fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาทาจิก

ภาษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik; ,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī ตอเจะกี [tɔːdʒɪˈkiː]) ,тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน

ภาษาทาจิก
Тоҷикӣ, Tojikí ตอเจะกี, تاجیکی
ประเทศที่มีการพูดทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน ปากีสถาน
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรซีริลลิก, อักษรละติน, อักษรอาหรับเปอร์เซีย
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการทาจิกิสถาน
รหัสภาษา
ISO 639-1tg
ISO 639-2tgk
ISO 639-3tgk

ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง

ประวัติ

ภาษาทาจิกสืบมาจากภาษาเปอร์เซีย และมีลักษณะใกล้เคียงกันมากจนบางคนถือว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเปอร์เซีย ตามประวัติศาสตร์นั้นถือว่าเป็นภาษาถิ่นภาษาหนึ่งของภาษาเปอร์เซียที่พูดโดยชนพื้นเมืองชาวทาจิกในเอเชียกลาง ครั้นเมื่อสหภาพโซเวียตบังคับให้ใช้อักษรละตินในปี พ.ศ. 2471 และอักษรซีริลลิกในเวลาต่อมา ภาษาทาจิกจึงถือเป็นอีกภาษาหนึ่งต่างหากในทาจิกิสถาน ทั้งนี้ส่วนหนึ่งก็ด้วยเหตุผลทางการเมือง (ส่วนในอัฟกานิสถาน ชาวทาจิกยังคงใช้อักษรอาหรับต่อไป) ภาษามีความแตกต่างจากภาษาเปอร์เซียที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานและประเทศอิหร่านไปบ้าง เนื่องจากเขตแดนทางการเมืองและอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดีเอกสารที่เขียนภาษาทาจิกเขียนสามารถอ่านเข้าใจโดยชาวอัฟกันหรืออิหร่านที่พูดภาษาเปอร์เซีย และในทางกลับกันด้วย นักเขียนที่มีชื่อเสียง เช่น โอมาร์ คัยยัม (Omar Khayyam) ฟีร์เดาซี (Firdausi) และอาลี ชีร์ นาไว (Ali Shir Navai) ยืนยันว่าทั้งสองภาษามีต้นกำเนิดร่วมกัน

ภาษาเปอร์เซียยุคใหม่พัฒนาขึ้นในทรานโซเซียนาและโคราซาน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอัฟกานิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ภาษาเหล่านี้เป็นลูกหลานของภาษาเปอร์เซียยุคกลาง และได้รับอิทธิพลจากภาษากลุ่มอิหร่านโบราณในเอเชียกลาง เช่น ภาษาซอกเดีย

หลังจากการรุกรานของชาวอาหรับเข้าสู่อิหร่านและเอเชียกลางในพุทธศตวรรษที่ 13 ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษาสำคัญในพุทธศตวรรษที่ 14 ซึ่งเป็นยุคของราชวงศ์ซามานิดส์ ภาษาเปอร์เซียยุคใหม่ได้พัฒนาขึ้นมาในช่วงนี้และกลายเป็นภาษากลางแทนภาษาอาหรับ แต่อิทธิพลของภาษาอาหรับยังคงอยู่ เช่น อักษรอาหรับแบบเปอร์เซียและมีคำยืมจากภาษาอาหรับจำนวนมาก

ภาษาเปอร์เซียยุคใหม่กลายเป็นภาษากลางในเอเชียกลางหลายประเทศและเข้าไปแทนที่ภาษาอื่น เช่น ภาษาชะกะไต ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ภาษาทาจิกที่เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาเปอร์เซียสมัยใหม่ ได้รับอิทธิพลจากภาษาเพื่อนบ้าน ได้แก่ภาษากลุ่มเตอร์กิก โดยเฉพาะภาษาอุซเบกมากขึ้น ภาษาอุซเบกเข้ามาแพร่กระจายในพื้นที่อุซเบกิสถานและบริเวณอื่นๆในเอเชียกลาง และเข้ามาแทนที่ภาษาทาจิก จนบางบริเวณ ไม่มีผู้พูดภาษาทาจิกเหลืออยู่อีกเลย

การเกิดสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิกิสถาน เมื่อ พ.ศ. 2472 ทำให้ภาษาทาจิกเป็นภาษาราชการของรัฐร่วมกับภาษารัสเซีย มีการอพยพผู้พูดภาษาทาจิกจากสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกิสถานมาสู่ทาจิกิสถาน หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 รัฐบาลทาจิกิสถานได้สนับสนุนให้ใช้ภาษาทาจิกมากยิ่งขึ้น

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

เมืองที่สำคัญของผู้พูดภาษาทาจิกในประวัติศาสตร์คือซามาร์คันท์และบูคาราซึ่งในปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถาน ในอุซเบกิสถานนั้น นอกจากจะมีผู้พูดภาษาทาจิกมากในบริเวณทั้งสองนี้แล้ว ยังมีในจังหวัดซูร์ซอนดาร์โยทางใต้และตามแนวชายแดนที่ติดกับทาจิกิสถาน

ในสมัยที่ปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ ชาวทาจิกไม่ได้รับการรับรองในอุซเบกิสถาน พวกเขาต้องเลือกระหว่างอยู่ในอุซเบกิสถานและลงทะเบียนเป็นชาวอุซเบก หรือเลือกเป็นชาวทาจิกและถูกย้ายไปอยู่ทาจิกิสถาน . ในทาจิกิสถานนั้น ประชากร 80% พูดภาษาทาจิก ผู้พูดภาษาทาจิกในบาดักซานซึ่งมีภาษากลุ่มปาร์มีเป็นภาษาหลักจะพูดได้สองภาษา นอกจากนั้นยังพบมากทางภาคเหนือของของอัฟกานิสถานและในเมืองสำคัญเช่น คาบูล คุนดุชและเฮรัต ซึ่งภาษาทาจิกในอัฟกานิสถานเขียนด้วยอักษรอาหรับ-เปอร์เซีย และเรียกว่าภาษาดารีเปอร์เซีย นอกจากนี้มีผู้พูดภาษาทาจิกในรัสเซีย คาซัคสถานและที่อื่นๆ

ในประเทศจีน ภาษทาจิกไม่มีรูปเขียนอย่างเป็นทางการ ชาวจีนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่ ที่จริงแล้วพูดภาษาซาริโกลี หรือซาริโคลี (Sariqul, Sariköli) ซึ่งแม้ว่าจะเรียกว่าภาษาทาจิก ก็ไม่ได้สัมพันธ์ใกล้เคียงกับ ภาษาทาจิก มากกว่าภาษากลุ่มปามีร์ (Pamir languages) และใช้ภาษาอุยกูร์ และภาษาจีนเพื่อติดต่อกับคนชนชาติอื่น ๆ ในพื้นที่

สำเนียง

สำเนียงของภาษาทาจิกแบ่งได้เป็น

  • สำเนียงเหนือ อยู่ทางใต้ของอุซเบกิสถานและคีร์กิซสถาน
  • สำเนียงกลาง อยู่ในอายนี มัสต์โย อิสซอร์ และบางส่วนของวาร์ซอบ
  • สำเนียงใต้ ได้แก่สำเนียงของบาดักซาน และอื่นๆ
  • สำเนียงตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่สำเนียงในปันจ์และดาร์วอซ

สำเนียงที่ใช้โดยชาวยิวบูคาเรียเรียกภาษาบูโครี จัดอยู่ในสำเนียงเหนือ มีศัพท์ภาษาฮีบรูปนเข้ามาและเคยเขียนด้วยอักษรฮีบรู ซึ่งถ้าตัดส่วนที่มาจากภาษาฮีบรูออกไป ผู้พูดภาษาบูโครีจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดสำเนียงเหนืออื่นๆ

ไวยากรณ์

การเรียงลำดับในประโยคภาษาทาจิกเป็นประธาน-กรรม-กริยา.

นาม

ไม่มีเครื่องหมายแสดงเพศ แต่แสดงจำนวน การแสดงเพศมักเป็นการเปลี่ยนรูปคำ เช่น мурғ (murgh) 'นก' and хурус (khurus) 'นกตัวผู้'หรือการเติมตัวช่วย 'нар' (nar) สำหรับผู้ชายหรือ 'мода' (moda) สำหรับผู้หญิง ต่อท้ายคำนาม เช่น хари нар (xari nar) 'ลาตัวผู้' และ хари мода (xari moda) 'ลาตัวเมีย'

จำนวนมีเฉพาะเอกพจน์กับพหูพจน์ รูปพหูพจน์แสดงโดยปัจจัย –ҳо หรือ –он แต่คำยืมจากภาษาอาหรับจะใช้รูปแบบของภาษาอาหรับ ไม่มีคำนำหน้านามชี้เฉพาะ แต่มีคำนำหน้านามแบบไม่ชี้เฉพาะที่ตำแหน่งแรกก่อนคำนาม และต่อท้ายนามในรูปปัจจัย

คำศัพท์

ภาษาทาจิกมีลักษณะอนุรักษนิยมทางด้านคำศัพท์ คำศัพท์ใหม่ๆในภาษาทาจิกมาจากภาษารัสเซีย ซึ่งเป็นผลจากการที่ทาจิกิสถานเคยรวมอยู่ในสหภาพโซเวียตมาก่อน คำศัพท์บางส่วนมาจากภาษาอุซเบกที่อยู่ใกล้เคียงและภาษาอาหรับผ่านทางศาสนาอิสลาม ตั้งแต่พ.ศ. 2523 มีความพยายามแทนที่คำยืมด้วยคำดั้งเดิมในภาษา รวมทั้งสร้างคำใหม่จากคำดั้งเดิมนั้น

ระบบการเขียน

ในอัฟกานิสถาน ภาษาทาจิกเขียนด้วยอักษรอาหรับแบบเปอร์เซีย ในทาจิกิสถานและประเทศอื่นๆที่เคยอยู่ในสหภาพโซเวียตเขียนด้วยอักษรซีริลลิก โดยที่เคยเขียนด้วยอักษรอาหรับมาก่อนเช่นกัน ในทาจิกิสถานนั้น เคยใช้อักษรละตินใน พ.ศ. 2471 และเปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกใน พ.ศ. 2474 ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 เริ่มมีผู้เสนอให้กลับมาใช้อักษรอาหรับแบบเปอร์เซียอีก

อ้างอิง

  1. Lazard, G. 1989
  2. Rahim Masov, The History of the Clumsy Delimitation, Irfon Publ. House, Dushanbe, 1991 (รัสเซีย). English translation: The History of a National Catastrophe, transl. Iraj Bashiri, 1996.
  3. Perry, J. R. 2005
  4. "Tajikistan may consider using Persian script when the conditions are met", interview of Tajikistan's Deputy Culture Minister with Iranian News Agency, 2 May 2008.
  • Ido, S. (2005) Tajik ISBN 3-89586-316-5
  • Korotow, M. (2004) Tadschikisch Wort für Wort. Kauderwelsch ISBN 3-89416-347-X
  • Lazard, G. (1956) "Caractères distinctifs de la langue tadjik". Bulletin de la Société Linguistique de Paris. 52. pp. 117--186
  • Lazard, G. "Le Persan". Compendium Linguarum Iranicarum. Wiesbaden. 1989.
  • Windfuhr, G. (1987) in Comrie, B. (ed.) "Persian". The World's Major Languages. pp. 523--546
  • Perry, J. R. (2005) A Tajik Persian Reference Grammar (Boston : Brill) ISBN 90-04-14323-8
  • Rastorgueva, V. (1963) A Short Sketch of Tajik Grammar (Netherlands : Mouton) ISBN 0-933070-28-4

แหล่งข้อมูลอื่น

  • A Worldwide Community for Tajiks
  • Ethnologue report for Tajik
  • BBC news in Tajik


วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาทาจิก

ภาษาทาจ, tajik, persian, หร, tajik, language, หร, tajiki, tadjik, หร, tadzhik, กษรอาหร, บเปอร, เซ, تاجیکی, tojikī, ตอเจะก, tɔːdʒɪˈkiː, тоҷикӣ, เป, นร, ปแบบสม, ยใหม, แบบหน, งของภาษาเปอร, เซ, ดในเอเช, ยกลาง, เป, นภาษาตระก, ลอ, นโด, โรเป, ยน, ใน, กล, มภาษาอ, เรเน. phasathacik Tajik Persian hrux Tajik language hrux Tajiki Tadjik hrux Tadzhik xksrxahrbepxresiy تاجیکی tojiki txecaki tɔːdʒɪˈkiː toҷikӣ epnrupaebbsmyihmaebbhnungkhxngphasaepxresiy thiphudinexechiyklang epnphasatrakulxinod yuorepiyn in klumphasaxiereniyn khnthiphudphasathacikswnihyxasyinpraethsthacikisthan praethsxusebkisthan praethsxfkanisthan aelatawntkkhxngpakisthan aetphuphudphasathacikpraman 30 000 khn iklchayaednpraethsthacikisthaninpraethscin epnphasarachkarkhxngpraethsthacikisthanphasathacikToҷikӣ Tojiki txecaki تاجیکیpraethsthimikarphudthacikisthan praethsxusebkisthan praethsxfkanisthan pakisthantrakulphasaxinod yuorepiyn phasaklumxinod xiereniynphasaklumxihranphasathacikrabbkarekhiynxksrsirillik xksrlatin xksrxahrbepxresiysthanphaphthangkarphasathangkarthacikisthanrhsphasaISO 639 1tgISO 639 2tgkISO 639 3tgkphasathacik thiepnphasarachkarkhxngthacikisthan tangcakphasaepxresiythiichphudinxihranaelaxfkanisthan sungepnphlmacakkaraebngaeykdinaednthangkaremuxng karaebngaeykthangphumisastraelakarcdmatrthanthangphasa rwmthngxiththiphlkhxngphasarsesiyaelaphasaklumetxrkikthixyurxb matrthankhxngphasaniyudtamsaeniyngtawntkechiyngehnuxkhxngthacikisthansungepnemuxngekakhxngsamarkhnth aelaidrbxiththiphlcakphasaxusebkdwy phasathacikmihnwykhainkhasphth karxxkesiyngaelaiwyakrnsungimmiinphasaepxresiythiphudinthixun sungnacaepnmacakkarthithukaebngaeykodyphumisastrekhtethuxkekhakhxngexechiyklang enuxha 1 prawti 2 karaephrkracaythangphumisastr 3 saeniyng 4 iwyakrn 4 1 nam 5 khasphth 6 rabbkarekhiyn 7 xangxing 8 aehlngkhxmulxunprawti aekikhphasathaciksubmacakphasaepxresiy 1 aelamilksnaiklekhiyngknmakcnbangkhnthuxwaepnphasathinkhxngphasaepxresiy tamprawtisastrnnthuxwaepnphasathinphasahnungkhxngphasaepxresiythiphudodychnphunemuxngchawthacikinexechiyklang khrnemuxshphaphosewiytbngkhbihichxksrlatininpi ph s 2471 aelaxksrsirillikinewlatxma phasathacikcungthuxepnxikphasahnungtanghakinthacikisthan thngniswnhnungkdwyehtuphlthangkaremuxng swninxfkanisthan chawthacikyngkhngichxksrxahrbtxip phasamikhwamaetktangcakphasaepxresiythiphudinpraethsxfkanisthanaelapraethsxihranipbang enuxngcakekhtaednthangkaremuxngaelaxiththiphlkhxngphasarsesiy xyangirkdiexksarthiekhiynphasathacikekhiynsamarthxanekhaicodychawxfknhruxxihranthiphudphasaepxresiy aelainthangklbkndwy nkekhiynthimichuxesiyng echn oxmar khyym Omar Khayyam firedasi Firdausi aelaxali chir naiw Ali Shir Navai yunynwathngsxngphasamitnkaenidrwmknphasaepxresiyyukhihmphthnakhuninthranosesiynaaelaokhrasan sungpccubnxyuinxfkanisthan xusebkisthan aelathacikisthan phasaehlaniepnlukhlankhxngphasaepxresiyyukhklang aelaidrbxiththiphlcakphasaklumxihranobraninexechiyklang echn phasasxkediyhlngcakkarrukrankhxngchawxahrbekhasuxihranaelaexechiyklanginphuththstwrrsthi 13 phasaxahrbekhamaepnphasasakhyinphuththstwrrsthi 14 sungepnyukhkhxngrachwngssamanids phasaepxresiyyukhihmidphthnakhunmainchwngniaelaklayepnphasaklangaethnphasaxahrb aetxiththiphlkhxngphasaxahrbyngkhngxyu echn xksrxahrbaebbepxresiyaelamikhayumcakphasaxahrbcanwnmakphasaepxresiyyukhihmklayepnphasaklanginexechiyklanghlaypraethsaelaekhaipaethnthiphasaxun echn phasachakait tngaetphuththstwrrsthi 21 phasathacikthiepnsaeniynghnungkhxngphasaepxresiysmyihm idrbxiththiphlcakphasaephuxnban idaekphasaklumetxrkik odyechphaaphasaxusebkmakkhun phasaxusebkekhamaaephrkracayinphunthixusebkisthanaelabriewnxuninexechiyklang aelaekhamaaethnthiphasathacik cnbangbriewn immiphuphudphasathacikehluxxyuxikelykarekidsatharnrthsngkhmniymosewiytthacikisthan emux ph s 2472 thaihphasathacikepnphasarachkarkhxngrthrwmkbphasarsesiy mikarxphyphphuphudphasathacikcaksatharnrthsngkhmniymosewiytxusebkisthanmasuthacikisthan hlngcakkarlmslaykhxngshphaphosewiytin ph s 2534 rthbalthacikisthanidsnbsnunihichphasathacikmakyingkhunkaraephrkracaythangphumisastr aekikhemuxngthisakhykhxngphuphudphasathacikinprawtisastrkhuxsamarkhnthaelabukharasunginpccubnxyuinxusebkisthan inxusebkisthannn nxkcakcamiphuphudphasathacikmakinbriewnthngsxngniaelw yngmiincnghwdsursxndaroythangitaelatamaenwchayaednthitidkbthacikisthaninsmythipkkhrxngodyphrrkhkhxmmiwnist chawthacikimidrbkarrbrxnginxusebkisthan phwkekhatxngeluxkrahwangxyuinxusebkisthanaelalngthaebiynepnchawxusebk hruxeluxkepnchawthacikaelathukyayipxyuthacikisthan 2 inthacikisthannn prachakr 80 phudphasathacik phuphudphasathacikinbadksansungmiphasaklumparmiepnphasahlkcaphudidsxngphasa nxkcaknnyngphbmakthangphakhehnuxkhxngkhxngxfkanisthanaelainemuxngsakhyechn khabul khunduchaelaehrt sungphasathacikinxfkanisthanekhiyndwyxksrxahrb epxresiy aelaeriykwaphasadariepxresiy nxkcaknimiphuphudphasathacikinrsesiy khaskhsthanaelathixuninpraethscin phasthacikimmirupekhiynxyangepnthangkar chawcinthiphudphasathacikswnihy thicringaelwphudphasasariokli hruxsariokhli Sariqul Sarikoli sungaemwacaeriykwaphasathacik kimidsmphnthiklekhiyngkb phasathacik makkwaphasaklumpamir Pamir languages aelaichphasaxuykur aelaphasacinephuxtidtxkbkhnchnchatixun inphunthisaeniyng aekikhsaeniyngkhxngphasathacikaebngidepn saeniyngehnux xyuthangitkhxngxusebkisthanaelakhirkissthan saeniyngklang xyuinxayni mstoy xissxr aelabangswnkhxngwarsxb saeniyngit idaeksaeniyngkhxngbadksan aelaxun saeniyngtawnxxkechiyngit idaeksaeniynginpncaeladarwxssaeniyngthiichodychawyiwbukhaeriyeriykphasabuokhri cdxyuinsaeniyngehnux misphthphasahibrupnekhamaaelaekhyekhiyndwyxksrhibru sungthatdswnthimacakphasahibruxxkip phuphudphasabuokhricaekhaicknidkbphuphudsaeniyngehnuxxuniwyakrn aekikhkareriyngladbinpraoykhphasathacikepnprathan krrm kriya 3 nam aekikh immiekhruxnghmayaesdngephs aetaesdngcanwn karaesdngephsmkepnkarepliynrupkha echn murg murgh nk and hurus khurus nktwphu hruxkaretimtwchwy nar nar sahrbphuchayhrux moda moda sahrbphuhying txthaykhanam echn hari nar xari nar latwphu aela hari moda xari moda latwemiy canwnmiechphaaexkphcnkbphhuphcn rupphhuphcnaesdngodypccy ҳo hrux on aetkhayumcakphasaxahrbcaichrupaebbkhxngphasaxahrb immikhanahnanamchiechphaa aetmikhanahnanamaebbimchiechphaathitaaehnngaerkkxnkhanam aelatxthaynaminruppccykhasphth aekikhphasathacikmilksnaxnurksniymthangdankhasphth khasphthihminphasathacikmacakphasarsesiy sungepnphlcakkarthithacikisthanekhyrwmxyuinshphaphosewiytmakxn khasphthbangswnmacakphasaxusebkthixyuiklekhiyngaelaphasaxahrbphanthangsasnaxislam tngaetph s 2523 mikhwamphyayamaethnthikhayumdwykhadngediminphasa rwmthngsrangkhaihmcakkhadngedimnnrabbkarekhiyn aekikhinxfkanisthan phasathacikekhiyndwyxksrxahrbaebbepxresiy inthacikisthanaelapraethsxunthiekhyxyuinshphaphosewiytekhiyndwyxksrsirillik odythiekhyekhiyndwyxksrxahrbmakxnechnkn inthacikisthannn ekhyichxksrlatinin ph s 2471 aelaepliynmaichxksrsirillikin ph s 2474 tngaet ph s 2551 erimmiphuesnxihklbmaichxksrxahrbaebbepxresiyxik 4 xangxing aekikh Lazard G 1989 Rahim Masov The History of the Clumsy Delimitation Irfon Publ House Dushanbe 1991 rsesiy English translation The History of a National Catastrophe transl Iraj Bashiri 1996 Perry J R 2005 Tajikistan may consider using Persian script when the conditions are met interview of Tajikistan s Deputy Culture Minister with Iranian News Agency 2 May 2008 Ido S 2005 Tajik ISBN 3 89586 316 5 Korotow M 2004 Tadschikisch Wort fur Wort Kauderwelsch ISBN 3 89416 347 X Lazard G 1956 Caracteres distinctifs de la langue tadjik Bulletin de la Societe Linguistique de Paris 52 pp 117 186 Lazard G Le Persan Compendium Linguarum Iranicarum Wiesbaden 1989 Windfuhr G 1987 in Comrie B ed Persian The World s Major Languages pp 523 546 Perry J R 2005 A Tajik Persian Reference Grammar Boston Brill ISBN 90 04 14323 8 Rastorgueva V 1963 A Short Sketch of Tajik Grammar Netherlands Mouton ISBN 0 933070 28 4aehlngkhxmulxun aekikhA Worldwide Community for Tajiks Ethnologue report for Tajik BBC news in Tajik wikiphiediy saranukrmesri inphasathacikekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasathacik amp oldid 9347880, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม