fbpx
วิกิพีเดีย

รายชื่อฮอร์โมนในมนุษย์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อฮอร์โมนที่พบใน Homo sapiens การสะกดชื่อฮอร์โมนบางตัวในภาษาอังกฤษอาจไม่เป็นแบบแผนเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ในเขตอเมริกาเหนือและทั่วโลกใช้ estrogen, gonadotropin ในขณะที่การสะกดแบบบริติชยังคงรูปทวิอักษรแบบกรีกไว้ใน oestrogen และนิยมการสะกดแบบเก่าของ gonadotrophin (จาก trophē 'สารอาหาร, ปัจจัยยังชีพ' แทนที่จะเป็น tropē 'กลับกลาย, เปลี่ยนแปลง')

รายชื่อฮอร์โมน

SN ชื่อ อักษรย่อ ชนิด เนื้อเยื่อ เซลล์ ตัวรับ เนื้อเยื่อเป้าหมาย ส่งผลต่อ
1 อะดรีนาลีน/เอพิเนฟรีน EPI อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไตส่วนใน / ไทโรซีน แอดรีเนอจิกรีเซพเตอร์ เนื้อเยื่อเกือบทุกชนิด ความดันเลือด, การสลายไกลโคเจน, การย่อยไขมัน, ฯลฯ
2 เมลาโทนิน MT อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมไพเนียล ไพเนียลโลไซต์ / ทริปโทแฟน เมลาโทนินรีเซพเตอร์ ระบบประสาทส่วนกลางและเนื้อเยื่อส่วนปลาย นาฬิกาชีวภาพ
3 นอร์อะดรีนาลีน

(หรือ นอร์เอพิเนฟรีน)

NE อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไตส่วนใน / ไทโรซีน นอร์อะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์ เนื้อเยื่อเกือบทุกชนิด ความดันเลือด, การสลายไกลโคเจน, การสลายไขมัน, ฯลฯ
4 ไตรไอโอโดไทโรนีน T3 อนุพันธ์ของกรดอะมิโน เนื้อเยื่อส่วนปลายของต่อมไทรอยด์ ไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เซลล์ / ไทโรซีน ไทรอยด์ฮอร์โมนรีเซพเตอร์ เกือบทุกเซลล์ในร่างกาย เพิ่มเมแทบอลิซึม
5 ไทร็อกซีน T4 อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมไทรอยด์ ไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เซลล์ / ไทโรซีน ไทรอยด์ฮอร์โมนรีเซพเตอร์ เกือบทุกเซลล์ใร่างกาย มีผลใกล้เคียงกับ T3 แต่ออกฤทธิ์อ่อนกว่า; ถูกเซลล์เป้าหมายเปลี่ยนไปเป็น T3
6 โดพามีน DA อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ซับสแตนเชียไนกรา (ส่วนใหญ่) ฟีนิลอะลานีน / ไทโรซีน D1 และ D2 ทั่วทั้งร่างกาย รักษาระดับของ cAMP ในเซลล์, ทำงานตรงกันข้ามกับโพรแลกทิน
1 พรอสตาแกลนดิน PG ไอโคซานอยด์ ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ พรอสตาแกลนดินรีเซพเตอร์ การขยายหลอดเลือด
2 ลิวโคไตรอีน LT ไอโคซานอยด์ เลือด เม็ดเลือดขาว หน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน เพิ่มสภาพให้ซึมผ่านได้ของหลอดเลือด
3 พรอสตาไซคลิน PGI2 ไอโคซานอยด์ พรอสตาไซคลินรีเซพเตอร์ การขยายหลอดเลือด, ยับยั้งตัวกระตุ้นเกล็ดเลือด
4 ทรอมบ็อกเซน TXA2 ไอโคซานอยด์ เลือด เกล็ดเลือด ทรอมบ็อกเซนรีเซพเตอร์ การบีบหลอดเลือด, การรวมกลุ่มของเกล็ดเลือด
1 อะไมลิน

(หรือ ไอส์เลตอะไมลอยด์โพลิเพปไทด์)

IAPP เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์บีตาในตับอ่อน อะไมลินรีเซพเตอร์ ชะลอการทำให้กระเพาะอาหารว่าง, ยับยั้งการหลั่งสารจากระบบทางเดินอาหาร เพื่อลดการรับอาหารเข้าสู่ร่างกาย
2 แอนติมึลเลอเรียนฮอร์โมน

(หรือ มึลเลอเรียนอินฮิบิติงแฟกเตอร์/ฮอร์โมน)

AMH (หรือ MIF, MIH) เพปไทด์ อัณฑะ เซลล์เซอทอไล AMHR2 ยับยั้งการหลั่งโพรแลกทิน และไทโรโทรพิน-รีลีซิงฮอร์โมน จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
3 อะดิโพเนกติน Acrp30 เพปไทด์ เนื้อเยื่อไขมัน อะดิโพเนกตินรีเซพเตอร์ รักษาระดับกลูโคส
4 อะดรีโนคอติโคทรอปิกฮอร์โมน

(หรือ คอร์ติโคโทรปิน)

ACTH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า คอนิโคโทรพ อะดรีโนคอติโคทรอปิกฮอร์โมนรีเซพเตอร์ → cAMP การสังเคราะห์คอติโคสเตอรอยด์ (กลูโคคอติคอยด์และแอนโดรเจน) ของเซลล์ต่อมหมวกไตส่วนนอก
5 แองจิโอเทนซิโนเจน และ

แองจิโอเทนซิน

AGT เพปไทด์ ตับ แองจิโอเทนซินรีเซพเตอร์ → IP3 การบีบหลอดเลือด

การหลั่งอัลโดสเตอร์โรนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก ไดเพปซิน.

6 แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน

(หรือ วาโซเพรสซิน, อาร์จินีนวาโซเพรสซิน)

ADH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหลัง พาร์โวเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีเซลล์ในไฮโพทาลามัส
แมกโนเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
AVPRs, VACM-1 การสงวนน้ำที่ไต
ควบคุมการบีบหลอดเลือด
การหลั่ง ACTH ที่ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
7 เอเทรียลเนทริยูเรติกเพปไทด์

(หรือ เอทริโอเพปทิน)

ANP เพปไทด์ หัวใจ ANP รีเซพเตอร์ → cGMP เพิ่มการหลั่งโซเดียมและ GFR , ต้านการหดตัวของหลอดเลือดดำ, ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนเรนิน
8 เบรนเนทริยูเรติกเพปไทด์ BNP เพปไทด์ หัวใจ[ไม่แน่ใจ] เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ NPR ลดความดันเลือด (แต่ในระดับที่อ่อนกว่า ANP) โดยการ:

ลดการหมุนเวียนเลือดและแรงต้านของหลอดเลือด ลดน้ำ โซเดียม และไขมันในเลือด

9 แคลซิโทนิน CT เพปไทด์ ต่อมไทรอยด์ เซลล์พาราฟอลลิคูลาร์ CT รีเซพเตอร์ → cAMP การสร้างกระดูก, ลดระดับ Ca2+ ในเลือด
10 โคเลซิสโตไคนิน CCK เพปไทด์ ดูโอดีนัม CCK รีเซพเตอร์ การหลั่งเอนไซม์ย่อยอาหารจากตับอ่อน
การหลั่งน้ำดีจากถุงน้ำดี
ระงับความอยากอาหาร
11 คอร์ติโคโทรพิน-รีลิสซิงฮอร์โมน CRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส CRF1 → cAMP การหลั่ง ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
12 คอร์ทิสแตติน CORT เพปไทด์ เปลือกสมอง เซลล์ประสาทยับยั้ง โซมาโตสแตตินรีเซพเตอร์ กดกิจกรรมทางระบบประสาท; เหนี่ยวนำการหลับแบบ slow wave; ลดการเคลื่อนไหวร่างกาย; กระตุ้น cation selective current ที่นอกเหนือการทำงานของโซมาโตสแตติน
13 เองเคฟาลิน เพปไทด์ ไต เซลล์โครมาฟฟิน โอพิออยด์รีเซพเตอร์ ความเจ็บปวด
14 เอนโดทีลิน เพปไทด์ เยื่อบุเส้นเลือด เซลล์เอนโดทีเลียม ET รีเซพเตอร์ การหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบในหลอดเลือดขนาดกลาง
15 อิริโทรโพอีทิน EPO เพปไทด์ ไต เซลล์เอกซ์ตราโกลเมอรูลาร์มีแซงเจียล EpoR กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
16 ฟอลลิเคิล-สติมูเลติงฮอร์โมน FSH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โกแนโดโทรพ FSH รีเซพเตอร์ → cAMP ในเพศหญิง: กระตุ้นการเจริญเต็มที่ของกราเฟียนฟอลลิเคิลในรังไข่.

ในเพศชาย: การสร้างสเปิร์ม, เสริมการทำงานของแอนโดรเจน-ไบดิงโปรตีนโดยเซลล์เซอทอไลในอัณฑะ

17 กาลานิน GAL เพปไทด์ ระบบประสาทส่วนกลางและทางเดินอาหาร GALR1, GALR2, และ GALR3 ควบคุมและยับยั้งศักย์ทำงานของเซลล์ประสาท
18 แกสตริอินฮิบิทอรีโพลิเพปไทด์ GIP เพปไทด์ ชั้นมูโคซาของดูโอดีนัมและเจจูนัม เซลล์เค GIPR ชักนำให้เกิดการหลั่งอินซูลิน
19 แกสตริน GAS เพปไทด์ กระเพาะอาหาร, ดูโอดีนัม G cell CCK2 การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารโดยเซลล์พารีทัล
20 กรีลิน เพปไทด์ กระเพาะ P/D1 cell กรีลินรีเซพเตอร์ กระตุ้นความอยากอาหาร,

การหลั่งโกรทฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า

21 กลูคากอน GCG เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์อัลฟา Glucagon receptor → cAMP การสลายไกลโคเจนและการสร้างกลูโคสในตับ

เพิ่มระดับกลูโคสในเลือด

22 กลูคากอนไลก์เพปไทด์-1 GLP1 เพปไทด์ ไอเลียม เซลล์แอล GLP1R, GLP2R เซลล์บีตาในตับอ่อน กระตุ้นวิถีอะดีนิลลิลไซเคลส ได้ผลเป็นการเพิ่มระดับการสร้างและการหลั่งอินซูลิน
23 โกแนโดโทรพินรีลิสซิงฮอร์โมน GnRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส GnRH รีเซพเตอร์ → IP3 การหลั่ง FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า.
24 โกรทฮอร์โมนรีลิสซิงฮอร์โมน GHRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส GHRH รีเซพเตอร์ → IP3 การหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
25 เฮพซิดิน HAMP เพปไทด์ ตับ เฟอโรพอทิน ยับยั้งการส่งธาตุเหล็กออกจากเซลล์
26 ฮิวแมนคอเรียนิกโกแนโดโทรพิน hCG เพปไทด์ รก เซลล์ซินไซทิโอโทรโฟบลาสต์ LH รีเซพเตอร์ → cAMP คงโครงสร้างคอร์พัสลูเทียมไว้ในช่วงแรก ๆ ของการตั้งครรภ์ ยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับตัวอ่อน
27 ฮิวแมนพลาเซนทัลแลกโทเจน HPL เพปไทด์ รก เพิ่มการหลั่ง อินซูลิน และ IGF-1

เพิ่มความต้านทานอินซูลินและการแพ้คาร์โบไฮเดรต

28 โกรทฮอร์โมน GH หรือ hGH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โซมาโทโทรพ GH รีเซพเตอร์ กระตุ้นพัฒนาการ และการสร้างเซลล์

การหลั่ง อินซูลิน-ไลก์โกรทแฟกเตอร์จากตับ

29 อินฮิบิน เพปไทด์ อัณฑะ, รังไข่, ฟีตัส เซลล์เซอร์ทอไลในอัณฑะ
เซลล์แกรนูโลซาในรังไข่
โทรโฟบลาสต์ในฟีตัส
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ยับยั้งการสร้าง FSH
30 อินซูลิน INS เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์บีตา อินซูลินรีเซพเตอร์, IGF-1, IGF-2 การนำเข้ากลูโคสจากเลือดสำหรับการสร้างไกลโคเจนและการสลายไกลโคเจน ที่ตับและกล้ามเนื้อ

การรับเข้าลิพิด และการสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์ในเซลล์ไขมัน Other anabolic effects

31 อินซูลินไลก์โกรทแฟกเตอร์

(หรือ โซมาโทมีดิน)

IGF เพปไทด์ ตับ เซลล์ตับ อินซูลินรีเซปเตอร์, IGF-1 ให้ผลคล้ายอินซูลิน

ควบคุมการเจริญและพัฒนาของเซลล์

32 เลพติน LEP เพปไทด์ เนื้อเยื่อไขมัน LEP-R ลดความอยากอาหาร และเพิ่มเมแทบอลิซึม
33 ลิโพโทรปิน LPH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า คอร์ติโคโทรพ การสลายไขมัน และการสร้างสเตียรอยด์,
กระตุ้นเมลาโนไซต์ใหผลิตเมลานิน
34 ลูทิไนซิงฮอร์โมน LH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โกแนโดโทรพ LHR → cAMP ในเพศหญิง: การตกไข่

ในเพศชาย: กระตุ้นการสร้างเทสทอสเทอโรนของเซลล์เลย์ดิก

35 เมลาโนไซต์สติมูเลติงฮอร์โมน MSH หรือ α-MSH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า/พาส์อินเทอร์มีเดีย เมลาโนทรอฟ เมลาโนคอร์ตินรีเซปเตอร์ → cAMP การสร้างเมลานินโดยเมลาโนไซต์ที่ผิวหนังและเส้นขน
36 โมทิลิน MLN เพปไทด์ ลำไส้เล็ก โมทิลินรีเซพเตอร์ กระตุ้นการทำงานของระบบย่อยอาหาร
37 โอเร็กซิน เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส OX1, OX2 เพิ่มความตื่นตัว การใช้พลังงาน และความอยากอาหาร
38 ออสทีโอแคลซิน OCN เพปไทด์ กระดูก ออสทีโอบลาสต์ Gprc6a กล้ามเนื้อ สมอง ตับอ่อน อัณฑะ สนับสนุนการทำงานของกล้ามเนื้อ, ความจำ, การสังเคราะห์เทสทอสเทอโรนและการใช้พลังงาน
39 ออกซิโทซิน OXT เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหลัง แมกโนเซลลูลาร์นิวโรซิรีทอรีเซลล์ OXT รีเซพเตอร์ → IP3 การหลั่งน้ำนม

กระตุ้นการหดตัวของมดลูกและช่องคลอด เกี่ยวข้องกับความเสียวสุดยอดพางเพศ, ความเชื่อใจ, และรักษานาฬิกาชีวภาพ (อุณหภูมิร่างกาย, ระดับกิจกรรม, ความตื่นตัว)

40 แพนครีเอติกพอลิเพปไทด์ เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์พีพี pancreatic polypeptide receptor 1 ระบบบำรุงรักษาตัวเองของสารที่หลั่งจากตับอ่อน (เอนโดครินและเอกโซคริน) นอกจากนี้ยังมีผลต่อระดับไกลโคเจนในตับและสารที่หลั่งจากทางเดินอาหาร
41 พาราไทรอยด์ฮอร์โมน PTH เพปไทด์ ต่อมพาราไทรอยด์ พาราไทรอยด์ชีฟเซลล์ PTH รีเซพเตอร์ → cAMP เพิ่มระดับ Ca2+:
  • กระตุ้นเซลล์ออสทีโอคลาสต์ทางอ้อม
  • การดูดกลับ Ca2+ ที่ไต
  • กระตุ้นวิตามินดี

ลดระดับฟอสเฟตในเลือด (เล็กน้อย):

  • (ลดการดูดกลับที่ไตแต่เพิ่มการรับจากกระดูก
  • กระตุ้นวิตามินดี)
42 พิทูอิทารีอะดีนิลเลต"ซเคลสแอกทิเวติงเพปไทด์ PACAP เพปไทด์ เนื้อเยื่อหลายชนิด ADCYAP1R1, VIPR1, VIPR2 กระตุ้นเซลล์คล้ายเอนเทอโรโครมาฟฟิน
43 โพรแล็กทิน PRL เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า, มดลูก แลกโททรอฟของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
เซลล์เดซิดวลที่มดลูก
PRL รีเซพเตอร์ การสร้างนมจากต่อมน้ำนม
ความเสียวสุดยอดทางเพศหลังจากมีกิจกรรมทางเพศ
44 โพรแลกทินรีลิสซิงฮอร์โมน PRLH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส การหลั่งโพรแลกทินจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
45 รีแล็กซิน RLN เพปไทด์ คอร์พัสลูเทียม, มดลูก, รก, และต่อมน้ำนม เซลล์เดซิดวล RLN รีเซพเตอร์ ไม่ทราบแน่ชัดในมนุษย์
46 เรนิน เพปไทด์ ไต เซลล์จักซ์ตาโกลเมอรูลาร์ กระตุ้นระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน ด้วยการสร้าง angiotensin I ของแองจิโอเทนซิโนเจน
47 ซิครีทิน SCT เพปไทด์ ดูโอดีนัม เซลล์เอส SCT รีเซพเตอร์ การหลั่งไบคาร์บอเนตจากตับ, ตับอ่อน และต่อมบรุนเนอร์ที่ดูโอดีนัม

เสริมผลของโคเลซิสโทไคนิน หยุดการสร้างน้ำย่อย

48 โซมาโตสแตติน

(หรือ growth hormone–inhibiting hormone หรือ

growth hormone release–inhibiting hormone หรือ

somatotropin release–inhibiting factor หรือ somatotropin release–inhibiting hormone)

GHIH หรือ GHRIH หรือ SRIF หรือ SRIH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส, ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์, ระบบย่อยอาหาร เซลล์เดลตาในไอส์เลต
เซลล์นิวโรเอนโดครินที่พาราเวนทริคูลาร์นิวเคลียสของไฮโพทาลามัส
โซมาโตสแตตินรีเซพเตอร์ ยับยั้งการหลั่ง GH และ TRH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ระงับการหลั่งของฮอร์โมนแกสทริน, โคเลซิสโทไคนิน (CCK), ซิครีทิน, โมทิลิน, วาโซแอกทีฟอินเทสทินัลเพปไทด์ (VIP), แกสตริกอินฮิบิทอรีเพปไทด์ (GIP), เอนเทอโรกลูคากอน ในระบบทางเดินอาหาร
ลดอัตราการทำกระเพาะให้ว่าง

ลดการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบและการไหลของเลือดในลำไส้
ยับยั้งการหลั่งอินซูลินจากเซลล์บีตา
ยับยั้งการหลั่งกลูคากอนจากเซลล์อัลฟา
กดการทำงานแบบเอกโซครินของตับอ่อน.

49 ทรอมโบโพอีทิน TPO เพปไทด์ ตับ, ไต, กล้ามเนื้อลาย เซลล์กล้ามเนื้อ TPO รีเซพเตอร์ เมกะคารีโอไซต์ สร้างเกล็ดเลือด
50 ไทรอยด์-สติมูเลติงฮอร์โมน (หรือ ไทโรโทรพิน) TSH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ไทโรโทรพ ไทโรโทรพินรีเซพเตอร์ → cAMP ต่อมไทรอยด์ การหลั่งไทรอกซีน (T4) และ ไทรไอโอโดไทโรนีน (T3)
51 ไทโรโทรพิน-รีลิสซิงฮอร์โมน TRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส พาร์โวเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีนิวรอน TRHR → IP3 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งไทรอยด์-สติมูเลติงฮอร์โมน (หลัก)
กระตุ้นการหลั่งโพรแลกทิน
52 Vasoactive intestinal peptide VIP เพปไทด์ ลำไส้, ตับอ่อน, and ซูพราไคแอสมาติกนิวคลีไอของไฮโพทาลามัส วาโซแอกทีฟอินเทสทีนัลเพปไทด์รีเซพเตอร์ กระตุ้นความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ, เป็นสาเหตุของการขยายหลอดเลือด, เพิ่มการสลายไกลโคเจน, ลดความดันเส้นเลือดแดง และคลายกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม, กระเพาะอาหารและถุงน้ำดี
53 กัวนิลลิน GN เพปไทด์ ลำไส้ กัวนิลเลตไซเคลส 2C (ฮีทสเตเบิลเอนเทอโรทอกซินรีเซพเตอร์) รักษาระดับ อิเล็กโทรไลต์ และ การขนส่งน้ำ ที่เยื่อบุผิวไต
54 ยูโรกัวนิลลิน UGN เพปไทด์ เนื้อเยื่อไต กัวนิลเลตไซเคลส 2C (ฮีทสเตเบิลเอนเทอโรทอกซินรีเซพเตอร์) รักษาระดับ อิเล็กโทรไลต์ และ การขนส่งน้ำ ที่เยื่อบุผิวไต

สเตอรอยด์

ดูบทความหลักที่: สเตอรอยด์
ชื่อ ชั้นทางเคมี อักษรย่อ เนื้อเยื่อ เซลล์ ตัวรับ เนื่อเยื่อเป้าหมาย ส่งผลต่อ
เทสโทสเตอโรน แอนโดรเจน อัณฑะ, รังไข่ เซลล์เลย์ดิก AR ความรู้สึกทางเพศ, วิถีแอแนบอลิซึม: การเพิ่มมวลและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพิ่มความหนาแน่น ความแข็งแรง และมวลของกระดูก

Virilizing: การเจริญเต็มวัยของอวัยวะเพศ, การก่อตัวของถุงหุ้มอัณฑะ, ความต่ำทุ้มของเสียง, การงอกของขนรักแร้และหนวดเครา

ดีไฮโดรเอพิแอนโดรสเตอโรน แอนโดรเจน DHEA อัณฑะ, รังไข่, ไต เซลล์โซนาฟาสซิคูลาตาและเซลล์โซนาเรติคูลาริสในไต
เซลล์ทีกาในรังไข่
เซลล์เลย์ดิกในอัณฑะ
AR Virilization, วิถีแอแนบอลิซึม
แอนโดรสตีนไดโอน แอนโดรเจน ต่อมหมวกไต, ต่อมเพศ AR สารตั้งต้นสำหรับเอสโทรเจน
ไดไฮโดรเทสทอสเตอโรน แอนโดรเจน DHT เนื้อเยื่อหลายชนิด AR 5-DHT หรือ DHT เป็นฮอร์โมนในระบบสืบพันธ์เพศชายที่มีเป้าหมายเป็นต้อมลูกหมาก, ต่อมบัลโบยูรีทรัล, ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ, องคชาติและถุงหุ้มอัณฑะ ช่วยส่งเสริมการการเจริญเติบโต ไมโทซิส การเจริญเต็มที่และการแบ่งการทำงานของเซลล์ เทสโทสเทอโรนจะถูกเปลี่ยนไปเป็น 5-DHT โดย 5alpha-reductase โดยปกติจะเกิดขึ้นในเซลล์เป้าหมายของ 5-DHT เนื่องจากความต้องการ 5-DHT ในความเข้มข้นสูงเพื่อให้เกิดผลทางสรีรวิทยา
อัลโดสเตอโรน มิเนอรัลโลคอติคอยด์ ต่อมหมวกไตส่วนใน (โซนาโกลเมอรูโลซา) MR เพิ่มปริมาตรเลือดโดยเพิ่มการดูดกลับโซเดียมที่ไต (หน้าที่โดยหลัก),

การขับโพแทสเซียมและ H+ ที่ไต.

เอสทราไดออล เอสโทรเจน E2 เพศหญิง: รังไข่, เพศชาย: อัณฑะ เพศหญิง: เซลล์แกรนูโลซา, เพศชาย: เซลล์เซอร์ทอไล ER เพศหญิง:

โครงสร้างร่างกาย:

  • กระตุ้นการสร้างลักษณะทุติยภูมิทางเพศหญิง
  • กระตุ้นการเจริญของเยื่อบุโพรงมดลูก
  • เพิ่มการเจริญของมดลูก
  • บำรุงรักษาหลอดเลือดและผิวหนัง
  • ลดการละลายของกระดูก
  • เพิ่มการสร้างโปรตีนตัวรับของตับ

การจับลิ่มของเลือด:

การรักษาของเหลว:

  • การสวงนโซเดียมและน้ำ
  • เพิ่มระดับโกรทฮอร์โมน
  • เพิ่มระดับคอร์ติซอล, SHBG

ทางเดินอาหาร:

การทำงานของปอด:

  • ส่งเสริมการทำงานของปอดด้วยการค้ำจุนถุงลมปอด.

เพศชาย: ป้องกันการอะพอพโทซิสของเซลล์สืบพันธ์

เอสโทรน เอสโทรเจน รังไข่ เซลล์แกรนูโลซา, เซลล์ไขมัน ER
เอสไทรออล เอสโทรเจน E3 รก ซินไซทิโอโทรโฟบลาสต์ ER
คอร์ทิซอล กลูโคคอร์ทิคอยด์ ต่อมหมวกไตส่วนใน (เซลล์โซนาฟาสซิคูลาตา และเซลล์เรกติคูลาริส) GR กระตุ้นการสร้างกลูโคส

ยับยั้งการรับกลูโคสในกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อไขมัน การเคลื่อนย้ายกรดอะมิโนที่เนื้อเยื่อนอกตับ กระตุ้นการสลายไขมันในเนื้อเยื่อไขมัน ต้านการอักเสบ และกดภูมิคุ้มกัน

โพรเจสเทอโรน โพรเจสโทเจน รังไข่, ต่อมหมวกไต, รก (เมื่อมีการตั้งครรภ์) เซลล์แกรนูโลซา เซลล์ทีกาในรังไข่ PR ค้ำจุนการตั้งครรภ์:
  • เปลี่ยนเอนโดมีเทรียมให้เข้าสู่ระยะซิครีทอรี
  • ทำให้เมือกปากมดลูกอยู่ในสภาพที่สเปิร์มผ่านไปได้
  • ยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน เพื่อรองรับตัวอ่อน
  • ลดความสามารถในการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบในมดลูก
  • ยับยั้งการหลั่งน้ำนม
  • ยังยั้งการเจ็บท้องคลอด
  • ส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนกลุ่มมิเนอรัลโลจากต่อมหมวกไตและกลุ่มกลูโคสเตอรอยด์ของทารกในครรภ์

อื่น ๆ:

แคลซิไทรออล เซโคสเตอรอยด์ (1,25-dihydroxyvitamin D3) ผิวหนัง/ท่อไตส่วนต้น VDR รูปที่พร้อมทำงานของ วิตามิน D3

เพิ่มการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟตในทางเดินอาหารและไต ยับยั้งการหลั่ง PTH

แคลซิไดออล เซโคสเตอรอยด์ (25-hydroxyvitamin D3) ผิวหนัง/ท่อขดส่วนต้นของไต VDR รูปที่ยังไม่พร้อมทำงานของวิตามิน D3

อ้างอิง

  1. Karsenty G, Olson EN (March 2016). "Bone and Muscle Endocrine Functions: Unexpected Paradigms of Inter-organ Communication". Cell. 164 (6): 1248–1256. doi:10.1016/j.cell.2016.02.043. PMC 4797632. PMID 26967290.
  2. Kosfeld M, Heinrichs M, Zak PJ, Fischbacher U, Fehr E (June 2005). "Oxytocin increases trust in humans". Nature. 435 (7042): 673–6. Bibcode:2005Natur.435..673K. doi:10.1038/nature03701. PMID 15931222.
  3. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-12-06. สืบค้นเมื่อ 2012-09-09.
  4. http://www.vivo.colostate.edu/hbooks/pathphys/endocrine/otherendo/somatostatin.html Colorado State University - Biomedical Hypertextbooks - Somatostatin
  5. Nosek, Thomas M. . Essentials of Human Physiology. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016-03-24.
  6. Kaushansky K (May 2006). "Lineage-specific hematopoietic growth factors". The New England Journal of Medicine. 354 (19): 2034–45. doi:10.1056/NEJMra052706. PMID 16687716.
  7. Massaro D, Massaro GD (December 2004). "Estrogen regulates pulmonary alveolar formation, loss, and regeneration in mice". American Journal of Physiology. Lung Cellular and Molecular Physiology. 287 (6): L1154-9. doi:10.1152/ajplung.00228.2004. PMID 15298854.
  8. Pentikäinen V, Erkkilä K, Suomalainen L, Parvinen M, Dunkel L (May 2000). "Estradiol acts as a germ cell survival factor in the human testis in vitro". The Journal of Clinical Endocrinology and Metabolism. 85 (5): 2057–67. doi:10.1210/jcem.85.5.6600. PMID 10843196.
  9. Placental Hormones
  10. Nosek, Thomas M. . Essentials of Human Physiology. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016-03-24.
  11. Hould FS, Fried GM, Fazekas AG, Tremblay S, Mersereau WA (December 1988). "Progesterone receptor regulate gallbladder motility". The Journal of Surgical Research. 45 (6): 505–12. doi:10.1016/0022-4804(88)90137-0. PMID 3184927.

แม่แบบ:ฮอร์โมน

รายช, อฮอร, โมนในมน, ษย, อไปน, เป, นรายช, อฮอร, โมนท, พบใน, homo, sapiens, การสะกดช, อฮอร, โมนบางต, วในภาษาอ, งกฤษอาจไม, เป, นแบบแผนเด, ยวก, วอย, างเช, ในเขตอเมร, กาเหน, อและท, วโลกใช, estrogen, gonadotropin, ในขณะท, การสะกดแบบบร, ชย, งคงร, ปทว, กษรแบบกร, กไว,. txipniepnraychuxhxromnthiphbin Homo sapiens karsakdchuxhxromnbangtwinphasaxngkvsxacimepnaebbaephnediywkn twxyangechn inekhtxemrikaehnuxaelathwolkich estrogen gonadotropin inkhnathikarsakdaebbbritichyngkhngrupthwixksraebbkrikiwin oestrogen aelaniymkarsakdaebbekakhxng gonadotrophin cak trophe sarxahar pccyyngchiph aethnthicaepn trope klbklay epliynaeplng raychuxhxromn aekikhSN chux xksryx chnid enuxeyux esll twrb enuxeyuxepahmay sngphltx1 xadrinalin exphienfrin EPI xnuphnthkhxngkrdxamion txmhmwkit txmhmwkitswnin ithorsin aexdrienxcikriesphetxr enuxeyuxekuxbthukchnid khwamdneluxd karslayiklokhecn karyxyikhmn l2 emlaothnin MT xnuphnthkhxngkrdxamion txmipheniyl ipheniylolist thripothaefn emlaothninriesphetxr rabbprasathswnklangaelaenuxeyuxswnplay nalikachiwphaph3 nxrxadrinalin hrux nxrexphienfrin NE xnuphnthkhxngkrdxamion txmhmwkit txmhmwkitswnin ithorsin nxrxadrienxrcikriesphetxr enuxeyuxekuxbthukchnid khwamdneluxd karslayiklokhecn karslayikhmn l4 itrixoxodithornin T3 xnuphnthkhxngkrdxamion enuxeyuxswnplaykhxngtxmithrxyd ithrxydfxllikhularesll ithorsin ithrxydhxromnriesphetxr ekuxbthukesllinrangkay ephimemaethbxlisum5 ithrxksin T4 xnuphnthkhxngkrdxamion txmithrxyd ithrxydfxllikhularesll ithorsin ithrxydhxromnriesphetxr ekuxbthukesllirangkay miphliklekhiyngkb T3 aetxxkvththixxnkwa thukesllepahmayepliynipepn T36 odphamin DA xnuphnthkhxngkrdxamion sbsaetnechiyinkra swnihy finilxalanin ithorsin D1 aela D2 thwthngrangkay rksaradbkhxng cAMP inesll thangantrngknkhamkbophraelkthin1 phrxstaaeklndin PG ixokhsanxyd txmsrangnaeliyngxsuci phrxstaaeklndinriesphetxr karkhyayhlxdeluxd2 liwokhitrxin LT ixokhsanxyd eluxd emdeluxdkhaw hnwyrbthicbkhukbcioprtin ephimsphaphihsumphanidkhxnghlxdeluxd3 phrxstaiskhlin PGI2 ixokhsanxyd phrxstaiskhlinriesphetxr karkhyayhlxdeluxd ybyngtwkratunekldeluxd4 thrxmbxkesn TXA2 ixokhsanxyd eluxd ekldeluxd thrxmbxkesnriesphetxr karbibhlxdeluxd karrwmklumkhxngekldeluxd1 xaimlin hrux ixseltxaimlxydophliephpithd IAPP ephpithd tbxxn esllbitaintbxxn xaimlinriesphetxr chalxkarthaihkraephaaxaharwang ybyngkarhlngsarcakrabbthangedinxahar ephuxldkarrbxaharekhasurangkay2 aexntimulelxeriynhxromn hrux mulelxeriynxinhibitingaefketxr hxromn AMH hrux MIF MIH ephpithd xntha esllesxthxil AMHR2 ybyngkarhlngophraelkthin aelaithorothrphin rilisinghxromn caktxmitsmxngswnhna3 xadiophenktin Acrp30 ephpithd enuxeyuxikhmn xadiophenktinriesphetxr rksaradbkluokhs4 xadrionkhxtiokhthrxpikhxromn hrux khxrtiokhothrpin ACTH ephpithd txmitsmxngswnhna khxniokhothrph xadrionkhxtiokhthrxpikhxromnriesphetxr cAMP karsngekhraahkhxtiokhsetxrxyd kluokhkhxtikhxydaelaaexnodrecn khxngeslltxmhmwkitswnnxk5 aexngcioxethnsionecn aela aexngcioxethnsin AGT ephpithd tb aexngcioxethnsinriesphetxr IP3 karbibhlxdeluxd karhlngxlodsetxrorncaktxmhmwkitswnnxk idephpsin 6 aexntiidyuertikhxromn hrux waosephrssin xarcininwaosephrssin ADH ephpithd txmitsmxngswnhlng pharowesllularniworsikhrithxriesllinihophthalams aemkonesllularniworsikhrithxriesllthitxmitsmxngswnhlng AVPRs VACM 1 karsngwnnathiit khwbkhumkarbibhlxdeluxd karhlng ACTH thitxmitsmxngswnhna7 exethriylenthriyuertikephpithd hrux exthrioxephpthin ANP ephpithd hwic ANP riesphetxr cGMP ephimkarhlngosediymaela GFR tankarhdtwkhxnghlxdeluxdda ybyngkarhlnghxromnernin8 ebrnenthriyuertikephpithd BNP ephpithd hwic imaenic phudkhuy esllklamenuxhwic NPR ldkhwamdneluxd aetinradbthixxnkwa ANP odykar ldkarhmunewiyneluxdaelaaerngtankhxnghlxdeluxd ldna osediym aelaikhmnineluxd9 aekhlsiothnin CT ephpithd txmithrxyd esllpharafxllikhular CT riesphetxr cAMP karsrangkraduk ldradb Ca2 ineluxd10 okhelsisotikhnin CCK ephpithd duoxdinm CCK riesphetxr karhlngexnismyxyxaharcaktbxxn karhlngnadicakthungnadi rangbkhwamxyakxahar11 khxrtiokhothrphin rilissinghxromn CRH ephpithd ihophthalams CRF1 cAMP karhlng ACTH caktxmitsmxngswnhna12 khxrthisaettin CORT ephpithd epluxksmxng esllprasathybyng osmaotsaettinriesphetxr kdkickrrmthangrabbprasath ehniywnakarhlbaebb slow wave ldkarekhluxnihwrangkay kratun cation selective current thinxkehnuxkarthangankhxngosmaotsaettin13 exngekhfalin ephpithd it esllokhrmaffin oxphixxydriesphetxr khwamecbpwd14 exnodthilin ephpithd eyuxbuesneluxd esllexnodthieliym ET riesphetxr karhdtwkhxngklamenuxeriybinhlxdeluxdkhnadklang15 xiriothrophxithin EPO ephpithd it esllexkstraoklemxrularmiaesngeciyl EpoR kratunkarsrangemdeluxdaedng16 fxlliekhil stimueltinghxromn FSH ephpithd txmitsmxngswnhna okaenodothrph FSH riesphetxr cAMP inephshying kratunkarecriyetmthikhxngkraefiynfxlliekhilinrngikh inephschay karsrangsepirm esrimkarthangankhxngaexnodrecn ibdingoprtinodyesllesxthxilinxntha17 kalanin GAL ephpithd rabbprasathswnklangaelathangedinxahar GALR1 GALR2 aela GALR3 khwbkhumaelaybyngskythangankhxngesllprasath18 aekstrixinhibithxriophliephpithd GIP ephpithd chnmuokhsakhxngduoxdinmaelaeccunm esllekh GIPR chknaihekidkarhlngxinsulin19 aekstrin GAS ephpithd kraephaaxahar duoxdinm G cell CCK2 karhlngkrdinkraephaaxaharodyesllpharithl20 krilin ephpithd kraephaa P D1 cell krilinriesphetxr kratunkhwamxyakxahar karhlngokrthhxromncaktxmitsmxngswnhna21 klukhakxn GCG ephpithd tbxxn esllxlfa Glucagon receptor cAMP karslayiklokhecnaelakarsrangkluokhsintb ephimradbkluokhsineluxd22 klukhakxnilkephpithd 1 GLP1 ephpithd ixeliym esllaexl GLP1R GLP2R esllbitaintbxxn kratunwithixadinillilisekhls idphlepnkarephimradbkarsrangaelakarhlngxinsulin23 okaenodothrphinrilissinghxromn GnRH ephpithd ihophthalams GnRH riesphetxr IP3 karhlng FSH aela LH caktxmitsmxngswnhna 24 okrthhxromnrilissinghxromn GHRH ephpithd ihophthalams GHRH riesphetxr IP3 karhlng GH caktxmitsmxngswnhna25 ehphsidin HAMP ephpithd tb efxorphxthin ybyngkarsngthatuehlkxxkcakesll26 hiwaemnkhxeriynikokaenodothrphin hCG ephpithd rk esllsinisthioxothrofblast LH riesphetxr cAMP khngokhrngsrangkhxrphsluethiymiwinchwngaerk khxngkartngkhrrph ybyngkartxbsnxngthangphumikhumknephuxrxngrbtwxxn27 hiwaemnphlaesnthlaelkothecn HPL ephpithd rk ephimkarhlng xinsulin aela IGF 1 ephimkhwamtanthanxinsulinaelakaraephkharobihedrt28 okrthhxromn GH hrux hGH ephpithd txmitsmxngswnhna osmaothothrph GH riesphetxr kratunphthnakar aelakarsrangesll karhlng xinsulin ilkokrthaefketxrcaktb29 xinhibin ephpithd xntha rngikh fits esllesxrthxilinxntha esllaekrnuolsainrngikh othrofblastinfits txmitsmxngswnhna ybyngkarsrang FSH30 xinsulin INS ephpithd tbxxn esllbita xinsulinriesphetxr IGF 1 IGF 2 karnaekhakluokhscakeluxdsahrbkarsrangiklokhecnaelakarslayiklokhecn thitbaelaklamenux karrbekhaliphid aelakarsngekhraahitrkliesxirdinesllikhmn Other anabolic effects31 xinsulinilkokrthaefketxr hrux osmaothmidin IGF ephpithd tb eslltb xinsulinriespetxr IGF 1 ihphlkhlayxinsulin khwbkhumkarecriyaelaphthnakhxngesll32 elphtin LEP ephpithd enuxeyuxikhmn LEP R ldkhwamxyakxahar aelaephimemaethbxlisum33 liophothrpin LPH ephpithd txmitsmxngswnhna khxrtiokhothrph karslayikhmn aelakarsrangsetiyrxyd kratunemlaonistihphlitemlanin34 luthiinsinghxromn LH ephpithd txmitsmxngswnhna okaenodothrph LHR cAMP inephshying kartkikh inephschay kratunkarsrangethsthxsethxornkhxngesllelydik35 emlaoniststimueltinghxromn MSH hrux a MSH ephpithd txmitsmxngswnhna phasxinethxrmiediy emlaonthrxf emlaonkhxrtinriespetxr cAMP karsrangemlaninodyemlaonistthiphiwhnngaelaesnkhn36 omthilin MLN ephpithd laiselk omthilinriesphetxr kratunkarthangankhxngrabbyxyxahar37 oxerksin ephpithd ihophthalams OX1 OX2 ephimkhwamtuntw karichphlngngan aelakhwamxyakxahar38 xxsthioxaekhlsin OCN ephpithd kraduk xxsthioxblast Gprc6a klamenux smxng tbxxn xntha snbsnunkarthangankhxngklamenux khwamca karsngekhraahethsthxsethxornaelakarichphlngngan 1 39 xxksiothsin OXT ephpithd txmitsmxngswnhlng aemkonesllularniworsirithxriesll OXT riesphetxr IP3 karhlngnanm kratunkarhdtwkhxngmdlukaelachxngkhlxd ekiywkhxngkbkhwamesiywsudyxdphangephs khwamechuxic 2 aelarksanalikachiwphaph xunhphumirangkay radbkickrrm khwamtuntw 3 40 aephnkhriextikphxliephpithd ephpithd tbxxn esllphiphi pancreatic polypeptide receptor 1 rabbbarungrksatwexngkhxngsarthihlngcaktbxxn exnodkhrinaelaexkoskhrin nxkcakniyngmiphltxradbiklokhecnintbaelasarthihlngcakthangedinxahar41 pharaithrxydhxromn PTH ephpithd txmpharaithrxyd pharaithrxydchifesll PTH riesphetxr cAMP ephimradb Ca2 kratunesllxxsthioxkhlastthangxxm kardudklb Ca2 thiit kratunwitamindildradbfxseftineluxd elknxy ldkardudklbthiitaetephimkarrbcakkraduk kratunwitamindi 42 phithuxitharixadinilelt sekhlsaexkthiewtingephpithd PACAP ephpithd enuxeyuxhlaychnid ADCYAP1R1 VIPR1 VIPR2 kratunesllkhlayexnethxorokhrmaffin43 ophraelkthin PRL ephpithd txmitsmxngswnhna mdluk aelkoththrxfkhxngtxmitsmxngswnhna eslledsidwlthimdluk PRL riesphetxr karsrangnmcaktxmnanm khwamesiywsudyxdthangephshlngcakmikickrrmthangephs44 ophraelkthinrilissinghxromn PRLH ephpithd ihophthalams karhlngophraelkthincaktxmitsmxngswnhna45 riaelksin RLN ephpithd khxrphsluethiym mdluk rk aelatxmnanm eslledsidwl RLN riesphetxr imthrabaenchdinmnusy46 ernin ephpithd it esllckstaoklemxrular kratunrabbernin aexngcioxethnsin dwykarsrang angiotensin I khxngaexngcioxethnsionecn47 sikhrithin SCT ephpithd duoxdinm esllexs SCT riesphetxr karhlngibkharbxentcaktb tbxxn aelatxmbrunenxrthiduoxdinm esrimphlkhxngokhelsisothikhnin hyudkarsrangnayxy48 osmaotsaettin hrux growth hormone inhibiting hormone hruxgrowth hormone release inhibiting hormone hruxsomatotropin release inhibiting factor hrux somatotropin release inhibiting hormone GHIH hrux GHRIH hrux SRIF hrux SRIH ephpithd ihophthalams ixseltxxfaelngekxrhans rabbyxyxahar eslledltainixselt esllniworexnodkhrinthipharaewnthrikhularniwekhliyskhxngihophthalams osmaotsaettinriesphetxr ybyngkarhlng GH aela TRH caktxmitsmxngswnhna rangbkarhlngkhxnghxromnaeksthrin okhelsisothikhnin CCK sikhrithin omthilin waosaexkthifxinethsthinlephpithd VIP aekstrikxinhibithxriephpithd GIP exnethxorklukhakxn inrabbthangedinxahar ldxtrakarthakraephaaihwang ldkarhdtwkhxngklamenuxeriybaelakarihlkhxngeluxdinlais 4 ybyngkarhlngxinsulincakesllbita 5 ybyngkarhlngklukhakxncakesllxlfa 5 kdkarthanganaebbexkoskhrinkhxngtbxxn 49 thrxmobophxithin TPO ephpithd tb it klamenuxlay esllklamenux TPO riesphetxr emkakharioxist srangekldeluxd 6 50 ithrxyd stimueltinghxromn hrux ithorothrphin TSH ephpithd txmitsmxngswnhna ithorothrph ithorothrphinriesphetxr cAMP txmithrxyd karhlngithrxksin T4 aela ithrixoxodithornin T3 51 ithorothrphin rilissinghxromn TRH ephpithd ihophthalams pharowesllularniworsikhrithxriniwrxn TRHR IP3 txmitsmxngswnhna karhlngithrxyd stimueltinghxromn hlk kratunkarhlngophraelkthin52 Vasoactive intestinal peptide VIP ephpithd lais tbxxn and suphraikhaexsmatikniwkhliixkhxngihophthalams waosaexkthifxinethsthinlephpithdriesphetxr kratunkhwamsamarthinkarbibtwkhxnghwic epnsaehtukhxngkarkhyayhlxdeluxd ephimkarslayiklokhecn ldkhwamdnesneluxdaedng aelakhlayklamenuxeriybkhxnghlxdlm kraephaaxaharaelathungnadi53 kwnillin GN ephpithd lais kwnileltisekhls 2C hithsetebilexnethxorthxksinriesphetxr rksaradb xielkothrilt aela karkhnsngna thieyuxbuphiwit54 yuorkwnillin UGN ephpithd enuxeyuxit kwnileltisekhls 2C hithsetebilexnethxorthxksinriesphetxr rksaradb xielkothrilt aela karkhnsngna thieyuxbuphiwitsetxrxyd aekikhdubthkhwamhlkthi setxrxyd chux chnthangekhmi xksryx enuxeyux esll twrb enuxeyuxepahmay sngphltxethsothsetxorn aexnodrecn xntha rngikh esllelydik AR khwamrusukthangephs withiaexaenbxlisum karephimmwlaelakhwamaekhngaerngkhxngklamenux ephimkhwamhnaaenn khwamaekhngaerng aelamwlkhxngkraduk Virilizing karecriyetmwykhxngxwywaephs karkxtwkhxngthunghumxntha khwamtathumkhxngesiyng karngxkkhxngkhnrkaeraelahnwdekhradiihodrexphiaexnodrsetxorn aexnodrecn DHEA xntha rngikh it esllosnafassikhulataaelaesllosnaertikhularisinit esllthikainrngikh esllelydikinxntha AR Virilization withiaexaenbxlisumaexnodrstinidoxn aexnodrecn txmhmwkit txmephs AR sartngtnsahrbexsothrecnidihodrethsthxsetxorn aexnodrecn DHT enuxeyuxhlaychnid AR 5 DHT hrux DHT epnhxromninrabbsubphnthephschaythimiepahmayepntxmlukhmak txmblobyurithrl txmsrangnaeliyngxsuci xngkhchatiaelathunghumxntha chwysngesrimkarkarecriyetibot imothsis karecriyetmthiaelakaraebngkarthangankhxngesll ethsothsethxorncathukepliynipepn 5 DHT ody 5alpha reductase odypkticaekidkhuninesllepahmaykhxng 5 DHT enuxngcakkhwamtxngkar 5 DHT inkhwamekhmkhnsungephuxihekidphlthangsrirwithyaxlodsetxorn mienxrlolkhxtikhxyd txmhmwkitswnin osnaoklemxruolsa MR ephimprimatreluxdodyephimkardudklbosediymthiit hnathiodyhlk karkhbophaethsesiymaela H thiit exsthraidxxl exsothrecn E2 ephshying rngikh ephschay xntha ephshying esllaekrnuolsa ephschay esllesxrthxil ER ephshying okhrngsrangrangkay kratunkarsranglksnathutiyphumithangephshying kratunkarecriykhxngeyuxbuophrngmdluk ephimkarecriykhxngmdluk barungrksahlxdeluxdaelaphiwhnng ldkarlalaykhxngkraduk ephimkarsrangoprtintwrbkhxngtbkarcblimkhxngeluxd ephimradbkhxng factors 2 7 9 10 aexntithrxmbin III phlasmionecn ephimkhwamsamarthinkaryudtidkhxngekldeluxdkarrksakhxngehlw karswngnosediymaelana ephimradbokrthhxromn ephimradbkhxrtisxl SHBGthangedinxahar ldkarekhluxnihwkhxnglais ephimradbokhelsetxrxlinnadikarthangankhxngpxd sngesrimkarthangankhxngpxddwykarkhacunthunglmpxd 7 ephschay pxngknkarxaphxphothsiskhxngesllsubphnth 8 exsothrn exsothrecn rngikh esllaekrnuolsa esllikhmn ERexsithrxxl exsothrecn E3 rk sinisthioxothrofblast ERkhxrthisxl kluokhkhxrthikhxyd txmhmwkitswnin esllosnafassikhulata aelaesllerktikhularis GR kratunkarsrangkluokhs ybyngkarrbkluokhsinklamenuxaelaenuxeyuxikhmn karekhluxnyaykrdxamionthienuxeyuxnxktb kratunkarslayikhmninenuxeyuxikhmn tankarxkesb aelakdphumikhumknophrecsethxorn ophrecsothecn rngikh txmhmwkit rk emuxmikartngkhrrph esllaekrnuolsa esllthikainrngikh PR khacunkartngkhrrph 9 epliynexnodmiethriymihekhasurayasikhrithxri thaihemuxkpakmdlukxyuinsphaphthisepirmphanipid ybyngkartxbsnxngthangphumikhumkn ephuxrxngrbtwxxn ldkhwamsamarthinkarhdtwkhxngklamenuxeriybinmdluk 9 ybyngkarhlngnanm yngyngkarecbthxngkhlxd sngesrimkarsranghxromnklummienxrlolcaktxmhmwkitaelaklumkluokhsetxrxydkhxngtharkinkhrrphxun ephimradb epidermal growth factor 1 ephimxunhphumirangkayrahwangkartkikh 10 ldxakarchkekrng aelakhlayklamenuxeriyb khyayhlxdlm aelakhwbkhumradbemuxk tankarxkesb khwbkhumkartxbsnxngthangphumikhumkn ldkickrrmkhxngthungnadi 11 thaihkaraekhngtwkhxngeluxdaelakhwamtungkhxnghlxdeluxd radbkhxngsngkasiaelathxngaedngineluxd radbxxksiecninesll aelakarichikhmnsasminrangkayepnipxyangpkti chwyinkarthangankhxngithrxydaelakarecriykhxngkradukodyxxsthioxblast khwamyunhyunkhxngkraduk fn ehnguxk khxtx exnklamenux exnyud aelabarungphiwhnngdwykarkhwbkhumkhxllaecn karthanganaelakarrksarabbprasathphankarkhwbkhumimxilin pxngknmaerngeyuxbuophrngmdlukdwykarrksaradbexsothrecnaekhlsiithrxxl esokhsetxrxyd 1 25 dihydroxyvitamin D3 phiwhnng thxitswntn VDR rupthiphrxmthangankhxng witamin D3 ephimkardudsumaekhlesiymaelafxseftinthangedinxaharaelait ybyngkarhlng PTHaekhlsiidxxl esokhsetxrxyd 25 hydroxyvitamin D3 phiwhnng thxkhdswntnkhxngit VDR rupthiyngimphrxmthangankhxngwitamin D3xangxing aekikh Karsenty G Olson EN March 2016 Bone and Muscle Endocrine Functions Unexpected Paradigms of Inter organ Communication Cell 164 6 1248 1256 doi 10 1016 j cell 2016 02 043 PMC 4797632 PMID 26967290 Kosfeld M Heinrichs M Zak PJ Fischbacher U Fehr E June 2005 Oxytocin increases trust in humans Nature 435 7042 673 6 Bibcode 2005Natur 435 673K doi 10 1038 nature03701 PMID 15931222 Scientific American Mind Rhythm and Blues June July 2007 Scientific American Mind by Ulrich Kraft khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 12 06 subkhnemux 2012 09 09 http www vivo colostate edu hbooks pathphys endocrine otherendo somatostatin html Colorado State University Biomedical Hypertextbooks Somatostatin 5 0 5 1 Nosek Thomas M Section 5 5ch4 s5ch4 17 Essentials of Human Physiology khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2016 03 24 Kaushansky K May 2006 Lineage specific hematopoietic growth factors The New England Journal of Medicine 354 19 2034 45 doi 10 1056 NEJMra052706 PMID 16687716 Massaro D Massaro GD December 2004 Estrogen regulates pulmonary alveolar formation loss and regeneration in mice American Journal of Physiology Lung Cellular and Molecular Physiology 287 6 L1154 9 doi 10 1152 ajplung 00228 2004 PMID 15298854 Pentikainen V Erkkila K Suomalainen L Parvinen M Dunkel L May 2000 Estradiol acts as a germ cell survival factor in the human testis in vitro The Journal of Clinical Endocrinology and Metabolism 85 5 2057 67 doi 10 1210 jcem 85 5 6600 PMID 10843196 9 0 9 1 Placental Hormones Nosek Thomas M Section 5 5ch9 s5ch9 13 Essentials of Human Physiology khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2016 03 24 Hould FS Fried GM Fazekas AG Tremblay S Mersereau WA December 1988 Progesterone receptor regulate gallbladder motility The Journal of Surgical Research 45 6 505 12 doi 10 1016 0022 4804 88 90137 0 PMID 3184927 aemaebb hxromnekhathungcak https th wikipedia org w index php title raychuxhxromninmnusy amp oldid 9294262, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม