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กฺ๋อง จากการสำรวจของนักภาษาศาสตร์เดวิด แบรดลีย์ พบผู้พูดภาษานี้ในประเทศไทยราว 80 คนใน พ.ศ. 2543 อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 4 บ้านวังควาย ตำบลวังยาว และหมู่ที่ 10 บ้านกกเชียง ตำบลห้วยขมิ้น อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี และหมู่ที่ 3 บ้านละว้า ตำบลทองหลาง อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี ไม่พบผู้พูดในประเทศพม่า ปัจจุบันเริ่มมีผู้พูดภาษากฺ๋องน้อยลง โดยเด็ก ๆ ชาวกฺ๋องหันไปพูดภาษาไทยและภาษาลาว (ลาวครั่ง)

สัทวิทยา

พยัญชนะ

หน่วยเสียงพยัญชนะภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียง จังหวัดสุพรรณบุรี
ลักษณะการออกเสียง ตำแหน่งเกิดเสียง
ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
เสียงนาสิก m n ɲ ŋ
เสียงหยุด ก้อง b d ɡ
ไม่ก้อง ไม่พ่นลม p t c k ʔ
พ่นลม
เสียงเสียดแทรก f s x h
เสียงข้างลิ้น l
เสียงเปิด w j


  • หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายมี 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /ŋ/, /k/ และ /ʔ/
  • หน่วยเสียงพยัญชนะควบมี 4 หน่วยเสียง ได้แก่ /pʰl/, /kl/, /kʰl/ และ /bl/ เกิดในตำแหน่งต้นพยางค์เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ผู้พูดรุ่นใหม่ไม่นิยมออกเสียง /pʰl/ และ /bl/ เป็นพยัญชนะควบ โดยจะออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวแรก
  • หน่วยเสียง /pʰ/ มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ [pʰ] และ [f] ซึ่งมีการแปรอิสระ เช่น [e~fe] 'ไม้ (ไผ่)' ส่วนหน่วยเสียง /cʰ/ มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ [cʰ] และ [s] ซึ่งมีการแปรอิสระเช่นกัน เช่น [ǒŋ~sǒŋ 'กิ้งก่า' ทั้งนี้ ผู้พูดรุ่นใหม่นิยมออกเสียง /pʰ/ และ /cʰ/ เป็น [f] และ [s] ตามลำดับ แต่ยังไม่เป็นทั้งระบบ
  • หน่วยเสียง /x/ พบเฉพาะในกลุ่มผู้พูดสูงอายุ โดยพบตัวอย่างคำเดียวคือ /xǎʔ/ 'เข็ม'

สระ

สระเดี่ยว

หน่วยเสียงสระเดี่ยวภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียง จังหวัดสุพรรณบุรี
ระดับลิ้น ตำแหน่งลิ้น
หน้า กลางลิ้น หลัง
สูง     i     ɨ • ʉ u
กึ่งสูง ʊ
กลาง     e • ø ə o
กึ่งต่ำ     ɛ • œ ʌ
ต่ำ                   a ɔ


  • หน่วยเสียง /e/ มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ [e] และ [ɪ] โดยเสียงย่อย [e] ปรากฏในพยางค์ที่มีพยัญชนะท้าย เช่น [kěŋ] 'ตัวเอง' ส่วนเสียงย่อย [ɪ] ปรากฏในพยางค์ที่ไม่มีพยัญชนะท้าย เช่น [cɪ] 'ม้าม'
  • หน่วยเสียง /ɔ/ คือเสียง [ɔ̞] เนื่องจากเสียง /ɔ/ นั้น แท้จริงแล้วคือ เสียงกึ่งต่ำ แต่เสียง /ɒ/ จะปรากฏออกมาได้ไม่บ่อยนัก ดังนั้นค่าของเสียงหลักคือ เสียง /ɔ/

สระประสม

ภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียงมีหน่วยเสียงสระประสม 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /i̯a/, /ɨ̯a/ และ /u̯ɔ/

วรรณยุกต์

ภาษากฺ๋องถิ่นกกเชียงมีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ 4 หน่วยเสียง ได้แก่

  • หน่วยเสียงกลางระดับ (mid tone)
  • หน่วยเสียงวรรณยุกต์ต่ำ-ตก (low-falling tone) ซึ่งอาจเปลี่ยนเสียงเป็นวรรณยุกต์กลาง-ตก-ขึ้นหรือวรรณยุกต์สูง-ตกในประโยคปฏิเสธ
  • หน่วยเสียงวรรณยุกต์สูง-ตก (high-falling tone)
  • หน่วยเสียงวรรณยุกต์กลาง-ตก-ขึ้น (mid falling-rising tone) มีเสียงย่อย 2 เสียง ได้แก่ เสียงต่ำ-ขึ้น ปรากฏเมื่อพยัญชนะท้ายเป็นเสียงกัก และเสียงกลาง-ตก-ขึ้น ปรากฏเมื่อพยัญชนะท้ายเป็นเสียงอื่นที่ไม่ใช่เสียงกัก

ระบบการเขียน

ตัวเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
/k/ ตะกร้า
วุ๋ หนู
กฺ /ɡ/ กฺอง ม้า
/kʰ/ ค๋ นกยูง
/x/ ฆ๋ เข็ม
/ŋ/ ห้า
ดุ๋ทุ ลำห้วย
/c/ จี๋ เก้ง
/cʰ/ ช๋ กิ้งก่า
/s/ ซี ล้าง
/ɲ/ เบ็ดตกปลา
/d/ ดื เสือ
/t/ ต๋อง ข้อง
/tʰ/ ท๋อง ตุ่น
/n/ นั๋ ตั๊กแตน
/b/ บ๋ ครก
/p/ าเท้ง รองเท้า
/pʰ/ พู หม้อ
/f/ ฟ๋ เกวียน
/m/ มึ๋ วัว
/j/ ยึ๋ บ้าน
/l/ ล๋าะ นิ้ว
/w/ วั๋ หมี
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น) อ๋ กวาง
ไม่มีรูป /ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย) เค๋าะ นก
/h/ ฮิ๋ ทองคำ
  • พยัญชนะไม่เปลี่ยนรูปเมื่อผันวรรณยุกต์
สระ
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
–ะ /a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ฆ๋ เข็ม
–ั /a/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) วั๋ หมี
–า /a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) อ๋ กวาง
–ิ /i/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) นิ แทรก
–ี /i/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) จี๋ เก้ง
–ึ /ɨ/ มึ๋ วัว
–ือํ /ʉ/ คือํ หมา
–ุ /u/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) วุ๋ หนู
–ู /u/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ลาบู้ ผีเสื้อ
เ–ะ /e/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) มา
กาเว็ เที่ยว
ก๋ก ขวัญ
เ– /e/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ม้าม
เํ– /ø/ เํยง เสื้อ
แ–ะ /ɛ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) ม๋ แม่
แล็ท๋ หอยขม
อาค่ง อะไร
แ– /ɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) สิบ
แํ–ะ/แํ– /œ/ แํฮ๋ รัก
เ–อะ/เ–ิ /ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) เซิ่ สีดำ
เ–อ /ə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) เพื่อน
เํ–ิ /ʌ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) เํดิ๋ สะอึก
โ–ะ /o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ว๋ ไก่
โ–ะ (ลดรูป) /o/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) บ๋ก ครก
โ– /o/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) คน
โ–ะํ /ʊ/ พ๋ะํ หมู
เ–าะ /ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/) ล๋ นิ้ว
–อ /ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือมีพยัญชนะท้ายเป็น /k/, /ŋ/) ม่ ทา, เมา
กฺ่ แสบ
เ–ีย /i̯a/ ลี่ย อร่อย
เ–ือ /ɨ̯a/ เคื๋อ ตัวต่อ
–ัว /u̯ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย) ซัว กิน
–ว– /u̯ɔ/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย) คูด หมวก
วรรณยุกต์
อักษรไทย เสียง ตัวอย่างคำ ความหมาย
ไม่มีรูป หน่วยเสียงกลางระดับ ออง เทียน
พีดา กระต่าย
–่ หน่วยเสียงต่ำ-ตก บ่ ตี
งุ่ นั่ง
–้ หน่วยเสียงสูง-ตก กฺ้อง สูง
คูเอ้าะ แกง
–๋ หน่วยเสียงกลาง-ตก-ขึ้น อิ๋ ไม้
ยึ๋ บ้าน

ไวยากรณ์

โครงสร้างประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา คำขยายอยู่หน้ากริยา แต่อยู่หลังคำนาม คำบุพบทอยู่หลังคำนาม

อ้างอิง

  1. "Gong" at Ethnologue (18th ed., 2015)
  2. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 1.
  3. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 24.
  4. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 27.
  5. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. คู่มือระบบเขียนภาษากฺ๋องอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561, หน้า 29.
  • มยุรี ถาวรพัฒน์. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: ก๊อง (อุก๋อง). กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. 2540.
  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.


ภาษาก, อง, เป, นภาษาใกล, ญภาษาหน, งในกล, มภาษาท, เบต, พม, าของตระก, ลภาษาจ, เบต, เป, นภาษาท, แสดงล, กษณะของภาษาในกล, มท, เบต, พม, าอย, างเด, นช, กล, าวค, หน, วยเส, ยงวรรณย, กต, พย, ญชนะท, ายน, อย, ความส, ยาวของเส, ยงสระไม, งผลต, อความหมายของคำ, และม, การเร, ยง. phasak xng epnphasaiklsuyphasahnunginklumphasathiebt phmakhxngtrakulphasacin thiebt epnphasathiaesdnglksnakhxngphasainklumthiebt phmaxyangednchd 2 klawkhux mihnwyesiyngwrrnyukt miphyychnathaynxy khwamsn yawkhxngesiyngsraimsngphltxkhwamhmaykhxngkha aelamikareriyngpraoykhaebbprathan krrm kriyaphasak xngpraethsthimikarphudithycanwnphuphud80 khn 2543 1 imphbwnthi trakulphasacin thiebt thiebt phmaphma olol yngimcdklum phasak xngrabbkarekhiynxksrithyrhsphasaISO 639 2sitISO 639 3ugophuphudphasak xngepnklumchatiphnthuk xng cakkarsarwckhxngnkphasasastredwid aebrdliy phbphuphudphasaniinpraethsithyraw 80 khnin ph s 2543 xasyxyuinhmuthi 4 banwngkhway tablwngyaw aelahmuthi 10 bankkechiyng tablhwykhmin xaephxdanchang cnghwdsuphrrnburi aelahmuthi 3 banlawa tablthxnghlang xaephxhwykht cnghwdxuthythani imphbphuphudinpraethsphma pccubnerimmiphuphudphasak xngnxylng odyedk chawk xnghnipphudphasaithyaelaphasalaw lawkhrng enuxha 1 sthwithya 1 1 phyychna 1 2 sra 1 2 1 sraediyw 1 2 2 sraprasm 1 3 wrrnyukt 2 rabbkarekhiyn 3 iwyakrn 4 xangxingsthwithya aekikhphyychna aekikh hnwyesiyngphyychnaphasak xngthinkkechiyng cnghwdsuphrrnburi 3 lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngrimfipak pumehnguxk ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud kxng b d ɡimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰesiyngesiydaethrk f s x hesiyngkhanglin lesiyngepid w j hnwyesiyngthiepnidthngphyychnatnaelaphyychnathaymi 3 hnwyesiyng idaek ŋ k aela ʔ hnwyesiyngphyychnakhwbmi 4 hnwyesiyng idaek pʰl kl kʰl aela bl ekidintaaehnngtnphyangkhethann xyangirktam phuphudrunihmimniymxxkesiyng pʰl aela bl epnphyychnakhwb odycaxxkesiyngechphaaphyychnatwaerk hnwyesiyng pʰ miesiyngyxy 2 esiyng idaek pʰ aela f sungmikaraeprxisra echn pʰe fe im iph swnhnwyesiyng cʰ miesiyngyxy 2 esiyng idaek cʰ aela s sungmikaraeprxisraechnkn echn cʰǒŋ sǒŋ kingka thngni phuphudrunihmniymxxkesiyng pʰ aela cʰ epn f aela s tamladb aetyngimepnthngrabb hnwyesiyng x phbechphaainklumphuphudsungxayu odyphbtwxyangkhaediywkhux xǎʔ ekhm sra aekikh sraediyw aekikh hnwyesiyngsraediywphasak xngthinkkechiyng cnghwdsuphrrnburi 4 radblin taaehnnglinhna klanglin hlngsung i ɨ ʉ ukungsung ʊklang e o e okungta ɛ œ ʌta a ɔ hnwyesiyng e miesiyngyxy 2 esiyng idaek e aela ɪ odyesiyngyxy e praktinphyangkhthimiphyychnathay echn keŋ twexng swnesiyngyxy ɪ praktinphyangkhthiimmiphyychnathay echn cɪ mam hnwyesiyng ɔ khuxesiyng ɔ enuxngcakesiyng ɔ nn aethcringaelwkhux esiyngkungta aetesiyng ɒ capraktxxkmaidimbxynk dngnnkhakhxngesiynghlkkhux esiyng ɔ sraprasm aekikh phasak xngthinkkechiyngmihnwyesiyngsraprasm 3 hnwyesiyng 4 idaek i a ɨ a aela u ɔ wrrnyukt aekikh phasak xngthinkkechiyngmihnwyesiyngwrrnyukt 4 hnwyesiyng 5 idaek hnwyesiyngklangradb mid tone hnwyesiyngwrrnyuktta tk low falling tone sungxacepliynesiyngepnwrrnyuktklang tk khunhruxwrrnyuktsung tkinpraoykhptiesth hnwyesiyngwrrnyuktsung tk high falling tone hnwyesiyngwrrnyuktklang tk khun mid falling rising tone miesiyngyxy 2 esiyng idaek esiyngta khun praktemuxphyychnathayepnesiyngkk aelaesiyngklang tk khun praktemuxphyychnathayepnesiyngxunthiimichesiyngkkrabbkarekhiyn aekikhtwekhiynphasak xngxksrithytamthikhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithy sanknganrachbnthityspha idkahndiw midngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k kng takrawuk hnuk ɡ k xng makh kʰ khng nkyungkh x kha ekhmng ŋ ngx hadungthung lahwyc c ci ekngch cʰ chng kingkas s esiy langy ɲ ya ebdtkplad d edux esuxt t txng khxngth tʰ thxng tunn n nng tkaetnb b bk khrkp p paethng rxngethaph pʰ phu hmxf f ef ekwiynm m muk wwy j yung banl l elaa niww w wng hmix ʔ emuxepnphyychnatn xa kwangimmirup ʔ emuxepnphyychnathay ekhaa nkh h hing thxngkhaphyychnaimepliynrupemuxphnwrrnyukt sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuxmiphyychnathayepn ʔ kha ekhm a emuxmiphyychnathayepn k ŋ wng hmi a a emuximmiphyychnathay xa kwang i i emuxmiphyychnathay ning aethrk i i emuximmiphyychnathay ci ekng u ɨ muk ww ux ʉ khux hma u u emuxmiphyychnathay wuk hnu u u emuximmiphyychnathay labu phiesuxe a e emuxmiphyychnathay eda makaewng ethiywekk khwye e emuximmiphyychnathay ec mame o eyng esuxae a ɛ emuxmiphyychnathay aema aemaelngaetha hxykhmxaaekhng xairae ɛ emuximmiphyychnathay aes sibae a ae œ aeha rke xa e i e emuxmiphyychnathay esik sidae x e emuximmiphyychnathay ekx ephuxne i ʌ emuxmiphyychnathayepn k ŋ edik saxuko a o emuxmiphyychnathayepn ʔ owa iko a ldrup o emuxmiphyychnathayepn k ŋ bk khrko o emuximmiphyychnathay ox khno a ʊ opha hmue aa ɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ elaa niw x ɔ emuximmiphyychnathayhruxmiphyychnathayepn k ŋ mx tha emak xng aesbe iy i a ekhliy xrxye ux ɨ a ekhuxng twtx w u ɔ emuximmiphyychnathay sw kin w u ɔ emuxmiphyychnathay khudwng hmwk wrrnyukt xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayimmirup hnwyesiyngklangradb xxng ethiynphida kratay hnwyesiyngta tk ba tingung nng hnwyesiyngsung tk k xng sungkhuexaa aekng hnwyesiyngklang tk khun exik imyung baniwyakrn aekikhokhrngsrangpraoykhepnaebbprathan krrm kriya khakhyayxyuhnakriya aetxyuhlngkhanam khabuphbthxyuhlngkhanamxangxing aekikh Gong at Ethnologue 18th ed 2015 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 1 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 24 4 0 4 1 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 27 sanknganrachbnthityspha khumuxrabbekhiynphasak xngxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha 2561 hna 29 myuri thawrphthn saranukrmklumchatiphnthu kxng xukxng kthm sthabnwicyphasaaelawthnthrrmephuxkarphthnachnbth mhawithyalymhidl 2540 Gordon Raymond G Jr ed 2005 Ethnologue Languages of the World Fifteenth edition Dallas Tex SIL International Online version http www ethnologue com bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasaekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasak xng amp oldid 9353384, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม