fbpx
วิกิพีเดีย

การรับรู้ความใกล้ไกล

การรับรู้ความใกล้ไกล เป็นสมรรถภาพทางการเห็นในการมองโลกเป็น 3 มิติ และการเห็นว่าวัตถุหนึ่งอยู่ใกล้ไกลแค่ไหน แม้เราจะรู้ว่าสัตว์ก็สามารถรู้สึกถึงความใกล้ไกลของวัตถุ (เพราะสามารถเคลื่อนไหวอย่างแม่นยำหรืออย่างสมควรตามความใกล้ไกล) แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ไม่รู้ว่า สัตว์รับรู้ความใกล้ไกลทางอัตวิสัยเหมือนกันมนุษย์หรือไม่

ลักษณะต่าง ๆ รวมทั้งทัศนมิติแบบต่าง ๆ ขนาดโดยเปรียบเทียบ วัตถุที่บังกัน และอื่น ๆ ล้วนมีส่วนทำให้เห็นภาพถ่ายสองมิตินี้เป็น 3 มิติได้

ความใกล้ไกลจะรู้ได้จากตัวช่วย (cue) คือสิ่งที่มองเห็นต่าง ๆ ซึ่งปกติจะจัดเป็น

ตัวช่วยจากตาเดียว

ตัวช่วยที่เห็นด้วยตาเดียวสามารถให้ข้อมูลความใกล้ไกลแม้เมื่อไม่ได้ใช้สองตามอง โดยรวมหัวข้อต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

พารัลแลกซ์เนื่องด้วยการเคลื่อนไหว (Motion parallax)
เมื่อผู้มองเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่โดยเปรียบเทียบของวัตถุนิ่ง ๆ ที่มองเห็น จะช่วยบอกความใกล้ไกลโดยเปรียบเทียบ ถ้ามีข้อมูลเกี่ยวกับทิศทางและความเร็วของการเคลื่อนที่ พารัลแลกซ์เช่นนี้จะให้ข้อมูลความใกล้ไกลแบบสัมบูรณ์ ไม่ใช่แค่โดยเปรียบเทียบ ปรากฏการณ์นี้สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนเมื่อขับรถ เพราะวัตถุที่ใกล้จะผ่านไปอย่างรวดเร็ว ขณะที่วัตถุไกล ๆ จะดูนิ่ง ๆ สัตว์ที่ไม่เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาเนื่องจากลานสายตาของตาทั้งสองไม่ได้มองที่วัตถุเดียวกัน จะมีพฤติกรรมเกี่ยวกับปรากฏการณ์นี้อย่างชัดเจนเทียบกับมนุษย์ (ที่สามารถรู้ความใกล้ไกลด้วยสองตา) เช่น นกบางชนิดจะผงกหัวเพื่อให้ได้ motion parallax และกระรอกจะวิ่งไปในแนวตั้งฉากกับแนวสายตาเพื่อจะรู้ความใกล้ไกล
ความใกล้ไกลเพราะการเคลื่อนไหวหรือการรับรู้ความใกล้ไกลแบบจลน์ (kinetic depth perception)
เมื่อวัตถุกำลังเคลื่อนที่เข้ามาใกล้คนที่มองอยู่ ภาพที่ตกลงที่จอประสาทตาจะเพิ่มขนาดขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งทำให้รู้สึกว่าวัตถุนั้นกำลังวิ่งเข้ามาใกล้ ๆ โดยการเปลี่ยนแปลงของขนาดสิ่งเร้าเทียบกับผู้สังเกตการณ์เช่นนี้ไม่ใช่ทำให้เห็นว่าเพียงแค่กำลังเคลื่อนที่เท่านั้น แต่จะช่วยให้รู้ระยะทางของวัตถุที่กำลังเคลื่อนไหว ดังนั้น ในบริบทนี้ ขนาดที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปจึงเป็นตัวช่วยบอกความใกล้ไกล เมื่อวัตถุที่เคลื่อนไหวเล็กลง ก็จะปรากฏว่าอยู่ห่างไกลขึ้น ส่วนปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกันก็คือ สมรรถภาพของระบบการเห็นในการคำนวณเวลาที่วัตถุจะวิ่งเข้ามาถึงตัว โดยอาศัยอัตราการขยายขนาดในลานสายตา ซึ่งเป็นสมรรถภาพที่มีประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่การขับรถจนถึงการเล่นกีฬา แต่ถ้าจะกล่าวให้แม่นยำ สมรรถภาพเช่นนี้เป็นการคำนวณ "ความเร็ว" ไม่ใช่คำนวณ "ความใกล้ไกล" เช่นเมื่อขับรถ คนขับจะสามารถตัดสินเวลาที่จะมาบรรจบกันโดยอาศัยการรับรู้ความใกล้ไกลแบบจลน์
ปรากฏการณ์ความใกล้ไกลแบบจลน์ (Kinetic depth effect)
คือถ้าวัตถุคงรูปที่อยู่นิ่ง ๆ เช่น ลูกบาศก์ที่ทำจากเส้นลวด วางบังแสงหน้าจอกึ่งทึบ เงาของมันจะตกลงอยู่ที่จอ ผู้สังเกตการณ์อีกด้านหนึ่งจะเห็นเงาสองมิติของวัตถุนั้น แต่เมื่อลูกบาศก์หมุน ระบบการเห็นจะสามารถดึงข้อมูลที่จำเป็นเพื่อให้เห็นมิติที่ 3 จากการเคลื่อนไหว แล้วทำให้เห็นเป็นลูกบาศก์ได้ นี่เป็นตัวอย่างของ "ปรากฏการณ์ความใกล้ไกลแบบจลน์" เป็นปรากฏการณ์ที่ก็เกิดด้วยถ้าวัตถุที่หมุนเป็นวัตถุทึบตัน (ไม่ใช่แค่ลายเส้น) ตราบเท่าที่เงาบนจอมีเส้นต่าง ๆ ซึ่งมองเห็นเป็นมุมหรือขอบ และเส้นต่าง ๆ เหล่านี้เปลี่ยนไปทั้งโดยความยาวและโดยทิศทางเมื่อวัตถุกำลังหมุน
ทัศนมิติ (Perspective)
เส้นขนานที่วิ่งยาวไปทางด้านหน้าจะดูเหมือนเข้าบรรจบกันในระยะไกล ๆ หรือระยะอนันต์ คุณสมบัติเช่นนี้ทำให้เราสามารถรู้ระยะส่วนต่าง ๆ ของวัตถุหนึ่ง ๆ โดยเปรียบเทียบ หรือระยะโดยเปรียบเทียบของวัตถุต่าง ๆ ในทัศนียภาพได้ ตัวอย่างก็คือ เมื่อยืนอยู่ที่หน้าทางหลวงตรง ๆ แล้วมองไปตามทาง จะเห็นถนนแคบลงเรื่อย ๆ ในระยะห่างออกไปไกล ๆ
ขนาดโดยเปรียบเทียบ
ถ้าวัตถุสองอย่างมีขนาดเหมือนกัน (เช่น ต้นไม้สองต้น) แม้ขนาดสัมบูรณ์จะยังไม่รู้ แต่ขนาดโดยเปรียบเทียบก็จะให้ข้อมูลความใกล้ไกลโดยเปรียบเทียบของวัตถุทั้งสอง ถ้ามุมมองจากบนถึงล่างของวัตถุที่ตกลงบนจอประสาทตาของวัตถุหนึ่งใหญ่กว่าอีกวัตถุหนึ่ง (ที่รู้ว่าขนาดเท่ากัน) วัตถุที่มุมใหญ่กว่าก็จะดูใกล้กว่า
ขนาดที่คุ้นเคย
เนื่องจากมุมจากบนถึงล่างของภาพวัตถุที่ตกลงบนจอประสาทตาจะลดลงเมื่อไกลออกไป ข้อมูลนี้เมื่อรวมกับความรู้ที่มีก่อนว่าวัตถุมีขนาดเท่าไร จะช่วยกำหนดความใกล้ไกลสัมบูรณ์ของวัตถุ ยกตัวอย่างเช่น คนมักจะคุ้นเคยกับขนาดโดยเฉลี่ยของรถยนต์ ความรู้ที่มีก่อนนี้เมื่อรวมกับข้อมูลเกี่ยวกับมุมมองของภาพที่ตกลงที่จอประสาทตา จะช่วยกำหนดความใกล้ไกลสัมบูรณ์ของรถในทัศนียภาพที่เห็น
ขนาดสัมบูรณ์
แม้ขนาดแท้จริงของวัตถุจะไม่รู้และมีแค่วัตถุเดียวที่มองเห็น แต่วัตถุที่เล็กกว่าจะดูไกลกว่าวัตถุที่ใหญ่กว่าเมื่ออยู่ในที่เดียวกัน
ทัศนมิติเนื่องจากอากาศ
เนื่องการกระเจิงแสงในบรรยากาศ วัตถุที่อยู่ไกลออกไปจะมีความเปรียบต่างของความสว่างและความอิ่มตัวสีที่ลดลง (คือสว่างน้อยลงและสีจางลง) เพราะเหตุนี้ ภาพจะดูพร่ามัวมากยิ่งขึ้นถ้าวัตถุอยู่ไกลออกไป ในสาขาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่า distance fog (ความพร่าลางเพราะทางไกล) คือ ฉากหน้า/พื้นหน้าจะมีความเปรียบต่างสูง ส่วนฉากหลัง/พื้นหลังจะมีความเปรียบต่างต่ำ ดังนั้น วัตถุที่มีความเปรียบต่างต่าง ๆ กันเทียบกับพื้นหลังจะดูใกล้ไกลต่างกัน สีของวัตถุที่อยู่ไกล ๆ ยังจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินเพิ่มขึ้น (เช่น ภูเขาที่อยู่ไกล ๆ) มีจิตรกรชาวยุโรปบางท่าน (เช่น ปอล เซซาน) ที่ใช้สีที่อบอุ่น (เช่น สีแดง สีเหลือง และสีส้ม) เพื่อทำให้รู้สึกเหมือนอยู่ใกล้ ๆ และสีที่เย็นชากว่า (สีน้ำเงิน สีม่วง สีน้ำเงินอมเขียว) เพื่อแสดงวัตถุที่อยู่ไกลกว่า
การปรับตาดูใกล้ไกล
นี่เป็นการปรับตัวทางกล้ามเนื้อ-สายตาเพื่อให้เห็นใกล้ไกล คือ เมื่อเราพยายามมองวัตถุที่อยู่ไกล ๆ กล้ามเนื้อซิลิอารีจะยืดเลนส์ตาออก ทำให้มันบาง และดังนั้น จึงเปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนส์ ความรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ ก็จะส่งไปยังเปลือกสมองส่วนการเห็นเพื่อใช้แปลผลความใกล้ไกลของสิ่งที่เห็น แต่กลไกนี้จะให้ข้อมูลความใกล้ไกลในระยะที่น้อยกว่า 2 เมตรเท่านั้น
การบัง (Occultation)
นี่เกิดเมื่อภาพที่อยู่ใกล้กว่าบังภาพที่อยู่ไกลกว่า คือ ถ้าวัตถุแรกบังอีกวัตถุหนึ่ง มนุษย์จะเห็นวัตถุแรกว่าใกล้กว่า แต่ข้อมูลนี้ก็เป็นเพียงแค่การจัดลำดับความใกล้ไกลโดยเปรียบเทียบเท่านั้น ส่วนการบังแสง (ambient occlusion) จะอาศัยรูปร่างและลายผิวของวัตถุ ปรากฏการณ์เช่นนี้จะช่วยลดเวลาในการรู้ความใกล้ไกลทั้งในสถานการณ์ตามธรรมชาติและในห้องทดลอง
ทัศนมิติเชิงโค้ง (Curvilinear perspective)
ที่รอบ ๆ ลานสายตา เส้นขนานจะกลายเป็นเส้นโค้ง เหมือนกับในรูปที่ถ่ายผ่านเลนส์ตาปลา ปรากฏการณ์นี้จะช่วยเพิ่มความรู้สึกว่าอยู่ในเหตุการณ์/สถานการณ์ที่เป็น 3 มิตินั้นจริง ๆ ภาพถ่าย (หรือภาพวาด) ปกติจะไม่ใช้ทัศนมิติเช่นนี้ เพราะได้วางกรอบภาพกำจัดส่วนที่แสดงปรากฏการณ์นี้ออก โดยถือว่าเป็น "ความบิดเบือนของภาพ" แต่จริง ๆ แล้ว "ความบิดเบือน" นี้เป็นไปตามธรรมชาติของแสง และสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาพที่เห็นคล้ายกับลักษณะทางทัศนมิติอื่น ๆ ที่เห็นภายในกรอบภาพ ซึ่งให้ข้อมูลความใกล้ไกลเกี่ยวกับภาพ
รายละเอียด (Texture gradient)
รายละเอียดของวัตถุที่อยู่ใกล้ ๆ สามารถมองเห็นได้ชัด เทียบกับมองไม่เห็นสำหรับวัตถุที่อยู่ไกล ๆ ยกตัวอย่างเช่น สำหรับถนนกรวด กรวดที่อยู่ใกล้ ๆ สามารถเห็นรูปร่าง ขนาด และสี แต่เมื่อไกลออกไป ก็ไม่สามารถเห็นรายละเอียดเหล่านั้น
แสงสว่างและเงา
แสงที่ตกลงที่และสะท้อนจากวัตถุ รวมทั้งเงาที่ทอดจากวัตถุ เป็นตัวช่วยให้สมองกำหนดรูปร่างและตำแหน่งของวัตถุในปริภูมิได้
ความพร่ามัวในบางส่วนของภาพ
ความพร่ามัวของภาพตรงที่ไม่ใช่จุดโฟกัส เป็นเทคนิคสามัญในการถ่ายภาพและวิดีโอเพื่อแสดงความใกล้ไกล ซึ่งเป็นตัวช่วยสำหรับตาเดียวแม้จะไม่มีตัวช่วยอื่น ๆ โดยอาจให้ความรู้สึกใกล้ไกลโดยธรรมชาติสำหรับรูปที่มากระทบกับจอประสาทตา เพราะตาของมนุษย์ก็มีขอบเขตจำกัดในการโฟกัสด้วยเหมือนกัน นอกจากนั้นแล้ว ยังมีขั้นตอนวิธีของคอมพิวเตอร์หลายอย่าง ที่สามารถใช้ประมาณความใกล้ไกลอาศัยความพร่ามัวของภาพตรงที่ไม่ใช่จุดโฟกัส แมงมุมกระโดดบางพันธุ์ยังรู้ความใกล้ไกล้โดยอาศัยเทคนิคนี้อีกด้วย
มุมเงย
เมื่อมองเห็นวัตถุเทียบกับขอบฟ้า เรามักจะเห็นวัตถุที่ใกล้กับขอบฟ้ามากกว่าว่าไกลกว่า และวัตถุที่อยู่ไกลขอบฟ้ามากกว่าว่าใกล้กว่า นอกจากนั้น วัตถุที่เคลื่อนจากตำแหน่งที่ใกล้กับขอบฟ้า ไปยังตำแหน่งที่สูงหรือต่ำกว่าขอบฟ้า วัตถุนั้นก็จะดูเหมือนว่าเข้ามาใกล้คนดู

ตัวช่วยจากสองตา

การเห็นด้วยสองตาจะช่วยให้ข้อมูลความใกล้ไกลของทัศนียภาพ โดยกระบวนการรวมทั้ง

พารัลแลกซ์ (การเห็นเป็น 3 มิติ, ความต่างที่สองตา, binocular parallax)
สัตว์ที่มีตาอยู่ด้านหน้า (ไม่ใช่ด้านข้าง) สามารถใช้ข้อมูลจากภาพของวัตถุซึ่งตกลงที่จอประสาทตาทั้งสองข้างซึ่งแตกต่างกันเพื่อตัดสินความใกล้ไกล เพราะภาพสองภาพของทัศนียภาพเดียวกันมีมุมต่างกันเล็กน้อย จึงสามารถใช้มุมสามเหลี่ยมเพื่อกำหนดระยะความใกล้ไกลของวัตถุได้อย่างแม่นยำ คือตาแต่ละข้างจะเห็นวัตถุเดียวกันโดยมีมุมต่างกันเล็กน้อย เพราะตาอยู่ที่ตำแหน่งห่างกันตามแนวนอน ถ้าวัตถุอยู่ไกล ความไม่เหมือนกันของภาพที่ตกลงที่จอประสาทตาทั้งสองจะต่างกันเพียงเล็กน้อย แต่ถ้าวัตถุอยู่ใกล้ ความไม่เหมือนกันจะมีมากกว่า ภาพออโตสเตอริโอแกรม (Autostereogram) และภาพยนตร์ 3 มิติต่างก็ใช้เทคนิคนี้
การเบนตาเข้าหากัน (Convergence)
นี่เป็นตัวช่วยจากระบบสายตา-กล้ามเนื้อที่ควบคุมการเห็นของตาทั้งสองข้างซึ่งช่วยให้รู้ใกล้ไกล คือเมื่อมองวัตถุเดียวกัน ตาทั้งสองจะโฟกัสที่วัตถุซึ่งทำให้ตาเบนเข้าและยืดกล้ามเนื้อตา (extraocular muscle) เหมือนกับการปรับเลนส์ตาเพื่อดูใกล้ไกล การยืดหดของกล้ามเนื้อจะช่วยกำหนดความใกล้ไกล มุมเบนเข้าจะน้อยกว่าเมื่อดูวัตถุที่ไกล ๆ ปรากฏการณ์นี่จะช่วยสำหรับวัตถุที่ไกลน้อยกว่า 10 เมตร
เงา 3 มิติที่เห็นจากตาทั้งสองข้าง (Shadow Stereopsis)
งานศึกษาปี 2532 ได้แสดงว่า ภาพที่ตกที่จอตาทั้งสองข้างซึ่งไม่แตกต่างเนื่องจากพารัลแลกซ์ แต่มีเงาที่แตกต่างกัน จะมองรวมเป็นภาพเดียวและทำให้รู้ความใกล้ไกลของทัศนียภาพได้ โดยนักวิชาการได้ตั้งชื่อปรากฏการณ์นี้ว่า shadow stereopsis ดังนั้น เงานจึงเป็นตัวช่วยกำหนดความใกล้ไกลที่สำคัญเมื่อมองด้วยสองตา

โดยสัมบูรณ์หรือโดยเปรียบเทียบ

ในบรรดาตัวช่วยเหล่านี้ การเบนตาเข้าหากัน (Convergence) การปรับตาดูใกล้ไกล และขนาดที่คุ้นเคยเท่านั้นที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความใกล้ไกลแบบสัมบูรณ์ คือบอกระยะทางได้ ส่วนตัวช่วยอย่างอื่น ๆ เป็นข้อมูลโดยเปรียบเทียบ คือ ช่วยบอกว่าวัตถุไหนอยู่ใกล้ไกลกว่ากัน เช่น ความต่างที่สองตาจะให้ข้อมูลโดยเปรียบเทียบเท่านั้น เพราะว่า ขึ้นกับว่าตรึงตาอยู่ตรงที่ใกล้หรือไกล ขนาดความความต่างที่จอตาของวัตถุใกล้ไกลก็จะปรากฏต่าง ๆ กัน จึงทำให้รู้ขนาดโดยเปรียบเทียบเท่านั้น

ทฤษฎีวิวัฒนาการ

สัตว์กินพืชในที่ราบเปิดส่วนมากโดยเฉพาะสัตว์กีบ จะไม่เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาเพราะมีตาอยู่ทางด้านข้าง ซึ่งช่วยให้เห็นภาพปริทัศน์เป็นแพโนรามา เกือบ 360 องศารอบ ๆ ตัว จึงสามารถเห็นสัตว์ล่าเหยื่อที่เข้ามาหาได้ทุกด้าน ส่วนสัตว์ล่าเหยื่อมักจะมีตาทั้งสองข้างมองไปข้างหน้า และเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา ซึ่งช่วยให้วิ่งตะครุบหรือเข้าโถมใส่เหยื่อ ส่วนสัตว์ที่ใช้เวลาโดยมากในต้นไม้ก็เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาด้วย (เช่นบรรพบุรุษมนุษย์) จึงสามารถบอกความใกล้ไกลได้อย่างแม่นยำเมื่อกระโจนจากกิ่งต้นไม้สาขาหนึ่งไปยังอีกกิ่งหนึ่ง

แต่ก็มีนักมานุษยวิทยาเชิงกายภาพที่มหาวิทยาลัยบอสตันที่ไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีนี้ โดยยกสัตว์ในต้นไม้อื่น ๆ ที่ไม่เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตา รวมทั้งกระรอกและนกบางประเภท และได้เสนอทฤษฎีอื่นแทนคือ Visual Predation Hypothesis (สมมติฐานการล่าเหยื่อด้วยตา) ซึ่งอ้างว่า บรรพบุรุษของไพรเมต (รวมทั้งของมนุษย์) เป็นสัตว์ล่าแมลงคล้ายกับทาร์เซียร์ ซึ่งอยู่ใต้ความกดดันทางการคัดเลือกเพื่อให้มีตามองไปข้างหน้าเหมือนกับสัตว์ล่าเหยื่ออื่น ๆ เขายังใช้สมมติฐานนี้อธิบายมือของไพรเมตที่วิวัฒนาการขึ้นเป็นพิเศษ ซึ่งเขาเสนอว่า เป็นการปรับตัวเหมือนกับที่นกล่าเหยื่อใช้กรงเล็บเพื่อจับเหยื่อ

ศิลปะ

ภาพวาดตนเองของแร็มบรันต์
รูปภาพบาศกนิยมของ Jean Metzinger
ภาพหุ่นนิ่งของเซซาน

ภาพถ่ายแสดงทัศนมิติ ปกติจะเป็นภาพ 2 มิติที่แสดงความใกล้ไกลที่ไม่มีจริงในภาพ นี่ต่างจากภาพจิตรกรรม ซึ่งอาจใช้คุณสมบัติทางกายภาพบางอย่างของสี เพื่อสร้างความนูนโค้งที่มีจริง ๆ และลักษณะแสดงใกล้ไกลอื่น ๆ ส่วนกล้องดูภาพสามมิติและภาพยนตร์ 3 มิติ ใช้การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาโดยให้คนดูมองภาพสองภาพที่สร้างจากมุมมองสองมุมที่ต่างกันเล็กน้อย

เซอร์ ชาลส์ วีทสโตน เป็นบุคคลแรกที่กล่าวถึงการรับรู้ความใกล้ไกลว่า มาจากการเห็นที่ไม่เหมือนกันของตาทั้งสองข้าง แล้วต่อมาจึงประดิษฐ์กล้องมองภาพสามมิติ (สเตอริโอสโกป) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่มีเลนส์สองอัน และแสดงภาพถ่ายสองภาพของทัศนียภาพเดียวกันแต่ต่างมุมกันเล็กน้อย เมื่อมองด้วยสองตาผ่านเลนส์ทั้งสอง ก็จะทำให้รู้สึกถึงความใกล้ไกล

นักศิลป์ที่ได้ฝึกมาแล้วจะรู้ถึงวิธีต่าง ๆ ในการแสดงความใกล้ไกล (รวมทั้งสี ความพร่าลางเพราะทางไกล ทัศนมิติ และขนาดโดยเปรียบเทียบ) และใช้พวกมันเพื่อทำงานศิลป์ให้สมจริงมากขึ้น ผู้ชมอาจจะรู้สึกเหมือนกับจะสามารถจับจมูกของคนที่อยู่ในภาพ (เช่นภาพวาดตนเองของแร็มบรันต์) หรือจับผลไม้ในรูป (เช่น ภาพแอปเปิลของเซซาน) หรือเหมือนกับจะสามารถเข้าไปในภาพวาดเพื่อเดิมชมต้นไม้และทัศนียภาพอื่น ๆ

ส่วนรูปภาพแบบบาศกนิยมเป็นไอเดียที่รวมมุมมองหลาย ๆ มุมมองเข้าในภาพวาดเดียว เหมือนกับจะให้เห็นวัตถุที่อยู่ในรูปจากมุมมองต่าง ๆ

โรคที่มีผลต่อการเห็นใกล้ไกล

  • โรคตา เช่น ตามัว ประสาทตางอกพร่อง (optic nerve hypoplasia) และตาเหล่ อาจทำให้การรู้ใกล้ไกลบกพร่อง
  • เพราะโดยนิยาม การรู้ความใกล้ไกลด้วยสองตาต้องมีตาที่ใช้งานได้ทั้งสอง ดังนั้น คนที่มีตาทำงานข้างเดียวก็จะไม่รู้ความใกล้ไกลแบบที่ต้องใช้สองตา
  • การรับรู้ความใกล้ไกลต้องเรียนรู้ผ่านกระบวนการอนุมานที่อยู่นอกอำนาจจิตใจ (unconscious inference) ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยหลังจากผ่านช่วงอายุสำคัญในวัยเด็กไป

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Howard, Ian (2012). Perceiving in Depth. New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-199-76414-3.
  2. Goldstein, EB (2014). Sensation and perception (9th ed.). Pacific Grove, CA: Wadsworth.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  3. Burton, HE (1945). "The optics of Euclid". Journal of the Optical Society of America. 35 (5): 357–372. doi:10.1364/JOSA.35.000357.
  4. Ferris, SH (1972). "Motion parallax and absolute distance. Journal of experimental psychology". 95 (2): 258–263. Cite journal requires |journal= (help)
  5. Kral, K (2003). "Behavioural-analytical studies of the role of head movements in depth perception in insects, birds and mammals". Behavioural Processes. 64: 1–12.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  6. Swanston, M.C.; Gogel, W.C. (1986). "Perceived size and motion in depth from optical expansion". Perception & Psychophysics. 39 (5): 309–326. doi:10.3758/BF03202998.
  7. Ittelson, W.H. (1951-04). "Size as a cue to distance: Radial motion". American Journal of Psychology. 64 (2): 188–202. doi:10.2307/1418666. JSTOR 1418666. Check date values in: |date= (help)
  8. Wallach, H.; O'Connell, D.N. (1953). "The kinetic depth effect". Journal of Experimental Psychology. 45 (4): 205–217. doi:10.1037/h0056880. PMID 13052853.
  9. Kaufman, Lloyd (1974). Sight and Mind. New York: Oxford University Press. pp. 139–141.
    • Sousa, R; Brenner, E; Smeets, JBJ (2011). "Judging an unfamiliar object's distance from its retinal image size". Journal of Vision. 11 (9): 10, 1–6.CS1 maint: uses authors parameter (link)
    • Sousa, R; Smeets, JBJ; Brenner, E (2012). "Does size matter?". Perception. 41 (12): 1532–1534.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  10. O'Shea, RP; Blackburn, SG; Ono, H (1994). "Contrast as a depth cue". Vision Research. 34 (12): 1595–1604. doi:10.1016/0042-6989(94)90116-3. PMID 7941367.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  11. Johnston, Alan. "Depth Perception". UCL Division of Psychology and Language Sciences. สืบค้นเมื่อ 2013-09-22.
  12. Gillam, B; Borsting, E (1988). "The role of monocular regions in stereoscopic displays". Perception. 17 (5): 603–608. doi:10.1068/p170603. PMID 3249668.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  13. Schacter, Daniel L.; Gilbert, Daniel T.; Wegner, Daniel M. (2011). "Sensation and Perception". Psychology (2nd ed.). New York: Worth, Inc. pp. 136–137.
  14. Lipton, L. (1982). Foundations of the Stereoscopic Cinema - A Study in Depth. New York: Van Nostrand Reinhold. p. 56.
  15. Mather, G (1996-02-22). "Image Blur as a Pictorial Depth Cue". Proceedings: Biological Sciences. 263 (1367): 169–172. Bibcode:1996RSPSB.263..169M. doi:10.1098/rspb.1996.0027.
  16. Nagata, Takashi; Koyanagi, M; Tsukamoto, H; Saeki, S; Isono, K; Shichida, Y; Tokunaga, F; Kinoshita, M; Arikawa, K; และคณะ (2012-01-27). "Depth Perception from image defocus in a jumping spider". Science. 335 (6067): 469–471. Bibcode:2012Sci...335..469N. doi:10.1126/science.1211667. PMID 22282813.
  17. Carlson, Neil R.; Miller Jr., Harold L.; Heth, Donald S.; Donahoe, John W.; Martin, G. Neil (2010). Psychology: The Science of Behavior (7th ed.). Pearson. p. 187. ISBN 978-0-205-76223-1.
  18. Okoshi, Takanori. (2012). Three-dimensional imaging techniques. Elsevier. pp. 387–387. ASIN B01D3RGBGS.
  19. Medina, Puerta A (1989). "The power of shadows: shadow stereopsis". J. Opt. Soc. Am. A. 6 (2): 309–311. Bibcode:1989JOSAA...6..309M. doi:10.1364/JOSAA.6.000309. PMID 2926527.
  20. Schacter, Daniel L. (2011). Psychology (2nd ed.). New York: Worth, In. p. 151.
  21. Robbins, Daniel (1985). Jean Metzinger: At the Center of Cubism. Jean Metzinger in Retrospect. The University of Iowa Museum of Art. p. 22.CS1 maint: uses authors parameter (link)

แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ

  • Howard, Ian P.; Rogers, Brian J. (2012). Perceiving in Depth. New York: Oxford University Press.
  • Palmer, S. E. (1999). Vision science: Photons to phenomenology. Cambridge, MA: Bradford Books/MIT Press.
  • Pirazzoli, G.P. (2015). Le Corbusier, Picasso, Polyphemus and Other Monocular Giants / e altri giganti monòculi. Firenze, Italy: goWare.
  • Pinker, Steven (1997). "The Mind's Eye". How the Mind Works. pp. 211–233. ISBN 0-393-31848-6.
  • Sternberg, RJ; Sternberg, K; Sternberg, K (2011). Cognitive Psychology (6th ed.). Wadsworth Pub Co.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  • Purves, D; Lotto, B (2003). Why We See What We Do: An Empirical Theory of Vision. Sunderland, MA: Sinauer Associates.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  • Steinman, Scott B.; Steinman, Barbara A.; Garzia, Ralph Philip (2000). Foundations of Binocular Vision: A Clinical Perspective. New York: McGraw-Hill Medical. ISBN 0-8385-2670-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Depth perception example | GO Illusions.
  • Monocular Giants
  • What is Binocular (Two-eyed) Depth Perception?
  • Why Some People Can't See in Depth
  • Space perception | Webvision.
  • Depth perception | Webvision.
  • Make3D.
  • Depth Cues for Film, TV and Photography

การร, บร, ความใกล, ไกล, เป, นสมรรถภาพทางการเห, นในการมองโลกเป, และการเห, นว, าว, ตถ, หน, งอย, ใกล, ไกลแค, ไหน, แม, เราจะร, าส, ตว, สามารถร, กถ, งความใกล, ไกลของว, ตถ, เพราะสามารถเคล, อนไหวอย, างแม, นยำหร, ออย, างสมควรตามความใกล, ไกล, แต, กว, ทยาศาสตร, ไม, ตว, . karrbrukhwamiklikl epnsmrrthphaphthangkarehninkarmxngolkepn 3 miti aelakarehnwawtthuhnungxyuikliklaekhihn aemeracaruwastwksamarthrusukthungkhwamikliklkhxngwtthu ephraasamarthekhluxnihwxyangaemnyahruxxyangsmkhwrtamkhwamiklikl aetnkwithyasastrkimruwa stwrbrukhwamikliklthangxtwisyehmuxnknmnusyhruxim 1 lksnatang rwmthngthsnmitiaebbtang khnadodyepriybethiyb wtthuthibngkn aelaxun lwnmiswnthaihehnphaphthaysxngmitiniepn 3 mitiid khwamikliklcaruidcaktwchwy cue khuxsingthimxngehntang sungpkticacdepn 2 3 twchwythimxngehndwytathngsxng odyxasykarehnepn 3 mitikhxngsxngta twchwythiidcaksxngtarwmthngkarehnepn 3 miti stereopsis karebnekhakhxngtathngsxng eye convergence karmxngehnwtthuediywkncakmummxngthiimehmuxnkn binocular disparity aelakhxmulkhwamikliklenuxngdwypharlaelks twchwythiehndwytaediyw odyhmaythunglksnatang thipraktinsxngmitisungsamarthehniddwyephiyngtaediyw rwmthngkhnad khuxwtthuthiiklcasrangmumsaytacakbnthunglangthiaekhbkwawtthuthiikl lay raylaexiydkhxngwtthu aelapharlaelksenuxngdwykarekhluxnihw motion parallax enuxha 1 twchwycaktaediyw 2 twchwycaksxngta 3 odysmburnhruxodyepriybethiyb 4 thvsdiwiwthnakar 5 silpa 6 orkhthimiphltxkarehniklikl 7 duephim 8 xangxing 9 aehlngxangxingxun 10 aehlngkhxmulxuntwchwycaktaediyw aekikhtwchwythiehndwytaediywsamarthihkhxmulkhwamikliklaememuximidichsxngtamxng odyrwmhwkhxtang dngtxipni pharlaelksenuxngdwykarekhluxnihw Motion parallax emuxphumxngekhluxnthi karekhluxnthiodyepriybethiybkhxngwtthuning thimxngehn cachwybxkkhwamikliklodyepriybethiyb thamikhxmulekiywkbthisthangaelakhwamerwkhxngkarekhluxnthi pharlaelksechnnicaihkhxmulkhwamikliklaebbsmburn imichaekhodyepriybethiyb 4 praktkarnnisamarthehnidxyangchdecnemuxkhbrth ephraawtthuthiiklcaphanipxyangrwderw khnathiwtthuikl caduning stwthiimehnepnphaphediywdwysxngtaenuxngcaklansaytakhxngtathngsxngimidmxngthiwtthuediywkn camiphvtikrrmekiywkbpraktkarnnixyangchdecnethiybkbmnusy thisamarthrukhwamiklikldwysxngta echn nkbangchnidcaphngkhwephuxihid motion parallax aelakrarxkcawingipinaenwtngchakkbaenwsaytaephuxcarukhwamiklikl 5 khwamikliklephraakarekhluxnihwhruxkarrbrukhwamikliklaebbcln kinetic depth perception emuxwtthukalngekhluxnthiekhamaiklkhnthimxngxyu phaphthitklngthicxprasathtacaephimkhnadkhuneruxy sungthaihrusukwawtthunnkalngwingekhamaikl 6 odykarepliynaeplngkhxngkhnadsingeraethiybkbphusngektkarnechnniimichthaihehnwaephiyngaekhkalngekhluxnthiethann aetcachwyihrurayathangkhxngwtthuthikalngekhluxnihw dngnn inbribthni khnadthikalngepliynaeplngipcungepntwchwybxkkhwamiklikl 7 emuxwtthuthiekhluxnihwelklng kcapraktwaxyuhangiklkhun swnpraktkarnthiekiywkhxngknkkhux smrrthphaphkhxngrabbkarehninkarkhanwnewlathiwtthucawingekhamathungtw odyxasyxtrakarkhyaykhnadinlansayta sungepnsmrrthphaphthimipraoychninkickrrmtang erimtngaetkarkhbrthcnthungkarelnkila aetthacaklawihaemnya smrrthphaphechnniepnkarkhanwn khwamerw imichkhanwn khwamiklikl echnemuxkhbrth khnkhbcasamarthtdsinewlathicamabrrcbknodyxasykarrbrukhwamikliklaebbclnpraktkarnkhwamikliklaebbcln Kinetic depth effect khuxthawtthukhngrupthixyuning echn lukbaskthithacakesnlwd wangbngaesnghnacxkungthub engakhxngmncatklngxyuthicx phusngektkarnxikdanhnungcaehnengasxngmitikhxngwtthunn aetemuxlukbaskhmun rabbkarehncasamarthdungkhxmulthicaepnephuxihehnmitithi 3 cakkarekhluxnihw aelwthaihehnepnlukbaskid niepntwxyangkhxng praktkarnkhwamikliklaebbcln 8 epnpraktkarnthikekiddwythawtthuthihmunepnwtthuthubtn imichaekhlayesn trabethathiengabncxmiesntang sungmxngehnepnmumhruxkhxb aelaesntang ehlaniepliynipthngodykhwamyawaelaodythisthangemuxwtthukalnghmun 9 thsnmiti Perspective esnkhnanthiwingyawipthangdanhnacaduehmuxnekhabrrcbkninrayaikl hruxrayaxnnt khunsmbtiechnnithaiherasamarthrurayaswntang khxngwtthuhnung odyepriybethiyb hruxrayaodyepriybethiybkhxngwtthutang inthsniyphaphid twxyangkkhux emuxyunxyuthihnathanghlwngtrng aelwmxngiptamthang caehnthnnaekhblngeruxy inrayahangxxkipikl khnadodyepriybethiyb thawtthusxngxyangmikhnadehmuxnkn echn tnimsxngtn aemkhnadsmburncayngimru aetkhnadodyepriybethiybkcaihkhxmulkhwamikliklodyepriybethiybkhxngwtthuthngsxng thamummxngcakbnthunglangkhxngwtthuthitklngbncxprasathtakhxngwtthuhnungihykwaxikwtthuhnung thiruwakhnadethakn wtthuthimumihykwakcaduiklkwakhnadthikhunekhy enuxngcakmumcakbnthunglangkhxngphaphwtthuthitklngbncxprasathtacaldlngemuxiklxxkip khxmulniemuxrwmkbkhwamruthimikxnwawtthumikhnadethair cachwykahndkhwamikliklsmburnkhxngwtthu yktwxyangechn khnmkcakhunekhykbkhnadodyechliykhxngrthynt khwamruthimikxnniemuxrwmkbkhxmulekiywkbmummxngkhxngphaphthitklngthicxprasathta cachwykahndkhwamikliklsmburnkhxngrthinthsniyphaphthiehnkhnadsmburn aemkhnadaethcringkhxngwtthucaimruaelamiaekhwtthuediywthimxngehn aetwtthuthielkkwacaduiklkwawtthuthiihykwaemuxxyuinthiediywkn 10 thsnmitienuxngcakxakas enuxngkarkraecingaesnginbrryakas wtthuthixyuiklxxkipcamikhwamepriybtangkhxngkhwamswangaelakhwamximtwsithildlng khuxswangnxylngaelasicanglng ephraaehtuni phaphcaduphramwmakyingkhunthawtthuxyuiklxxkip insakhakhxmphiwetxrkrafiks praktkarnechnnieriykwa distance fog khwamphralangephraathangikl khux chakhna phunhnacamikhwamepriybtangsung swnchakhlng phunhlngcamikhwamepriybtangta dngnn wtthuthimikhwamepriybtangtang knethiybkbphunhlngcaduiklikltangkn 11 sikhxngwtthuthixyuikl yngcaepliynepnsinaenginephimkhun echn phuekhathixyuikl micitrkrchawyuorpbangthan echn pxl essan thiichsithixbxun echn siaedng siehluxng aelasism ephuxthaihrusukehmuxnxyuikl aelasithieynchakwa sinaengin simwng sinaenginxmekhiyw ephuxaesdngwtthuthixyuiklkwakarprbtaduiklikl niepnkarprbtwthangklamenux saytaephuxihehniklikl khux emuxeraphyayammxngwtthuthixyuikl klamenuxsilixaricayudelnstaxxk thaihmnbang aeladngnn cungepliynkhwamyawofkskhxngelns khwamrusukthungkarekhluxnihwklamenux kcasngipyngepluxksmxngswnkarehnephuxichaeplphlkhwamikliklkhxngsingthiehn aetkliknicaihkhxmulkhwamikliklinrayathinxykwa 2 emtrethannkarbng Occultation niekidemuxphaphthixyuiklkwabngphaphthixyuiklkwa 12 khux thawtthuaerkbngxikwtthuhnung mnusycaehnwtthuaerkwaiklkwa aetkhxmulnikepnephiyngaekhkarcdladbkhwamikliklodyepriybethiybethann swnkarbngaesng ambient occlusion caxasyruprangaelalayphiwkhxngwtthu praktkarnechnnicachwyldewlainkarrukhwamikliklthnginsthankarntamthrrmchatiaelainhxngthdlxng 13 14 thsnmitiechingokhng Curvilinear perspective thirxb lansayta esnkhnancaklayepnesnokhng ehmuxnkbinrupthithayphanelnstapla praktkarnnicachwyephimkhwamrusukwaxyuinehtukarn sthankarnthiepn 3 mitinncring phaphthay hruxphaphwad pkticaimichthsnmitiechnni ephraaidwangkrxbphaphkacdswnthiaesdngpraktkarnnixxk odythuxwaepn khwambidebuxnkhxngphaph aetcring aelw khwambidebuxn niepniptamthrrmchatikhxngaesng aelasamarthihkhxmulekiywkbphaphthiehnkhlaykblksnathangthsnmitixun thiehnphayinkrxbphaph sungihkhxmulkhwamikliklekiywkbphaphraylaexiyd Texture gradient raylaexiydkhxngwtthuthixyuikl samarthmxngehnidchd ethiybkbmxngimehnsahrbwtthuthixyuikl yktwxyangechn sahrbthnnkrwd krwdthixyuikl samarthehnruprang khnad aelasi aetemuxiklxxkip kimsamarthehnraylaexiydehlannaesngswangaelaenga aesngthitklngthiaelasathxncakwtthu rwmthngengathithxdcakwtthu epntwchwyihsmxngkahndruprangaelataaehnngkhxngwtthuinpriphumiid 15 khwamphramwinbangswnkhxngphaph khwamphramwkhxngphaphtrngthiimichcudofks epnethkhnikhsamyinkarthayphaphaelawidioxephuxaesdngkhwamiklikl sungepntwchwysahrbtaediywaemcaimmitwchwyxun odyxacihkhwamrusukikliklodythrrmchatisahrbrupthimakrathbkbcxprasathta ephraatakhxngmnusykmikhxbekhtcakdinkarofksdwyehmuxnkn nxkcaknnaelw yngmikhntxnwithikhxngkhxmphiwetxrhlayxyang thisamarthichpramankhwamikliklxasykhwamphramwkhxngphaphtrngthiimichcudofks 16 aemngmumkraoddbangphnthuyngrukhwamikliklodyxasyethkhnikhnixikdwy 17 mumengy emuxmxngehnwtthuethiybkbkhxbfa eramkcaehnwtthuthiiklkbkhxbfamakkwawaiklkwa aelawtthuthixyuiklkhxbfamakkwawaiklkwa 18 nxkcaknn wtthuthiekhluxncaktaaehnngthiiklkbkhxbfa ipyngtaaehnngthisunghruxtakwakhxbfa wtthunnkcaduehmuxnwaekhamaiklkhndutwchwycaksxngta aekikhkarehndwysxngtacachwyihkhxmulkhwamikliklkhxngthsniyphaph odykrabwnkarrwmthng pharlaelks karehnepn 3 miti khwamtangthisxngta binocular parallax stwthimitaxyudanhna imichdankhang samarthichkhxmulcakphaphkhxngwtthusungtklngthicxprasathtathngsxngkhangsungaetktangknephuxtdsinkhwamiklikl ephraaphaphsxngphaphkhxngthsniyphaphediywknmimumtangknelknxy cungsamarthichmumsamehliymephuxkahndrayakhwamikliklkhxngwtthuidxyangaemnya khuxtaaetlakhangcaehnwtthuediywknodymimumtangknelknxy ephraataxyuthitaaehnnghangkntamaenwnxn thawtthuxyuikl khwamimehmuxnknkhxngphaphthitklngthicxprasathtathngsxngcatangknephiyngelknxy aetthawtthuxyuikl khwamimehmuxnkncamimakkwa phaphxxotsetxrioxaekrm Autostereogram aelaphaphyntr 3 mititangkichethkhnikhnikarebntaekhahakn Convergence niepntwchwycakrabbsayta klamenuxthikhwbkhumkarehnkhxngtathngsxngkhangsungchwyihruiklikl khuxemuxmxngwtthuediywkn tathngsxngcaofksthiwtthusungthaihtaebnekhaaelayudklamenuxta extraocular muscle ehmuxnkbkarprbelnstaephuxduiklikl karyudhdkhxngklamenuxcachwykahndkhwamiklikl mumebnekhacanxykwaemuxduwtthuthiikl praktkarnnicachwysahrbwtthuthiiklnxykwa 10 emtr 19 enga 3 mitithiehncaktathngsxngkhang Shadow Stereopsis ngansuksapi 2532 idaesdngwa phaphthitkthicxtathngsxngkhangsungimaetktangenuxngcakpharlaelks aetmiengathiaetktangkn camxngrwmepnphaphediywaelathaihrukhwamikliklkhxngthsniyphaphid odynkwichakaridtngchuxpraktkarnniwa shadow stereopsis dngnn engancungepntwchwykahndkhwamikliklthisakhyemuxmxngdwysxngta 20 odysmburnhruxodyepriybethiyb aekikhinbrrdatwchwyehlani karebntaekhahakn Convergence karprbtaduiklikl aelakhnadthikhunekhyethannthiihkhxmulekiywkbkhwamikliklaebbsmburn khuxbxkrayathangid swntwchwyxyangxun epnkhxmulodyepriybethiyb khux chwybxkwawtthuihnxyuikliklkwakn echn khwamtangthisxngtacaihkhxmulodyepriybethiybethann ephraawa khunkbwatrungtaxyutrngthiiklhruxikl khnadkhwamkhwamtangthicxtakhxngwtthuikliklkcaprakttang kn cungthaihrukhnadodyepriybethiybethannthvsdiwiwthnakar aekikhswnniimmikarxangxingcakexksarxangxinghruxaehlngkhxmul oprdchwyphthnaswnniodyephimaehlngkhxmulnaechuxthux enuxhathiimmikarxangxingxacthukkhdkhanhruxnaxxkstwkinphuchinthirabepidswnmakodyechphaastwkib caimehnepnphaphediywdwysxngtaephraamitaxyuthangdankhang sungchwyihehnphaphprithsnepnaephonrama ekuxb 360 xngsarxb tw cungsamarthehnstwlaehyuxthiekhamahaidthukdan swnstwlaehyuxmkcamitathngsxngkhangmxngipkhanghna aelaehnepnphaphediywdwysxngta sungchwyihwingtakhrubhruxekhaothmisehyux swnstwthiichewlaodymakintnimkehnepnphaphediywdwysxngtadwy echnbrrphburusmnusy cungsamarthbxkkhwamikliklidxyangaemnyaemuxkraocncakkingtnimsakhahnungipyngxikkinghnungaetkminkmanusywithyaechingkayphaphthimhawithyalybxstnthiimehndwykbthvsdini odyykstwintnimxun thiimehnepnphaphediywdwysxngta rwmthngkrarxkaelankbangpraephth aelaidesnxthvsdixunaethnkhux Visual Predation Hypothesis smmtithankarlaehyuxdwyta sungxangwa brrphburuskhxngiphremt rwmthngkhxngmnusy epnstwlaaemlngkhlaykbtharesiyr sungxyuitkhwamkddnthangkarkhdeluxkephuxihmitamxngipkhanghnaehmuxnkbstwlaehyuxxun ekhayngichsmmtithannixthibaymuxkhxngiphremtthiwiwthnakarkhunepnphiess sungekhaesnxwa epnkarprbtwehmuxnkbthinklaehyuxichkrngelbephuxcbehyuxsilpa aekikhswnniimmikarxangxingcakexksarxangxinghruxaehlngkhxmul oprdchwyphthnaswnniodyephimaehlngkhxmulnaechuxthux enuxhathiimmikarxangxingxacthukkhdkhanhruxnaxxk phaphwadtnexngkhxngaermbrnt rupphaphbaskniymkhxng Jean Metzinger phaphhunningkhxngessan phaphthayaesdngthsnmiti pkticaepnphaph 2 mitithiaesdngkhwamikliklthiimmicringinphaph nitangcakphaphcitrkrrm sungxacichkhunsmbtithangkayphaphbangxyangkhxngsi ephuxsrangkhwamnunokhngthimicring aelalksnaaesdngikliklxun swnklxngduphaphsammitiaelaphaphyntr 3 miti ichkarehnepnphaphediywdwysxngtaodyihkhndumxngphaphsxngphaphthisrangcakmummxngsxngmumthitangknelknxyesxr chals withsotn epnbukhkhlaerkthiklawthungkarrbrukhwamikliklwa macakkarehnthiimehmuxnknkhxngtathngsxngkhang aelwtxmacungpradisthklxngmxngphaphsammiti setxrioxsokp sungepnxupkrnthimielnssxngxn aelaaesdngphaphthaysxngphaphkhxngthsniyphaphediywknaettangmumknelknxy emuxmxngdwysxngtaphanelnsthngsxng kcathaihrusukthungkhwamiklikl 21 nksilpthiidfukmaaelwcaruthungwithitang inkaraesdngkhwamiklikl rwmthngsi khwamphralangephraathangikl thsnmiti aelakhnadodyepriybethiyb aelaichphwkmnephuxthangansilpihsmcringmakkhun phuchmxaccarusukehmuxnkbcasamarthcbcmukkhxngkhnthixyuinphaph echnphaphwadtnexngkhxngaermbrnt hruxcbphliminrup echn phaphaexpepilkhxngessan hruxehmuxnkbcasamarthekhaipinphaphwadephuxedimchmtnimaelathsniyphaphxun swnrupphaphaebbbaskniymepnixediythirwmmummxnghlay mummxngekhainphaphwadediyw ehmuxnkbcaihehnwtthuthixyuinrupcakmummxngtang 22 orkhthimiphltxkarehniklikl aekikhorkhta echn tamw prasathtangxkphrxng optic nerve hypoplasia aelataehl xacthaihkarruikliklbkphrxng ephraaodyniyam karrukhwamiklikldwysxngtatxngmitathiichnganidthngsxng dngnn khnthimitathangankhangediywkcaimrukhwamikliklaebbthitxngichsxngta karrbrukhwamiklikltxngeriynruphankrabwnkarxnumanthixyunxkxanaccitic unconscious inference sungmioxkasekidkhunnxyhlngcakphanchwngxayusakhyinwyedkipduephim aekikhphaphlwngta cxta prasathsmphsxangxing aekikh Howard Ian 2012 Perceiving in Depth New York Oxford University Press ISBN 978 0 199 76414 3 Goldstein EB 2014 Sensation and perception 9th ed Pacific Grove CA Wadsworth CS1 maint uses authors parameter link Burton HE 1945 The optics of Euclid Journal of the Optical Society of America 35 5 357 372 doi 10 1364 JOSA 35 000357 Ferris SH 1972 Motion parallax and absolute distance Journal of experimental psychology 95 2 258 263 Cite journal requires journal help Kral K 2003 Behavioural analytical studies of the role of head movements in depth perception in insects birds and mammals Behavioural Processes 64 1 12 CS1 maint uses authors parameter link Swanston M C Gogel W C 1986 Perceived size and motion in depth from optical expansion Perception amp Psychophysics 39 5 309 326 doi 10 3758 BF03202998 Ittelson W H 1951 04 Size as a cue to distance Radial motion American Journal of Psychology 64 2 188 202 doi 10 2307 1418666 JSTOR 1418666 Check date values in date help Wallach H O Connell D N 1953 The kinetic depth effect Journal of Experimental Psychology 45 4 205 217 doi 10 1037 h0056880 PMID 13052853 Kaufman Lloyd 1974 Sight and Mind New York Oxford University Press pp 139 141 Sousa R Brenner E Smeets JBJ 2011 Judging an unfamiliar object s distance from its retinal image size Journal of Vision 11 9 10 1 6 CS1 maint uses authors parameter link Sousa R Smeets JBJ Brenner E 2012 Does size matter Perception 41 12 1532 1534 CS1 maint uses authors parameter link O Shea RP Blackburn SG Ono H 1994 Contrast as a depth cue Vision Research 34 12 1595 1604 doi 10 1016 0042 6989 94 90116 3 PMID 7941367 CS1 maint uses authors parameter link Johnston Alan Depth Perception UCL Division of Psychology and Language Sciences subkhnemux 2013 09 22 Gillam B Borsting E 1988 The role of monocular regions in stereoscopic displays Perception 17 5 603 608 doi 10 1068 p170603 PMID 3249668 CS1 maint uses authors parameter link Schacter Daniel L Gilbert Daniel T Wegner Daniel M 2011 Sensation and Perception Psychology 2nd ed New York Worth Inc pp 136 137 Lipton L 1982 Foundations of the Stereoscopic Cinema A Study in Depth New York Van Nostrand Reinhold p 56 Mather G 1996 02 22 Image Blur as a Pictorial Depth Cue Proceedings Biological Sciences 263 1367 169 172 Bibcode 1996RSPSB 263 169M doi 10 1098 rspb 1996 0027 Nagata Takashi Koyanagi M Tsukamoto H Saeki S Isono K Shichida Y Tokunaga F Kinoshita M Arikawa K aelakhna 2012 01 27 Depth Perception from image defocus in a jumping spider Science 335 6067 469 471 Bibcode 2012Sci 335 469N doi 10 1126 science 1211667 PMID 22282813 Carlson Neil R Miller Jr Harold L Heth Donald S Donahoe John W Martin G Neil 2010 Psychology The Science of Behavior 7th ed Pearson p 187 ISBN 978 0 205 76223 1 Okoshi Takanori 2012 Three dimensional imaging techniques Elsevier pp 387 387 ASIN B01D3RGBGS Medina Puerta A 1989 The power of shadows shadow stereopsis J Opt Soc Am A 6 2 309 311 Bibcode 1989JOSAA 6 309M doi 10 1364 JOSAA 6 000309 PMID 2926527 Schacter Daniel L 2011 Psychology 2nd ed New York Worth In p 151 Robbins Daniel 1985 Jean Metzinger At the Center of Cubism Jean Metzinger in Retrospect The University of Iowa Museum of Art p 22 CS1 maint uses authors parameter link aehlngxangxingxun aekikhHoward Ian P Rogers Brian J 2012 Perceiving in Depth New York Oxford University Press Palmer S E 1999 Vision science Photons to phenomenology Cambridge MA Bradford Books MIT Press Pirazzoli G P 2015 Le Corbusier Picasso Polyphemus and Other Monocular Giants e altri giganti monoculi Firenze Italy goWare Pinker Steven 1997 The Mind s Eye How the Mind Works pp 211 233 ISBN 0 393 31848 6 Sternberg RJ Sternberg K Sternberg K 2011 Cognitive Psychology 6th ed Wadsworth Pub Co CS1 maint uses authors parameter link Purves D Lotto B 2003 Why We See What We Do An Empirical Theory of Vision Sunderland MA Sinauer Associates CS1 maint uses authors parameter link Steinman Scott B Steinman Barbara A Garzia Ralph Philip 2000 Foundations of Binocular Vision A Clinical Perspective New York McGraw Hill Medical ISBN 0 8385 2670 5 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb karrbrukhwamikliklDepth perception example GO Illusions Monocular Giants What is Binocular Two eyed Depth Perception Why Some People Can t See in Depth Space perception Webvision Depth perception Webvision Make3D Depth Cues for Film TV and Photographyekhathungcak https th wikipedia org w index php title karrbrukhwamiklikl amp oldid 7963062, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม