fbpx
วิกิพีเดีย

ไทยวน

ระวังสับสนกับ ชาวญวน

ยวน, โยน, โยนก, ไทยวน, ไตยวน หรือ คนเมือง (คำเมือง: ᨤᩫ᩠ᨶᨾᩮᩬᩥᨦ) เป็นประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาขร้า-ไทกลุ่มหนึ่ง ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักร ปัจจุบันชาวไทยวนเป็นพลเมืองหลักในภาคเหนือของประเทศไทย มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่าง ๆ เข้ามายังเมืองของตน

ไทยวน
ᨤᩫ᩠ᨶᨾᩮᩬᩥᨦ
การรำของชาวยวนในจังหวัดเชียงใหม่
ประชากรทั้งหมด
6 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ประเทศไทย, ประเทศลาว (ห้วยทราย, เมืองต้นผึ้ง), ประเทศพม่า (ท่าขี้เหล็ก, เมียวดี)
ภาษา
คำเมือง (มักพูดสองภาษากับภาษาไทยกลาง)
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือพุทธเถรวาท ส่วนน้อยนับถือศาสนาคริสต์
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวไท

ประวัติ

ตามตำนานสิงหนวัติกล่าวว่า สิงหนวัติกุมารได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ (เข้าใจว่าอยู่ในมณฑลยูนนาน) มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสนราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ว่า โยนกนคร เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า ยวน ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง "โยนก" นั่นเอง จากนั้นก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อย ๆ ประชากรยวนก็แพร่หลายออกไปในอาณาจักรล้านนา ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองแห่งหงสาวดีได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ ทำให้พม่าปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี

ใน พ.ศ. 2347 ซึ่งขณะนั้นเชียงแสนตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงเทพหริรักษ์และพระยายมราช พร้อมด้วยกองทัพลาว ยกทัพไปตีเมืองเชียงแสน เมื่อตีเมืองเชียงแสนได้แล้วจึงให้รื้อกำแพงเมือง รื้อบ้านเมือง และรวบรวมผู้คนชาวเชียงแสนโดยแบ่งเป็น 5 ส่วน ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่เชียงใหม่ ส่วนหนึ่งให้ไปอยู่ที่ลำปาง ส่วนหนึ่งอยู่ที่น่าน ส่วนหนึ่งอยู่ที่เวียงจันทน์ และอีกส่วนหนึ่งให้เดินทางมายังภาคกลางโดยให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ราชบุรีและสระบุรี

ที่มาของชื่อ

ชาวไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียกชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฏหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า yavana แปลว่าคนแปลกถิ่นหรือคนต่างถิ่น เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองพม่ามองว่าชาวยวนเป็นพวกเดียวกับชาวชาน (ไทใหญ่) โดยเรียกพวกนี้ว่า "ชานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐชานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ชานพม่า" (Burmese Shan) แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของชาวไทใหญ่หลาย ๆ กลุ่ม

จากตำนานชินกาลมาลีปกรณ์และสังคีตวงศ์ได้ระบุชื่อถึงว่าล้านนามีศูนย์กลางที่เชียงใหม่ชื่อ “พิงครัฐ” และมีคำว่า โยนรัฐและโยนประเทศ ที่หมายถึงแคว้นโยนก แต่ชาวล้านนาในสมัยดังกล่าวจะนิยามตนเองหลากหลายชื่อ เช่น ไตหรือไท ไทโยน ไทยวน

หลักฐานจีนเรียกล้านนาว่า ปาไป่สีฟู่กั๋ว แปลว่า "อาณาจักรสนมแปดร้อย" เป็นชื่อที่ราชวงศ์หยวนใช้เรียกอาณาจักรล้านนา ที่มาของชื่อมีอธิบายในพงศาวดารราชวงศ์หยวนฉบับใหม่ กล่าวไว้ว่า "อันปาไปสีฟู่ [สนมแปดร้อย] นั้น ชื่อภาษาอี๋ว่าจิ่งไม่ [เชียงใหม่] เล่าลือกันว่าผู้เป็นประมุขมีชายาถึงแปดร้อย แต่ละคนเป็นผู้นำค่ายหนึ่ง จึงได้นามตามนี้…"

ในงานเรื่อง ชนชาติไท ซึ่งตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกันซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429–2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "ชาวยวน" มิใช่ “ชาวลาว” ดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ

วัฒนธรรม

ชาวไทยวนมีภาษา ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเชื่ออันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ในสังคมของชาวไทยวนมีความคิดในเรื่องผีผสมศาสนาพุทธ โดยเฉพาะผีปู่ย่า (ผีบรรพบุรุษ) จะมีบทบาทในการควบคุมพฤติกรรมของลูกหลานชาวไทยวนให้ประพฤติตนถูกต้องตามจารีตประเพณีและกรอบที่ดีงามของสังคม อีกทั้งมีความเชื่อเรื่อง ขึด คือข้อห้ามหรือข้อควรปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดสิ่งไม่ดีขึ้นกับตัวเองและครอบครัว

ภาษา

ดูบทความหลักที่: ภาษาไทยถิ่นเหนือ
 
อักษรล้านนา

ภาษาเขียนและภาษาพูดของชาวไทยวนมีรูปแบบเป็นของตนเอง ซึ่งในปัจจุบันก็ยังพบเป็นการใช้ภาษาเขียนในพระธรรมคัมภีร์ศาสนาพุทธ และปั๊บสา ใบลาน ทั้งนี้ภาษาเขียนของไทยวน (หรือเรียกว่า "อักษรล้านนา" และ "อักษรธรรม") ยังใช้ในกลุ่มชาวไทลื้อที่เชียงรุ่งและชาวไทเขินที่เชียงตุง ด้วย เนื่องจากในอดีตชาวล้านนาได้นำศาสนาพุทธเข้าไปเผยแพร่ยังสองดินแดนนี้

คำเมืองหรือภาษาไทยวนยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัดเชียงราย, พะเยา, ลำปาง, อุตรดิตถ์, แพร่ และน่าน) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)

คำเมืองหรือภาษาไทยวนมีไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยกลาง แต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับอักษรธรรมล้านนาซึ่งเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอญเป็นต้นแบบ

ศิลปะ

ดูบทความหลักที่: ศิลปะล้านนา
 
วัดร่องขุ่น

ศิลปะล้านนาหรือศิลปะเชียงแสน หมายถึง ศิลปะในเขตภาคเหนือหรือดินแดนล้านนาของประเทศไทยในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 19–24 คาดว่ามีการสืบทอดต่อเนื่องจากศิลปะทวารวดีและศิลปะลพบุรีมาตั้งแต่สมัยหริภุญชัย ศูนย์กลางของศิลปะล้านนาเดิมอยู่ที่เชียงแสน (เรียกว่าอาณาจักรโยนก) ต่อมาเมื่อพญามังรายได้ย้ายมาสร้างเมืองเชียงใหม่ ศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนาจึงอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ งานศิลปะล้านนามีความเกี่ยวเนื่องกับศาสนาพุทธโดยเฉพาะนิกายเถรวาท

อาหาร

 
แกงฮังเล

อาหารส่วนใหญ่รสชาติไม่จัด ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหาร ความหวานจะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้น ๆ เช่น ผัก ปลา และนิยมใช้ถั่วเน่าในการปรุงอาหาร ชาวยวนมีน้ำพริกรับประทานหลายชนิด เช่น น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกอ่อง ผักที่ใช้จิ้มส่วนมากเป็นผักนึ่ง ส่วนอาหารที่รู้จักกันดีได้แก่ ขนมจีนน้ำเงี้ยว ที่มีเครื่องปรุงสำคัญคือดอกงิ้วซึ่งเป็นดอกนุ่มที่ตากแห้ง ถือเป็นเครื่องเทศพื้นบ้านที่มีกลิ่นหอม; ตำขนุน และแกงขนุน ที่มีส่วนผสมเป็นผักชนิดอื่น เช่น ใบชะพลู ชะอม มะเขือเทศ นอกจากนี้ยังมีอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากชนชาติอื่นด้วย เช่น แกงฮังเล ได้รับอิทธิพลมาจากชาวพม่า; ข้าวซอย ได้รับอิทธิพลมาจากชาวจีน

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. Entry for Northern Thai Dallas, Tex.: SIL International. ISBN 978-1-55671-216-6.
  2. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554ISBN 978-616-7073-80-4.
  3. อานันท์ กาญจนพันธ์ (2017). ประวัติศาสตร์สังคมล้านนา: ความเคลื่อนไหวของขีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่น. พิษณุโลก: หน่วยวิจัยอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร และภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. pp. 52–55. ISBN 978-616-4260-53-5.
  4. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม (2019-06-12). ""ยวน" มาจากไหน ? ใครคือ "ไทยวน"". มติชนสุดสัปดาห์.
  5. Frederic Pain (2008), "An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai", The Journal of the American Oriental Society, ISSN 0003-0279
  6. Andrew Turton (2004), "Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s", Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia, London: Frank Cass, p. 73, doi:10.1080/01440390308559156, ISBN 9780714654867
  7. ศิลปวัฒนธรรม (2021-06-30). "อ่านล้านนาจากหลักฐานจีน เรียกอาณาจักร "สนมแปดร้อย" และธนูอาบยาพิษของพระนางจามเทวี". ศิลปวัฒนธรรม.
  8. "ไทยวน - สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่". The Center for the Promotion of Arts and Culture, Chiang Mai University.
  9. "ไทยวน - สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่". The Center for the Promotion of Arts and Culture, Chiang Mai University.
  10. "อาหารท้องถิ่น 4 ภาค". sites.google.com.
บรรณานุกรม

ไทยวน, ระว, งส, บสนก, ชาวญวน, ยวน, โยน, โยนก, ไตยวน, หร, คนเม, อง, คำเม, อง, ᨶᨾ, เป, นประชากรท, ดภาษาตระก, ลภาษาขร, ไทกล, มหน, งถ, นฐานทางตอนเหน, อของประเทศไทยซ, งเคยเป, นท, งของอาณาจ, กรล, านนา, เป, นกล, มประชากรท, ใหญ, ดในอาณาจ, กร, จจ, นชาวเป, นพลเม, องหล, . rawngsbsnkb chawywn ywn oyn oynk ithywn itywn hrux khnemuxng khaemuxng ᨤ ᨶᨾ ᨦ epnprachakrthiphudphasatrakulphasakhra ithklumhnung tngthinthanthangtxnehnuxkhxngpraethsithysungekhyepnthitngkhxngxanackrlanna 2 epnklumprachakrthiihythisudinxanackr pccubnchawithywnepnphlemuxnghlkinphakhehnuxkhxngpraethsithy mkeriyktnexngwa khnemuxng sungepnkhaeriykthiekidkhuninyukhekbphkissaekbkhaisemuxng ephuxfunfuprachakrinlannahlngsngkhram odykarkwadtxnklumkhncakthitang ekhamayngemuxngkhxngtnithywnᨤ ᨶᨾ ᨦkarrakhxngchawywnincnghwdechiyngihmprachakrthnghmd6 lankhn 1 phumiphakhthimiprachakrxyangminysakhypraethsithy praethslaw hwythray emuxngtnphung praethsphma thakhiehlk emiywdi phasakhaemuxng mkphudsxngphasakbphasaithyklang sasnaswnihynbthuxphuththethrwath swnnxynbthuxsasnakhristklumchatiphnthuthiekiywkhxngchawithbthkhwamnimikhxkhwam khaemuxng hakimmikarsnbsnunkarernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxnghruxsylksnxunaethnxksrthrrmlanna enuxha 1 prawti 2 thimakhxngchux 3 wthnthrrm 3 1 phasa 3 2 silpa 3 3 xahar 4 xangxingprawti aekikhtamtanansinghnwtiklawwa singhnwtikumaridxphyphphukhnbriwarmacakemuxngrachkhvh ekhaicwaxyuinmnthlyunnan matngbaneruxnxyuthiechiyngaesnrawtnsmyphuththkal tngchuxbanemuxngniwa oynknkhr eriykprachachnemuxngniwa ywn sungepnesiyngephiynmacakchuxemuxng oynk nnexng 3 caknnkmikstriykhrxngemuxngoynknimaeruxy prachakrywnkaephrhlayxxkipinxanackrlanna txma ph s 2101 phraecabuerngnxngaehnghngsawdiidnathphmatiemuxngehnux thaihphmapkkhrxngemuxngehnuxepnewlananthung 200 piin ph s 2347 sungkhnannechiyngaesntkxyuphayitkarpkkhrxngkhxngphma phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkoprdekla ihkrmhlwngethphhrirksaelaphrayaymrach phrxmdwykxngthphlaw ykthphiptiemuxngechiyngaesn emuxtiemuxngechiyngaesnidaelwcungihruxkaaephngemuxng ruxbanemuxng aelarwbrwmphukhnchawechiyngaesnodyaebngepn 5 swn swnhnungihipxyuechiyngihm swnhnungihipxyuthilapang swnhnungxyuthinan swnhnungxyuthiewiyngcnthn aelaxikswnhnungihedinthangmayngphakhklangodyihtngbaneruxnxyuthirachburiaelasraburi 4 thimakhxngchux aekikhchawithyphakhklanginsmyobranekhyeriykchawithyinthinehnuxwa ywn odyprakthlkthaninwrrnkhdiechn lilitywnphay sungkwikhxngxyuthyarcnakhuninsmysmedcphrabrmitrolknath nkwichakartangpraethssnnisthanwa khawa ywn xaccamacakkhasnskvtwa yavana aeplwakhnaeplkthinhruxkhntangthin 5 ecaxananikhmxngkvsinsmythiekhapkkhrxngphmamxngwachawywnepnphwkediywkbchawchan ithihy odyeriykphwkniwa chansyam Siamese Shan ephuxaeykaeyaxxkcakcakchawrthchaninpraethsphmathixngkvseriykwa chanphma Burmese Shan 6 aesdngihehnthungkhwamiklchidthangwthnthrrmpraephnikhxngchawithihyhlay klumcaktananchinkalmalipkrnaelasngkhitwngsidrabuchuxthungwalannamisunyklangthiechiyngihmchux phingkhrth aelamikhawa oynrthaelaoynpraeths thihmaythungaekhwnoynk aetchawlannainsmydngklawcaniyamtnexnghlakhlaychux echn ithruxith ithoyn ithywnhlkthancineriyklannawa paipsifukw aeplwa xanackrsnmaepdrxy epnchuxthirachwngshywnicheriykxanackrlanna thimakhxngchuxmixthibayinphngsawdarrachwngshywnchbbihm klawiwwa xnpaipsifu snmaepdrxy nn chuxphasaxiwacingim echiyngihm elaluxknwaphuepnpramukhmichayathungaepdrxy aetlakhnepnphunakhayhnung cungidnamtamni 7 innganeruxng chnchatiith sungtiphimphin ph s 2466 wileliym khliftn dxdd michchnnarichawxemriknsungthanganthiechiyngraynanthung 32 pi ph s 2429 2461 klawthungkhnekhtphakhehnuxtxnbnkhxngithywaepn chawywn miich chawlaw dngthihlayfayekhaicwthnthrrm aekikhchawithywnmiphasa khnbthrrmeniym caritpraephni silpwthnthrrm withichiwit aelakhwamechuxxnepnexklksnechphaatn insngkhmkhxngchawithywnmikhwamkhidineruxngphiphsmsasnaphuthth odyechphaaphipuya phibrrphburus camibthbathinkarkhwbkhumphvtikrrmkhxnglukhlanchawithywnihpraphvtitnthuktxngtamcaritpraephniaelakrxbthidingamkhxngsngkhm xikthngmikhwamechuxeruxng khud khuxkhxhamhruxkhxkhwrptibtiephuximihekidsingimdikhunkbtwexngaelakhrxbkhrw 8 phasa aekikh dubthkhwamhlkthi phasaithythinehnux xksrlanna phasaekhiynaelaphasaphudkhxngchawithywnmirupaebbepnkhxngtnexng sunginpccubnkyngphbepnkarichphasaekhiyninphrathrrmkhmphirsasnaphuthth aelapbsa iblan thngniphasaekhiynkhxngithywn hruxeriykwa xksrlanna aela xksrthrrm yngichinklumchawithluxthiechiyngrungaelachawithekhinthiechiyngtung dwy enuxngcakinxditchawlannaidnasasnaphuththekhaipephyaephryngsxngdinaednni 9 khaemuxnghruxphasaithywnyngsamarthaebngxxkepnsaeniynglannatawntk incnghwdechiyngihm laphun aelaaemhxngsxn aelasaeniynglannatawnxxk incnghwdechiyngray phaeya lapang xutrditth aephr aelanan sungcamikhwamaetktangknbang khux saeniynglannatawnxxkswnihycaimphbsraexuxa exux aetcaichsraexiya exiyaethn miesiyngexuxaaelaexuxephiyngaetkhntangthinfngimxxkexng enuxngcakesiyngthixxkmacaepnesiyngnasikiklekhiyngkbexiya exiy khaemuxnghruxphasaithywnmiiwyakrnkhlaykbphasaithyklang aetichkhasphthimehmuxnknaelaiwyakrnthiaetktangknxyubang aetedimichkhukbxksrthrrmlannasungepntwxksrkhxngxanackrlannathiichxksrmxyepntnaebb silpa aekikh dubthkhwamhlkthi silpalanna wdrxngkhun silpalannahruxsilpaechiyngaesn hmaythung silpainekhtphakhehnuxhruxdinaednlannakhxngpraethsithyinchwngtnphuththstwrrsthi 19 24 khadwamikarsubthxdtxenuxngcaksilpathwarwdiaelasilpalphburimatngaetsmyhriphuychy sunyklangkhxngsilpalannaedimxyuthiechiyngaesn eriykwaxanackroynk txmaemuxphyamngrayidyaymasrangemuxngechiyngihm sunyklangkhxngxanackrlannacungxyuthiemuxngechiyngihm ngansilpalannamikhwamekiywenuxngkbsasnaphuththodyechphaanikayethrwath xahar aekikh aeknghngel xaharswnihyrschatiimcd imniymisnatalinxahar khwamhwancaidcakswnphsmkhxngxaharnn echn phk pla aelaniymichthwenainkarprungxahar chawywnminaphrikrbprathanhlaychnid echn naphrikhnum naphrikxxng phkthiichcimswnmakepnphknung swnxaharthiruckkndiidaek khnmcinnaengiyw thimiekhruxngprungsakhykhuxdxkngiwsungepndxknumthitakaehng thuxepnekhruxngethsphunbanthimiklinhxm takhnun aelaaekngkhnun thimiswnphsmepnphkchnidxun echn ibchaphlu chaxm maekhuxeths nxkcakniyngmixaharthiidrbxiththiphlcakchnchatixundwy 10 echn aeknghngel idrbxiththiphlmacakchawphma khawsxy idrbxiththiphlmacakchawcinxangxing aekikhechingxrrth Lewis M Paul ed 2009 Ethnologue Languages of the World Sixteenth edition Entry for Northern Thai Dallas Tex SIL International ISBN 978 1 55671 216 6 phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 ISBN 978 616 7073 80 4 xannth kaycnphnth 2017 prawtisastrsngkhmlanna khwamekhluxnihwkhxngkhiwitaelawthnthrrmthxngthin phisnuolk hnwywicyxarythrrmsuksaokhng salawin mhawithyalynerswr aelaphakhwichasngkhmwithyaaelamanusywithya mhawithyalyechiyngihm pp 52 55 ISBN 978 616 4260 53 5 mhawithyalyechiyngihm chmrmhktwemuxng sanksngesrimsilpwthnthrrm 2019 06 12 ywn macakihn ikhrkhux ithywn mtichnsudspdah Frederic Pain 2008 An introduction to Thai ethnonymy examples from Shan and Northern Thai The Journal of the American Oriental Society ISSN 0003 0279 Andrew Turton 2004 Violent Capture of People for Exchange on Karen Tai borders in the 1830s Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia London Frank Cass p 73 doi 10 1080 01440390308559156 ISBN 9780714654867 silpwthnthrrm 2021 06 30 xanlannacakhlkthancin eriykxanackr snmaepdrxy aelathnuxabyaphiskhxngphranangcamethwi silpwthnthrrm ithywn sanksngesrimsilpwthnthrrm mhawithyalyechiyngihm The Center for the Promotion of Arts and Culture Chiang Mai University ithywn sanksngesrimsilpwthnthrrm mhawithyalyechiyngihm The Center for the Promotion of Arts and Culture Chiang Mai University xaharthxngthin 4 phakh sites google com brrnanukrmthenswr ecriyemuxng khnemuxng prawtisastrlannasmyihm ph s 2317 2553 phimphkhrngthi 2 echiyngihm sthabnphthnaemuxngechiyngihm 2554 246 hna ISBN 978 974 496 387 1 rachbnthitysthan phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 phimphkhrngthi 2 krungethph rachbnthitysthan 2556 1 544 hna ISBN 978 616 7073 80 4 surchy cngcitngam khumuxthxngethiyw eriynru lanna echiyngihm laphun lapang krungethph miwesiymephrs 2549 128 hna hna 16 ISBN 9789749497166 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ithywn amp oldid 9782646, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม