fbpx
วิกิพีเดีย

การทำงานในสมองกับการเข้าสมาธิ

การเจริญกรรมฐาน (อังกฤษ: meditation) ผลต่อการทำงานของสมอง และผลต่อระบบประสาทกลาง ได้กลายมาเป็นประเด็นงานวิจัยข้ามสาขาในประสาทวิทยาศาสตร์ จิตวิทยา และชีววิทยาประสาท (neurobiology) ในช่วงท้ายคริสต์ศตวรรษที่ 20 งานวิจัยได้พยายามที่จะกำหนดและแสดงลักษณะของการเจริญกรรมฐาน/การเจริญภาวนา/การนั่งสมาธิ แบบต่าง ๆ ผลการเจริญกรรมฐานต่อสมองมีสองแบบ คือผลต่อภาวะสมองระยะสั้นเมื่อกำลังเจริญกรรมฐาน และผลต่อลักษณะที่มีในระยะยาว

เขตสมองที่มีสีเน้นเป็นเขต anterior cingulate cortex ซึ่งทำงานเมื่อมีการเจริญกรรมฐาน

ประเด็นการศึกษาบ่อยครั้งจะเป็นเรื่องการเจริญสติ ซึ่งเป็นกรรมฐานของชาวพุทธทั้งในแบบวิปัสสนา และในรูปแบบของนิกายเซน ศ. ดร. จอน คาแบต-ซินน์ ผู้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์ ผู้ก่อตั้งโปรแกรม MBSR เพื่อช่วยลดความเครียดอาศัยสติ ได้กล่าวถึงการเจริญสติว่า เป็นการใส่ใจในขณะปัจจุบัน อย่างไม่มีอคติ อย่างสมบูรณ์

ความเปลี่ยนแปลงในภาวะสมอง

การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง

การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง (Electroencephalography, ตัวย่อ EEG) เป็นวิธีหลักที่ใช้ในงานศึกษาหลายงาน เพื่อตรวจสอบสมองที่กำลังเจริญกรรมฐาน EEG ใช้ตัวนำไฟที่แปะไว้ทั่วหนังศีรษะ เพื่อวัดการทำงานของเปลือกสมอง โดยเฉพาะแล้ว EEG วัดสนามไฟฟ้าของนิวรอนกลุ่มใหญ่ ข้อดีของ EEG ก็คือรายละเอียดทางเวลา คือสามารถวัดการทำงานแบบรวม ๆ ของคอร์เทกซ์บางส่วน ในระดับมิลลิวินาที ข้อเสียเมื่อเทียบกับวิธีการสร้างภาพทางสมองอื่น ๆ ก็คือ EEG มีรายละเอียดทางปริภูมิไม่ดี ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใช้วัดการทำงานแบบเกิดเอง (spontaneous activity) ของคอร์เทกซ์ ซึ่งจัดออกเป็น 4 ประเภทตามความถี่ของคลื่นสมอง เริ่มตั้งแต่คลื่นเดลตาความถี่ต่ำ (< 4 เฮิรตซ์) ซึ่งสามัญในช่วงเวลานอน ไปจนถึงคลื่นบีตา (13-30 เฮิรตซ์) ที่มีเมื่อตื่น และในระหว่างคลื่นความถี่ทั้งสองนี้ ก็คือ คลื่นทีตา (4-8 เฮิรตซ์) และคลื่นแอลฟา (8-12 เฮิรตซ์)

งานศึกษาหลายงานเกี่ยวกับสติกรรมฐาน ซึ่งมีการปฏิทัศน์ในปี ค.ศ. 2006 เชื่อมคลื่นแอลฟาและทีตาที่มีความถี่ต่ำกว่ากับกรรมฐาน (คือเมื่อเจริญสติกรรมฐาน มักจะพบคลื่นแอลฟาและทีตาบ่อยครั้งกว่าคลื่นแอลฟา) แต่มีงานทดลองเก่า ๆ ที่รายงานผลที่เฉพาะเจาะจงยิ่งกว่านั้น เช่น งานศึกษาในปี ค.ศ. 1966 พบ alpha blocking ที่ลดลง และมีการทำงานแบบทีตาเพิ่มขึ้นเฉพาะในสมองกลีบหน้า alpha blocking เป็นปรากฏการณ์ที่สมองที่กำลังทำงาน ที่ปกติแสดงการทำงานแบบคลื่นบีตา จะไม่สามารถเปลี่ยนไปเป็นทำงานแบบคลื่นแอลฟา ที่มักจะเกี่ยวข้องกับการระลึกถึงความจำ เป็นงานที่อาจแสดงว่า เมื่อกำลังเจริญกรรมฐาน บุคคลจะอยู่ในสภาพที่ผ่อนคลายมากกว่า แม้ว่าจะยังมีความสำนึก (awareness) ที่ชัดเจน แต่ว่า งานทบทวนสองงานในปี ค.ศ. 2006 และ 2010 ชี้ว่า งานทดลองเก่า ๆ เหล่านั้น มีกลุ่มควบคุมและการวิเคราะห์ทางสถิติที่ไม่ดี และให้ความเห็นว่า ผลงานสามารถบอกได้เพียงว่า มีระดับการทำงานแบบแอลฟาและทีตาที่สูงขึ้นจริง ๆ

 
พระพุทธรูปปางเข้ากรรมฐาน

การสร้างภาพประสาท

fMRI เป็นเทคโนโลยีอีกอย่างหนึ่งที่ใช้กันในระดับสูง เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงของสมองที่กำลังเจริญกรรมฐาน fMRI สามารถตรวจจับการเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ไปยังเขตสมองที่มีระดับเมแทบอลิซึมสูง ซึ่งเป็นเขตที่กำลังทำงานตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ปรากฏอยู่ เทียบกับ EEG ข้อเหนือของ fMRI อยู่ที่ความละเอียดทางปริภูมิ คือสามารถสร้างแผนที่การทำงานสมองได้อย่างละเอียด ข้อด้อยอยู่ที่ความละเอียดทางกาลเวลา คือไม่สามารถวัดการทำงานที่ค่อย ๆ เป็นไปได้อย่างละเอียด ไม่เหมือนกับ EEG

ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิลักษณ์ในสมอง

เนื่องจากยังเป็นเทคโนโลยีที่ใหม่ จึงพึ่งเริ่มมีการใช้ fMRI เพื่อตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงในสมองเมื่อเข้ากรรมฐาน เมื่อเร็ว ๆ นี้ ซึ่งพบว่า มีการทำงานในระดับที่สูงขึ้นที่ anterior cingulate cortex, สมองกลีบหน้า, และคอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า โดยเฉพาะในเขตหลังด้านใน (dorsal medial) เมื่อกำลังเจริญวิปัสสนา และโดยนัยเดียวกัน cingulate cortex และสมองกลีบหน้า ก็ทำงานเพิ่มขึ้นในระหว่างการเข้ากรรมฐานแบบเซน งานศึกษาทั้งสองนี้ ให้ข้องสังเกตว่า อาจจะมีระดับการควบคุมความใส่ใจที่สูงขึ้น ในระหว่างสติกรรมฐานทั้งสองแบบ งานทบทวนสองงานในปี ค.ศ. 2006 และ 2010 กล่าวว่า เป็นผลของกรรมฐานต่าง ๆ ที่พบอย่างสม่ำเสมอในเขตสมองเหล่านี้ โดยอ้างงานศึกษาที่ทำในกรรมฐานอื่น ๆ และแนะนำว่า ควรจะมีการตรวจสอบเพิ่มขึ้น โดยที่มีกลุ่มควบคุมที่ดีกว่า

กรรมฐานและอารมณ์ความรู้สึก

งานศึกษาในปี ค.ศ. 2008 พุ่งความสนใจไปที่การตอบสนองทางอารมณ์ความรู้สึก ในระหว่างการเข้ากรรมฐาน โดยให้ผู้ร่วมการทดลองทั้งที่เป็นผู้ฝึกใหม่ ทั้งผู้ชำนาญ เข้ากรุณากรรมฐาน (compassion meditation) แล้วทดสอบปฏิกิริยาต่อเสียงที่แสดงความทุกข์ ภาพ fMRI แสดงระดับการทำงานที่สูงขึ้นใน cingulate cortex, อะมิกดะลา, temporo-parietal junction, และ ร่องสมองกลีบขมับส่วนบนกลีบขวาข้างหลัง เป็นปฏิกิริยาต่อเสียง นักวิจัยเชื่อว่า การทำงานเยี่ยงนี้ แสดงความอ่อนไหวที่เพิ่มขึ้นต่อการแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่น และแสดงอารมณ์เชิงบวกของผู้ปฏิบัติกรรมฐาน

ผลระยะยาว

การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง

โดยเหมือนกับงานวิจัยเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงการทำงานของสมองในระยะสั้น งานวิจัยรุ่นเก่า ๆ อ้างอย่างเฉพาะเจาะจงว่า มีความเปลี่ยนแปลงระยะยาวในผู้ปฏิบัติกรรมฐาน เทียบกับผู้ไม่เจริญกรรมฐาน ความเปลี่ยนแปลงต่อคลื่นแอลฟา กล่าวว่าเป็นทั้งความเปลี่ยนแปลงระยะสั้นและระยะยาว คือ มีงานวิจัยหลายงาน (1966, 1981) ที่รายงานคลื่นความถี่โดยเฉพาะในระยะแอลฟาที่มีเพิ่มขึ้น การเพิ่มกำลังของคลื่นแอลฟา และระดับความถี่ที่ลดลงใน EEG ในนักกรรมฐานผู้ชำนาญ เทียบกับผู้ฝึกใหม่ เมื่อกำลังอยู่ในกรรมฐาน ปรากฏการณ์ alpha blocking ที่เป็นความเปลี่ยนแปลงการทำงานของสมอง ได้รับการตรวจสอบว่าเป็นผลระยะยาวด้วยหรือไม่ งานวิจัยในปี ค.ศ. 1981 ตรวจสอบรูปแบบการเจริญกรรมฐานหลายอย่าง เพื่อที่จะแสดงว่า การฝึกกรรมฐานระยะยาวจะมีผลต่อ alpha blocking โดยทดสอบปฏิกิริยาต่อสิ่งเร้าทางหู แต่ว่างานทบทวนภายหลัง (2000, 2006) ให้ข้อสังเกตว่า ผลที่พบไม่ค่อยลงรอยกันและไม่มีผลที่ทำซ้ำต่อ ๆ มา ทั้งในงานนี้ และในงานอื่น ๆ และบอกต่อไปว่า โดยคล้ายกับสังเกตการณ์ของการทำงานระยะสั้นที่เปลี่ยนไป ผลงานวิจัยสามารถบอกผลระยะยาวเพียงได้ว่า มีความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบคลื่นสมองจริง ๆ แต่ไม่ค่อยสม่ำเสมอ นอกจากนั้นยังมีข้อสังเกตอีกด้วยว่า แม้ว่า ความเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นจะพบในระหว่างเจริญกรรมฐาน งานวิจัยโดย EEG ยังไม่ได้แสดงผลเปลี่ยนแปลงต่อสมองในระหว่างที่ไม่ได้เจริญกรรมฐาน แม้ในบุคคลผู้ชำนาญ

 
เขตสีแดงคือฮิปโปแคมปัส ทำงานมากขึ้นระหว่างการเจริญกรรมฐานสำหรับผู้ชำนาญ

การสร้างภาพทางสมอง

ความเปลี่ยนแปลงระยะยาวทางสมองยังเห็นได้จากรูปสมอง บ่อยครั้งที่สุดสร้างโดยใช้ fMRI ในงานวิเคราะห์อภิมานของงานวิจัย 21 งานที่มีการสร้างภาพทางสมอง พบว่า มีเขตสมอง 8 เขต ที่เปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งเขตสำคัญต่อ meta-awareness คือ frontopolar cortex หรือบริเวณบรอดมันน์ 10, การรับรู้อากัปกิริยาของกายทั้งภายในภายนอก (exteroceptive and interoceptive) คือ คอร์เทกซ์รับความรู้สึก และ insular cortex, การรวมความจำและการรวมความจำใหม่ (memory consolidation and reconsolidation) คือบริเวณฮิปโปแคมปัส การควบคุมตนเองและอารมณ์ความรู้สึก คือ anterior cingulate cortex และ orbitofrontal cortex, และการสื่อสารภายในกลีบสมองและข้ามกลีบสมอง คือ superior longitudinal fasciculus และ corpus callosum ความเปลี่ยนแปลงที่ว่านี้ เห็นจากความหนาแน่นที่เพิ่มขึ้นของเนื้อเทาและเนื้อขาว ในบุคคลที่เจริญกรรมฐานเทียบกับบุคคลที่ไม่เจริญ และการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างที่พบมากที่สุด อยู่ในสมองกลีบซ้าย

ยังมีหลักฐานอีกด้วยว่า การเจริญกรรมฐาน มีบทบาทป้องกันการลดปริมาตรเนื้อเทา ที่เกิดเมื่ออายุมากขึ้น งานวิจัยในปี ค.ศ. 2007 พบหลักฐานว่า ผู้เจริญกรรมฐานแบบเซน มีปริมาตรเนื้อเทาใน putamen ซึ่งมีบทบาทเกี่ยวกับการเรียนรู้ ความยืดหยุ่นทางประชาน และการประเมินผลเกี่ยวกับการใส่ใจ ที่ลดลงในอัตราที่ต่ำกว่าผู้ไม่เจริญ ซึ่งอาจจะแสดงว่า ผู้เจริญกรรมฐานมีการใส่ใจที่ดีกว่าผู้ไม่เจริญกรรมฐาน

ผู้ปฏิบัติกรรมฐานในระยะยาว ยังสามารถอดทนต่อความเจ็บปวดได้ดีกว่าอีกด้วย เป็นปรากฏการณ์ที่สัมพันธ์กับหน้าที่และโครงสร้างที่เปลี่ยนไป ของคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (somatosensory cortices) และความสามารถเพิ่มขึ้นที่จะแยกส่วนต่าง ๆ ของสมอง จากส่วนที่ประเมินความรู้สึกเจ็บปวดทางประชาน คือ anterior cingulate cortex และ dorsolateral prefrontal cortex

แต่ความเปลี่ยนแปลงที่พบในผู้เจริญกรรมฐาน โดยมากจะพบเฉพาะในคอร์เทกซ์ที่เกี่ยวข้องกับ executive functions และ คอร์เทกซ์สัมพันธ์ (association cortices) ซึ่งสนับสนุนความคิดว่า การเจริญกรรมฐานช่วยเพิ่มการควบคุมตัวเองและความใส่ใจ งานวิจัยเร็ว ๆ นี้ ยังได้ตรวจสอบว่า ความเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ อาจจะเปลี่ยนแปลงการทำงานร่วมและการเชื่อมต่อกับ default mode network (DMN) อย่างไร DMN เป็นเครือข่ายของเขตต่าง ๆ ในสมองที่มีสมมุติฐานว่า จะทำงานเมื่อบุคคลทำงานทางใจรวมทั้งฝันกลางวัน

ความสมเหตุสมผลของผลงาน

งานวิเคราะห์อภิมานของงานวิจัยต่าง ๆ ในปี ค.ศ. 2014 รายงานว่ามีความเอนเอียงหลายประเภท ซึ่งทำให้มีปัญหาขึ้นว่า งานวิจัยที่ใช้การสร้างภาพทางสมองเหล่านี้สมเหตุสมผลหรือไม่ นักวิเคราะห์เสนอว่า ความเอนเอียงในการตีพิมพ์ อาจทำให้มีการรายงานผลที่มีนัยสำคัญมากเกินไป และว่า ความแตกต่างทางสมองที่สำคัญ ที่พบในผู้เจริญกรรมฐาน อาจจะเป็นความแตกต่างกันทางสมองที่มีอยู่แล้ว และจะต้องมีงานวิจัยเพิ่มขึ้นอีก ก่อนที่จะมีข้อสรุปที่ดีได้ในเรื่องนี้

วรรณกรรมยอดนิยม

ที่แสดงภาพเชิงบวก

นอกจากวรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ นักเขียนบางท่านยังเขียนหนังสือเกี่ยวกับงานวิจัยเรื่องกรรมฐาน เพื่อให้บุคคลทั่วไปอ่านอีกด้วย หนังสือเล่มหนึ่งเช่นนี้คือ Buddha’s Brain (สมองพุทธ) โดย ดร. ริค แฮนสัน ที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 2009 ดร. แฮนสันผู้เป็นนักวิจัยทางประสาทวิทยาศาสตร์ ได้อธิบายให้ผู้อ่านฟังเกี่ยวกับงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ในภาษาที่เข้าใจได้ง่าย และประโยชน์ที่อาจจะได้จากผลงานวิจัย ข้อความหลักของ ดร. แฮนสันก็คือ อารมณ์เชิงบวก เช่นความรัก สามารถเพิ่มกำลังโดยการเจริญกรรมฐาน ซึ่งจะเปลี่ยนสภาพทางสมอง โดยอ้างงานวิจัยเป็นโหล ๆ เพื่อสนับสนุนความคิดนี้ แต่มุมมองนี้ เป็นตัวแทนหนึ่งของขบวนการยอดนิยมในสังคมชาวตะวันตกปัจจุบัน ที่จะศึกษาและเปิดอกรับหลักความคิดของชาวตะวันออกบางอย่าง รวมทั้งการเจริญกรรมฐานด้วย

ข้อโต้แย้ง

ผู้ที่ไม่เห็นด้วย เช่น นักประสาทชีววิทยา ดร. โอเว็น แฟลเนแกน ของมหาวิทยาลัยดุ๊ก เชื่อว่า ดร. แฮนสัน และนักเขียนอื่น ๆ ในแนวเดียวกัน พูดเกินเลยผลที่ได้จากงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์[ต้องการอ้างอิง] ในหนังสือ Bodhisattva’s Brain: Buddhism Naturalized (สมองพระโพธิสัตว์ หลักพุทธอธิบายตามธรรมชาติ) ดร. แฟลเนแกนแสดงมุมมองที่เคร่งครัดกว่า จากผลที่ได้จากงานศึกษาวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน แล้วเตือนผู้อ่านไม่ให้ตื่นเต้นเกินความจริง เพราะผลงานศึกษาเร็ว ๆ นี้ คือเขาไม่เชื่อว่า ผลงานวิทยาศาสตร์สนับสนุนความคิดว่า อารมณ์เชิงบวกสามารถทำให้มีกำลังขึ้น ในทำนองเดียวกับที่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง สามารถกลับมาใช้แขนขาได้อีกถ้าฝึกใช้ ดร. แฟลเนแกนคิดว่า การเจริญกรรมฐานน่าจะมีประโยชน์บางอย่าง แต่ว่า กลไกและกระบวนการที่การเจริญกรรมฐานมีผลต่อสมอง ยังเป็นเรื่องที่ไม่ชัดเจน ทั้ง ดร. แฟลเนแกน และ ดร. แฮนสัน ใช้ผลงานวิทยาศาสตร์เดียวกัน เพื่อจะสนับสนุนมุมมองของตน แต่นักเขียนแม้ทั้งสองล้วนแต่ชี้ความจำเป็นและความสำคัญ ในการทำงานวิจัยต่อ ๆ ไปเพื่อศึกษาเรื่องการเจริญกรรมฐาน

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. ศัพท์อังกฤษว่า meditation มีความหมายหลายอย่าง รวมทั้ง
    • สมาธิ, การเข้าสมาธิ
    • การทำสมาธิ
    • การเจริญฌานและวิปัสสนาทั้งสองสามารถแปลเป็น meditation
    หนังสือพุทธเล่มอื่น ๆ ก็แปลอย่างกว้าง ๆ เช่นนี้เหมือนกัน จึงใช้คำว่า การเจริญกรรมฐาน

อ้างอิง

  1. "meditation", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑, ๑. สมาธิ, การเข้าสมาธิ ๒. การรำพึงธรรม
  2. "meditation", Lexitron พจนานุกรมไทย<=>อังกฤษ รุ่น 2.6, หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2546, [N] การทำสมาธิ Check date values in: |year= (help)
  3. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. ISBN 974-8357-89-9.
  4. Mizuno, Kogen (1972). Essentials of Buddhism. Tokyo: Kosei Publishing Company.
  5. Ahir, D.C. (1999). Vipassana : A Universal Buddhist Meditation Technique. New Delhi: Sri Satguru Publications.
  6. Kabat-Zinn, Jon (1998). Wherever You Go, There You Are : Mindfulness Meditation in Everyday Life. New York: Hyperion.
  7. Cahn, BR; Polich, J (2006). "Meditation states and traits : EEG, ERP, and neuroimaging studies" (PDF). Psychological Bulletin. 132 (2): 180–211. doi:10.1037/0033-2909.132.2.180. PMID 16536641.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  8. Kasamatsu, KH; Hirai, T (1966). "An electroencephalographic study on the zen meditation (Zazen)". Folia Psychiatrica et Neurologica Japonica. 20 (4): 315–336. doi:10.1111/j.1440-1819.1966.tb02646.x. PMID 6013341.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  9. Chiesa, A; Serretti, A (2010). "A systematic review of neurobiological and clinical features of mindfulness meditations". Psychological Medicine. 40 (8): 1239–1252. doi:10.1017/S0033291709991747. PMID 19941676.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  10. Holzel, BK; Ott, U; Hempel, H; Hackl, A; Wolf, K; Stark, R; Vaitl, D (2007). "Differential engagement of anterior cingulate and adjacent medial frontal cortex in adept meditators and non-meditators". Neuroscience Letters. 421: 16–21. doi:10.1016/j.neulet.2007.04.074.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  11. Pagnoni, G; Cekic, M; Guo, Y (2008). "'Thinking about not- thinking': neural correlates of conceptual processing during Zen meditation". PLoS ONE. 3: e3083. doi:10.1371/journal.pone.0003083.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  12. Lutz, A; Brefczynski-Lewis, J; Johnstone, T; Davidson, RJ (2008). "Regulation of the Neural Circuitry of Emotion by Compassion Meditation: Effects of Meditative Expertise" (PDF). PLoS ONE. 3 (3): e1897. doi:10.1371/journal.pone.0001897. PMC 2267490. PMID 18365029. สืบค้นเมื่อ 2011-09-06.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  13. Stigsby, B; Rodenberg, JC; Moth, HB (1981). "Electroencephalographic findings during mantra meditation (transcendental meditation). A controlled, quantitative study of experienced meditators". Electroencephalography and Clinical Neurophysiology. 51: 434–442. doi:10.1016/0013-4694(81)90107-3.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  14. Becker, DE; Shapiro, D (1981). "Physiological responses to clicks during Zen, yoga, and TM meditation". Psychophysiology. 18: 694–699. doi:10.1111/j.1469-8986.1981.tb01846.x.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  15. Andersen, J (2000). "Meditation meets behavioural medicine: The story of experimental research on meditation". Journal of Consciousness Studies. 7: 17–73.
  16. Fox, Kieran C.R.; Nijeboer, Savannah; Dixon, Matthew L.; Floman, James L.; Ellamil, Melissa; Rumak, Samuel P.; Sedlmeier, Peter; Christoff, Kalina (2014-06). "Is meditation associated with altered brain structure? A systematic review and meta-analysis of morphometric neuroimaging in meditation practitioners". Neuroscience & Biobehavioral Reviews. 43: 48–73. doi:10.1016/j.neubiorev.2014.03.016. Check date values in: |date= (help)
  17. Pagnoni, G; Cekic, M (2007). "Age effects on gray matter volume and attentional performance in Zen meditation". Neurobiology of Aging. 28 (10): 1623–1627. doi:10.1016/j.neurobiolaging.2007.06.008. PMID 17655980.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  18. Grant, J. A.; Rainville, P. (2009-01-05). "Pain Sensitivity and Analgesic Effects of Mindful States in Zen Meditators: A Cross-Sectional Study". Psychosomatic Medicine. 71 (1): 106–114. doi:10.1097/psy.0b013e31818f52ee.
  19. Grant, Joshua A.; Courtemanche, Jérôme; Rainville, Pierre (2011-01). "A non-elaborative mental stance and decoupling of executive and pain-related cortices predicts low pain sensitivity in Zen meditators". Pain. 152 (1): 150–156. doi:10.1016/j.pain.2010.10.006. Check date values in: |date= (help)
  20. Jang, Joon Hwan; Jung, Wi Hoon; Kang, Do-Hyung; Byun, Min Soo; Kwon, Soo Jin; Choi, Chi-Hoon; Kwon, Jun Soo (2010). "Increased default mode network connectivity associated with meditation". Neuroscience Letters. 487 (3): 358–362. doi:10.1016/j.neulet.2010.10.056.
  21. Hanson, Rick (2009). Buddha’s Brain: The Practical Neuroscience of Happiness, Love, and Wisdom. Oakland, CA: New Harbinger Publication, INC. ISBN 978-1572246959.
  22. Flanagan, Owen (2011). Bodhisattva’s Brain: Buddhism Naturalized. Cambridge, MA: The MIT Press. ISBN 978-0262016049.

การทำงานในสมองก, บการเข, าสมาธ, การเจร, ญกรรมฐาน, งกฤษ, meditation, ผลต, อการทำงานของสมอง, และผลต, อระบบประสาทกลาง, ได, กลายมาเป, นประเด, นงานว, ยข, ามสาขาในประสาทว, ทยาศาสตร, ตว, ทยา, และช, วว, ทยาประสาท, neurobiology, ในช, วงท, ายคร, สต, ศตวรรษท, งานว, ยได, . karecriykrrmthan A xngkvs meditation phltxkarthangankhxngsmxng aelaphltxrabbprasathklang idklaymaepnpraednnganwicykhamsakhainprasathwithyasastr citwithya aelachiwwithyaprasath neurobiology inchwngthaykhriststwrrsthi 20 nganwicyidphyayamthicakahndaelaaesdnglksnakhxngkarecriykrrmthan karecriyphawna karnngsmathi aebbtang phlkarecriykrrmthantxsmxngmisxngaebb khuxphltxphawasmxngrayasnemuxkalngecriykrrmthan aelaphltxlksnathimiinrayayawekhtsmxngthimisiennepnekht anterior cingulate cortex sungthanganemuxmikarecriykrrmthan praednkarsuksabxykhrngcaepneruxngkarecriysti sungepnkrrmthankhxngchawphuthththnginaebbwipssna aelainrupaebbkhxngnikayesn 4 5 s dr cxn khaaebt sinn phuepnsastracarykittikhunkhxngkhnaaephthysastr mhawithyalyaemssachuests phukxtngopraekrm MBSR ephuxchwyldkhwamekhriydxasysti idklawthungkarecriystiwa epnkarisicinkhnapccubn xyangimmixkhti xyangsmburn 6 enuxha 1 khwamepliynaeplnginphawasmxng 1 1 karbnthukkhluniffasmxng 1 2 karsrangphaphprasath 1 2 1 khwamepliynaeplngthangphumilksninsmxng 1 2 2 krrmthanaelaxarmnkhwamrusuk 2 phlrayayaw 2 1 karbnthukkhluniffasmxng 2 2 karsrangphaphthangsmxng 2 3 khwamsmehtusmphlkhxngphlngan 3 wrrnkrrmyxdniym 3 1 thiaesdngphaphechingbwk 3 2 khxotaeyng 4 duephim 5 echingxrrth 6 xangxingkhwamepliynaeplnginphawasmxng aekikhkarbnthukkhluniffasmxng aekikh karbnthukkhluniffasmxng Electroencephalography twyx EEG epnwithihlkthiichinngansuksahlayngan ephuxtrwcsxbsmxngthikalngecriykrrmthan EEG ichtwnaifthiaepaiwthwhnngsirsa ephuxwdkarthangankhxngepluxksmxng odyechphaaaelw EEG wdsnamiffakhxngniwrxnklumihy khxdikhxng EEG kkhuxraylaexiydthangewla khuxsamarthwdkarthanganaebbrwm khxngkhxrethksbangswn inradbmilliwinathi khxesiyemuxethiybkbwithikarsrangphaphthangsmxngxun kkhux EEG miraylaexiydthangpriphumiimdi dngnn cungehmaathicaichwdkarthanganaebbekidexng spontaneous activity khxngkhxrethks sungcdxxkepn 4 praephthtamkhwamthikhxngkhlunsmxng erimtngaetkhlunedltakhwamthita lt 4 ehirts sungsamyinchwngewlanxn ipcnthungkhlunbita 13 30 ehirts thimiemuxtun aelainrahwangkhlunkhwamthithngsxngni kkhux khlunthita 4 8 ehirts aelakhlunaexlfa 8 12 ehirts ngansuksahlaynganekiywkbstikrrmthan sungmikarptithsninpi kh s 2006 echuxmkhlunaexlfaaelathitathimikhwamthitakwakbkrrmthan 7 khuxemuxecriystikrrmthan mkcaphbkhlunaexlfaaelathitabxykhrngkwakhlunaexlfa aetminganthdlxngeka thiraynganphlthiechphaaecaacngyingkwann echn ngansuksainpi kh s 1966 phb alpha blocking thildlng aelamikarthanganaebbthitaephimkhunechphaainsmxngklibhna 8 alpha blocking epnpraktkarnthismxngthikalngthangan thipktiaesdngkarthanganaebbkhlunbita caimsamarthepliynipepnthanganaebbkhlunaexlfa thimkcaekiywkhxngkbkarralukthungkhwamca epnnganthixacaesdngwa emuxkalngecriykrrmthan bukhkhlcaxyuinsphaphthiphxnkhlaymakkwa aemwacayngmikhwamsanuk awareness thichdecn aetwa nganthbthwnsxngnganinpi kh s 2006 aela 2010 chiwa nganthdlxngeka ehlann miklumkhwbkhumaelakarwiekhraahthangsthitithiimdi aelaihkhwamehnwa phlngansamarthbxkidephiyngwa miradbkarthanganaebbaexlfaaelathitathisungkhuncring 7 9 phraphuththruppangekhakrrmthan karsrangphaphprasath aekikh fMRI epnethkhonolyixikxyanghnungthiichkninradbsung ephuxsuksakhwamepliynaeplngkhxngsmxngthikalngecriykrrmthan fMRI samarthtrwccbkarephimkarihlewiynkhxngeluxd ipyngekhtsmxngthimiradbemaethbxlisumsung sungepnekhtthikalngthangantxbsnxngtxsingerathipraktxyu ethiybkb EEG khxehnuxkhxng fMRI xyuthikhwamlaexiydthangpriphumi khuxsamarthsrangaephnthikarthangansmxngidxyanglaexiyd khxdxyxyuthikhwamlaexiydthangkalewla khuximsamarthwdkarthanganthikhxy epnipidxyanglaexiyd imehmuxnkb EEG khwamepliynaeplngthangphumilksninsmxng aekikh enuxngcakyngepnethkhonolyithiihm cungphungerimmikarich fMRI ephuxtrwcsxbkhwamepliynaeplnginsmxngemuxekhakrrmthan emuxerw ni sungphbwa mikarthanganinradbthisungkhunthi anterior cingulate cortex smxngklibhna aelakhxrethksklibhnaphakswnhna odyechphaainekhthlngdanin dorsal medial emuxkalngecriywipssna 10 aelaodynyediywkn cingulate cortex aelasmxngklibhna kthanganephimkhuninrahwangkarekhakrrmthanaebbesn 11 ngansuksathngsxngni ihkhxngsngektwa xaccamiradbkarkhwbkhumkhwamisicthisungkhun inrahwangstikrrmthanthngsxngaebb nganthbthwnsxngnganinpi kh s 2006 aela 2010 klawwa epnphlkhxngkrrmthantang thiphbxyangsmaesmxinekhtsmxngehlani odyxangngansuksathithainkrrmthanxun aelaaenanawa khwrcamikartrwcsxbephimkhun odythimiklumkhwbkhumthidikwa 7 9 krrmthanaelaxarmnkhwamrusuk aekikh ngansuksainpi kh s 2008 phungkhwamsnicipthikartxbsnxngthangxarmnkhwamrusuk inrahwangkarekhakrrmthan 12 odyihphurwmkarthdlxngthngthiepnphufukihm thngphuchanay ekhakrunakrrmthan compassion meditation aelwthdsxbptikiriyatxesiyngthiaesdngkhwamthukkh phaph fMRI aesdngradbkarthanganthisungkhunin cingulate cortex xamikdala temporo parietal junction aela rxngsmxngklibkhmbswnbnklibkhwakhanghlng epnptikiriyatxesiyng nkwicyechuxwa karthanganeyiyngni aesdngkhwamxxnihwthiephimkhuntxkaraesdngxxkthangxarmnkhwamrusukkhxngphuxun aelaaesdngxarmnechingbwkkhxngphuptibtikrrmthan 12 phlrayayaw aekikhkarbnthukkhluniffasmxng aekikh odyehmuxnkbnganwicyekiywkbkhwamepliynaeplngkarthangankhxngsmxnginrayasn nganwicyruneka xangxyangechphaaecaacngwa mikhwamepliynaeplngrayayawinphuptibtikrrmthan ethiybkbphuimecriykrrmthan khwamepliynaeplngtxkhlunaexlfa klawwaepnthngkhwamepliynaeplngrayasnaelarayayaw khux minganwicyhlayngan 1966 1981 thirayngankhlunkhwamthiodyechphaainrayaaexlfathimiephimkhun karephimkalngkhxngkhlunaexlfa aelaradbkhwamthithildlngin EEG innkkrrmthanphuchanay ethiybkbphufukihm emuxkalngxyuinkrrmthan 8 13 praktkarn alpha blocking thiepnkhwamepliynaeplngkarthangankhxngsmxng idrbkartrwcsxbwaepnphlrayayawdwyhruxim nganwicyinpi kh s 1981 trwcsxbrupaebbkarecriykrrmthanhlayxyang ephuxthicaaesdngwa karfukkrrmthanrayayawcamiphltx alpha blocking odythdsxbptikiriyatxsingerathanghu 14 aetwanganthbthwnphayhlng 2000 2006 ihkhxsngektwa phlthiphbimkhxylngrxyknaelaimmiphlthithasatx ma thnginnganni aelainnganxun aelabxktxipwa odykhlaykbsngektkarnkhxngkarthanganrayasnthiepliynip phlnganwicysamarthbxkphlrayayawephiyngidwa mikhwamepliynaeplnginrupaebbkhlunsmxngcring aetimkhxysmaesmx 7 15 nxkcaknnyngmikhxsngektxikdwywa aemwa khwamepliynaeplngechnnncaphbinrahwangecriykrrmthan nganwicyody EEG yngimidaesdngphlepliynaeplngtxsmxnginrahwangthiimidecriykrrmthan aeminbukhkhlphuchanay ekhtsiaedngkhuxhipopaekhmps thanganmakkhunrahwangkarecriykrrmthansahrbphuchanay karsrangphaphthangsmxng aekikh khwamepliynaeplngrayayawthangsmxngyngehnidcakrupsmxng bxykhrngthisudsrangodyich fMRI innganwiekhraahxphimankhxngnganwicy 21 nganthimikarsrangphaphthangsmxng phbwa miekhtsmxng 8 ekht thiepliynaeplngxyangsmaesmx rwmthngekhtsakhytx meta awareness khux frontopolar cortex hruxbriewnbrxdmnn 10 karrbruxakpkiriyakhxngkaythngphayinphaynxk exteroceptive and interoceptive khux khxrethksrbkhwamrusuk aela insular cortex karrwmkhwamcaaelakarrwmkhwamcaihm memory consolidation and reconsolidation khuxbriewnhipopaekhmps karkhwbkhumtnexngaelaxarmnkhwamrusuk khux anterior cingulate cortex aela orbitofrontal cortex aelakarsuxsarphayinklibsmxngaelakhamklibsmxng khux superior longitudinal fasciculus aela corpus callosum 16 khwamepliynaeplngthiwani ehncakkhwamhnaaennthiephimkhunkhxngenuxethaaelaenuxkhaw inbukhkhlthiecriykrrmthanethiybkbbukhkhlthiimecriy aelakarepliynaeplngthangokhrngsrangthiphbmakthisud xyuinsmxngklibsayyngmihlkthanxikdwywa karecriykrrmthan mibthbathpxngknkarldprimatrenuxetha thiekidemuxxayumakkhun nganwicyinpi kh s 2007 phbhlkthanwa phuecriykrrmthanaebbesn miprimatrenuxethain putamen sungmibthbathekiywkbkareriynru khwamyudhyunthangprachan aelakarpraeminphlekiywkbkarisic thildlnginxtrathitakwaphuimecriy 17 sungxaccaaesdngwa phuecriykrrmthanmikarisicthidikwaphuimecriykrrmthanphuptibtikrrmthaninrayayaw yngsamarthxdthntxkhwamecbpwdiddikwaxikdwy 18 epnpraktkarnthismphnthkbhnathiaelaokhrngsrangthiepliynip khxngkhxrethksrbkhwamrusukthangkay somatosensory cortices aelakhwamsamarthephimkhunthicaaeykswntang khxngsmxng cakswnthipraeminkhwamrusukecbpwdthangprachan khux anterior cingulate cortex aela dorsolateral prefrontal cortex 19 aetkhwamepliynaeplngthiphbinphuecriykrrmthan odymakcaphbechphaainkhxrethksthiekiywkhxngkb executive functions aela khxrethkssmphnth association cortices 16 sungsnbsnunkhwamkhidwa karecriykrrmthanchwyephimkarkhwbkhumtwexngaelakhwamisic nganwicyerw ni yngidtrwcsxbwa khwamepliynaeplngechnni xaccaepliynaeplngkarthanganrwmaelakarechuxmtxkb default mode network DMN xyangir DMN epnekhruxkhaykhxngekhttang insmxngthimismmutithanwa cathanganemuxbukhkhlthanganthangicrwmthngfnklangwn 20 khwamsmehtusmphlkhxngphlngan aekikh nganwiekhraahxphimankhxngnganwicytang inpi kh s 2014 raynganwamikhwamexnexiynghlaypraephth sungthaihmipyhakhunwa nganwicythiichkarsrangphaphthangsmxngehlanismehtusmphlhruxim nkwiekhraahesnxwa khwamexnexiynginkartiphimph xacthaihmikarraynganphlthiminysakhymakekinip 16 aelawa khwamaetktangthangsmxngthisakhy thiphbinphuecriykrrmthan xaccaepnkhwamaetktangknthangsmxngthimixyuaelw 16 aelacatxngminganwicyephimkhunxik kxnthicamikhxsrupthidiidineruxngniwrrnkrrmyxdniym aekikhthiaesdngphaphechingbwk aekikh nxkcakwrrnkrrmthangwithyasastr nkekhiynbangthanyngekhiynhnngsuxekiywkbnganwicyeruxngkrrmthan ephuxihbukhkhlthwipxanxikdwy hnngsuxelmhnungechnnikhux Buddha s Brain smxngphuthth ody dr rikh aehnsn thiphimphinpi kh s 2009 21 dr aehnsnphuepnnkwicythangprasathwithyasastr idxthibayihphuxanfngekiywkbngansuksathangwithyasastr inphasathiekhaicidngay aelapraoychnthixaccaidcakphlnganwicy khxkhwamhlkkhxng dr aehnsnkkhux xarmnechingbwk echnkhwamrk samarthephimkalngodykarecriykrrmthan sungcaepliynsphaphthangsmxng odyxangnganwicyepnohl ephuxsnbsnunkhwamkhidni 21 aetmummxngni epntwaethnhnungkhxngkhbwnkaryxdniyminsngkhmchawtawntkpccubn thicasuksaaelaepidxkrbhlkkhwamkhidkhxngchawtawnxxkbangxyang rwmthngkarecriykrrmthandwy khxotaeyng aekikh phuthiimehndwy echn nkprasathchiwwithya dr oxewn aeflenaekn khxngmhawithyalyduk echuxwa dr aehnsn aelankekhiynxun inaenwediywkn phudekinelyphlthiidcakngansuksathangwithyasastr txngkarxangxing inhnngsux Bodhisattva s Brain Buddhism Naturalized smxngphraophthistw hlkphuththxthibaytamthrrmchati dr aeflenaeknaesdngmummxngthiekhrngkhrdkwa cakphlthiidcakngansuksawithyasastrpccubn aelwetuxnphuxanimihtunetnekinkhwamcring ephraaphlngansuksaerw ni 22 khuxekhaimechuxwa phlnganwithyasastrsnbsnunkhwamkhidwa xarmnechingbwksamarththaihmikalngkhun inthanxngediywkbthiphupwyorkhhlxdeluxdsmxng samarthklbmaichaekhnkhaidxikthafukich 22 dr aeflenaeknkhidwa karecriykrrmthannacamipraoychnbangxyang aetwa klikaelakrabwnkarthikarecriykrrmthanmiphltxsmxng yngepneruxngthiimchdecn 22 thng dr aeflenaekn aela dr aehnsn ichphlnganwithyasastrediywkn ephuxcasnbsnunmummxngkhxngtn aetnkekhiynaemthngsxnglwnaetchikhwamcaepnaelakhwamsakhy inkarthanganwicytx ipephuxsuksaeruxngkarecriykrrmthanduephim aekikhklikthangprasathkhxngstikrrmthan karwicykarecriykrrmthanechingxrrth aekikh sphthxngkvswa meditation mikhwamhmayhlayxyang rwmthng smathi karekhasmathi 1 karthasmathi 2 karecriychanaelawipssnathngsxngsamarthaeplepn meditation 3 hnngsuxphuththelmxun kaeplxyangkwang echnniehmuxnkn cungichkhawa karecriykrrmthanxangxing aekikh meditation sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 1 smathi karekhasmathi 2 karraphungthrrm meditation Lexitron phcnanukrmithy lt gt xngkvs run 2 6 hnwyptibtikarwicywithyakarmnusyphasa sunyethkhonolyixielkthrxniksaelakhxmphiwetxraehngchati sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati krathrwngwithyasastraelaethkhonolyi 2546 N karthasmathi Check date values in year help phraphrhmkhunaphrn p x pyut ot phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm ISBN 974 8357 89 9 Mizuno Kogen 1972 Essentials of Buddhism Tokyo Kosei Publishing Company Ahir D C 1999 Vipassana A Universal Buddhist Meditation Technique New Delhi Sri Satguru Publications Kabat Zinn Jon 1998 Wherever You Go There You Are Mindfulness Meditation in Everyday Life New York Hyperion 7 0 7 1 7 2 7 3 Cahn BR Polich J 2006 Meditation states and traits EEG ERP and neuroimaging studies PDF Psychological Bulletin 132 2 180 211 doi 10 1037 0033 2909 132 2 180 PMID 16536641 CS1 maint multiple names authors list link 8 0 8 1 Kasamatsu KH Hirai T 1966 An electroencephalographic study on the zen meditation Zazen Folia Psychiatrica et Neurologica Japonica 20 4 315 336 doi 10 1111 j 1440 1819 1966 tb02646 x PMID 6013341 CS1 maint multiple names authors list link 9 0 9 1 Chiesa A Serretti A 2010 A systematic review of neurobiological and clinical features of mindfulness meditations Psychological Medicine 40 8 1239 1252 doi 10 1017 S0033291709991747 PMID 19941676 CS1 maint multiple names authors list link Holzel BK Ott U Hempel H Hackl A Wolf K Stark R Vaitl D 2007 Differential engagement of anterior cingulate and adjacent medial frontal cortex in adept meditators and non meditators Neuroscience Letters 421 16 21 doi 10 1016 j neulet 2007 04 074 CS1 maint multiple names authors list link Pagnoni G Cekic M Guo Y 2008 Thinking about not thinking neural correlates of conceptual processing during Zen meditation PLoS ONE 3 e3083 doi 10 1371 journal pone 0003083 CS1 maint multiple names authors list link 12 0 12 1 Lutz A Brefczynski Lewis J Johnstone T Davidson RJ 2008 Regulation of the Neural Circuitry of Emotion by Compassion Meditation Effects of Meditative Expertise PDF PLoS ONE 3 3 e1897 doi 10 1371 journal pone 0001897 PMC 2267490 PMID 18365029 subkhnemux 2011 09 06 CS1 maint multiple names authors list link Stigsby B Rodenberg JC Moth HB 1981 Electroencephalographic findings during mantra meditation transcendental meditation A controlled quantitative study of experienced meditators Electroencephalography and Clinical Neurophysiology 51 434 442 doi 10 1016 0013 4694 81 90107 3 CS1 maint multiple names authors list link Becker DE Shapiro D 1981 Physiological responses to clicks during Zen yoga and TM meditation Psychophysiology 18 694 699 doi 10 1111 j 1469 8986 1981 tb01846 x CS1 maint multiple names authors list link Andersen J 2000 Meditation meets behavioural medicine The story of experimental research on meditation Journal of Consciousness Studies 7 17 73 16 0 16 1 16 2 16 3 Fox Kieran C R Nijeboer Savannah Dixon Matthew L Floman James L Ellamil Melissa Rumak Samuel P Sedlmeier Peter Christoff Kalina 2014 06 Is meditation associated with altered brain structure A systematic review and meta analysis of morphometric neuroimaging in meditation practitioners Neuroscience amp Biobehavioral Reviews 43 48 73 doi 10 1016 j neubiorev 2014 03 016 Check date values in date help Pagnoni G Cekic M 2007 Age effects on gray matter volume and attentional performance in Zen meditation Neurobiology of Aging 28 10 1623 1627 doi 10 1016 j neurobiolaging 2007 06 008 PMID 17655980 CS1 maint multiple names authors list link Grant J A Rainville P 2009 01 05 Pain Sensitivity and Analgesic Effects of Mindful States in Zen Meditators A Cross Sectional Study Psychosomatic Medicine 71 1 106 114 doi 10 1097 psy 0b013e31818f52ee Grant Joshua A Courtemanche Jerome Rainville Pierre 2011 01 A non elaborative mental stance and decoupling of executive and pain related cortices predicts low pain sensitivity in Zen meditators Pain 152 1 150 156 doi 10 1016 j pain 2010 10 006 Check date values in date help Jang Joon Hwan Jung Wi Hoon Kang Do Hyung Byun Min Soo Kwon Soo Jin Choi Chi Hoon Kwon Jun Soo 2010 Increased default mode network connectivity associated with meditation Neuroscience Letters 487 3 358 362 doi 10 1016 j neulet 2010 10 056 21 0 21 1 Hanson Rick 2009 Buddha s Brain The Practical Neuroscience of Happiness Love and Wisdom Oakland CA New Harbinger Publication INC ISBN 978 1572246959 22 0 22 1 22 2 Flanagan Owen 2011 Bodhisattva s Brain Buddhism Naturalized Cambridge MA The MIT Press ISBN 978 0262016049 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karthanganinsmxngkbkarekhasmathi amp oldid 9223250, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม