fbpx
วิกิพีเดีย

ศาสนาฮินดู

ศาสนาฮินดู หรือในเอกสารภาษาไทยนิยมใช้คำว่า ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาหนึ่งในกลุ่มศาสนาอินเดีย และเป็นธรรมะหรือแนวทางการใช้ชีวิตของผู้คน ที่เป็นที่นับถืออย่างแพร่หลายในอนุทวีปอินเดียและบางส่วนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะบนเกาะบาหลี เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ศาสนิกชนและนักวิชาการบางกลุ่มเรียกศาสนาฮินดูว่าเป็น "สนาตนธรรม" หรือหนทางนิรันดร์ชั่วประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ นักวิชาการมักมองศาสนาฮินดูว่าเป็นการผสมผสานของ หรือสังเคราะห์มาจาก วัฒนธรรม จารีต และประเพณีอันหลากหลายในอนุทวีปอินเดีย ที่มีรากฐานหลากหลาย และไม่มีศาสดาหรือผู้ริเริ่มตั้งศาสนา แต่ผู้เผยแผ่คำภีร์พระเวท ยุคแรกเริ่มคือ ฤๅษีวยาส ท่านเปรียบเสมือนเป็นศาสดาคนหนึ่ง "การสังเคราะห์ศาสนาฮินดู" (Hindu synthesis) นี้เริ่มมีขึ้นระหว่างราว 500 ปีก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศักราช 300 ภายหลังการสิ้นสุดลงของยุคพระเวท (1500 ถึง 500 ก่อนคริสตกาล), และเจริญรุ่งเรืองในอินเดียสมัยกลางไปพร้อมกับการเสื่อมของศาสนาพุทธในอนุทวีปอินเดีย

ถึงแม้ว่าศาสนาฮินดูจะเต็มไปด้วยปรัชญาหลายแขนง แต่ก็สามารถเชื่อมโยงถึงกันผ่านแนวคิดที่มีร่วมกัน, พิธีกรรมที่คล้ายคลึงกัน, จักรวาลวิทยาฮินดู, คัมภีร์ฮินดู และ สถานที่แสวงบุญ ส่วนคัมภีร์ของศาสนาฮินดูนั้นจำแนกออกเป็น ศรุติ (จากการฟัง) และ สมรติ (จากการจำ) คัมภีร์เหล่านี้มีทั้งปรัชญาฮินดู, ประมวลเรื่องปรัมปราฮินดู, พระเวท, โยคะ, พิธีกรรม, อาคม และการสร้างโบสถ์พราหมณ์ เป็นต้น คัมภีร์เล่มสำคัญได้แก่ พระเวท, อุปนิษัท, ภควัทคีตา, รามายณะ และ อาคม ที่มา ผู้ประพันธ์ และความจริงนิรันดร์ในคัมภีร์เหล่านี้ล้วนมีบทบาทสำคัญ แต่ศาสนาฮินดูก็มีแนวคิดหลักสำคัญที่สนับสนุนการตั้งคำถามต่อที่มาและเนื้อความของคัมภีร์เพื่อให้เข้าใจสัจธรรมต่าง ๆ ได้อย่างลึกซึ้ง และสร้างประเพณีหรือแนวคิดต่อยอดในอนาคต

สาระสำคัญในศาสนาฮินดูคือ "ปุรุษารถะ" ทั้งสี่ อันเป็นจุดมุ่งหมายอันสมควรในชีวิตของมุนษย์ ได้แก่ ธรรมะ (หน้าที่/จริยธรรม), อรรถะ (การเจริญเติบโต/หน้าที่การงาน), กามะ (ประสงค์/แรงจูงใจ) และ โมกษะ (การหลุดพ้น/การเป็นอิสระจากการเวียนว่ายตายเกิด) นอกจากนี้ แนวคิดสำคัญอื่น ๆ ที่พบในศาสนาฮินดูยังรวมถึง กรรม (การกระทำ/ผลของการกระทำ), สังสารวัฏ (วงจรเวียนว่ายตายเกิด) และ การปฏิบัติโยคะ (หนทางสู่โมกษะ) ที่มีอยู่หลากหลายปรัชญา การปฏิบัติในศาสนาฮินดู มีทั้ง ปูชา (การบูชา), การสวดมนต์และร้องเพลงสวด, ชปะ, การปฏิบัติสมาธิ, สังสการ (พิธีกรรมเปลี่ยนผ่าน), เทศกาลประจำปีและการออกเดินทางแสวงบุญตามโอกาส ศาสนิกชนบางส่วนละทิ้งชีวิตทางโลกและการยึดติดกับวัตถุ เพื่ออกสู่สันยาสะ (ถือพรต/ออกบวช) เพื่อเข้าสู่โมกษะ ศาสนาฮินดูยังเน้นย้ำถึงหน้าที่ตลอดกาล เช่น ความกตัญญู ซื่อสัตย์, ไม่ทำร้ายสัตว์และผู้คน (อหิงสา), การใจเย็น, ความอดทนอดกลั้น, การข่มใจตนเอง และความเมตตา นิกายในศาสนาฮินดูหลักมี 4 นิกาย คือ ลัทธิไวษณพ, ลัทธิไศวะ, ลัทธิศักติ และลัทธิสมารตะ

ศาสนาฮินดูถือเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในโลกเป็นอันดับที่ 3 มีศาสนิกชนซึ่งเรียกว่า ชาวฮินดู อยู่ราว 1.15 พันล้านคน หรือ 15-16% ของประชากรโลก ศาสนาฮินดูมีผู้นับถือมากที่สุดในอินเดีย, เนปาล และ มอริเชียส นอกจากนี้ยังเป็นศาสนาหลักในจังหวัดบาหลี อินโดนีเซียเช่นกัน ชุมชนฮินดูขนาดใหญ่ยังพบได้ในแคริบเบียน, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อเมริกาเหนือ, ยุโรป, แอฟริกา และประเทศอื่น ๆ

ความเชื่อ

สาระสำคัญในศาสนาฮินดูมันวนเวียนอยู่กับประเด็นของธรรมะ, สังสาระ, โมกษะ และการปฏิบัติโยคะ

ปุรุษารถะ

ดูบทความหลักที่: ปุรุษารถะ

ศาสนาฮินดูดั้งเดิมเชื่อว่าจุดมุ่งหมายในชีวิตของมนุษย์มีอยู่สี่ประการ ได้แก่ ธรรมะ, อรรถะ, กามะ และ โมกษะ เป้าหมายทั้งสี่นี่เรียกรวมว่า "ปุรุษารถะ"

ธรรมะ (ทางที่ถูกต้อง/จริยะ)

ธรรมะถือเป็นจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนที่สุดในศาสนาฮินดู แนวคิดของธรรมะนั้นรวมถึงพฤติกรรมที่ถือว่าสอดคล้องไปกับรตะ หนทางที่ทำให้ทั้งชีวิตและจักรวาลคงอยู่ได้ และยังรวมถึงหน้าที่, สิทธิ, กฎระเบียบ, สัจธรรม และ "การใช้ชีวิตอย่างถูกทาง" ธรรมะฮินดูประกอบด้วยหน้าที่ทางศาสนา, จริยธรรมและคุณธรรม และหน้าที่ของแต่ละบุคคล รวมถึงการปฏิบัติตนและนิสัยที่นำไปสู่ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม Van Buitenen ได้เคยกล่าวว่า ธรรมะนั้นเป็นสิ่งที่สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่มีอยู่จะต้องยอมรับและเคารพเพื่อยังผลให้เกิดการรักษาความสามัคคีและความสงบเรียบร้อยในโลก เป็นการแสวงหาและการดำเนินการตามธรรมชาติและการเรียกหาที่แท้จริง อันมีบทบาทในการปรองดองโดยทั่วกัน ส่วน Brihadaranyaka Upanishad ได้ระบุว่าธรรมะคือ

ไม่มีสิ่งใดเหนือยิ่งกว่าธรรมะ ผู้ที่อ่อนแอจะเอาชนะผู้ที่แข็งแกร่งกว่าได้ก็ด้วยธรรมะ ธรรมะนั้นคือความจริง (สัตยะ) อย่างแท้จริง ดังนั้นเมื่อผู้ใดพูดความจริง เป็นอันเรียกได้ว่าเขาผู้นั้น "ได้เปล่งวาจาของธรรมะ!" เพราะทั้งคู่ (ความจริง และ ธรรมะ) เป็นคำที่มีความหมายเดียวกัน— Brihadaranyaka Upanishad

พระกฤษณะ ในมหาภารตะ ได้ทรงนิยามธรรมว่าเป็น การสนับสนุนความจริงทั้งในโลกนี้และโลกอื่น (Mbh 12.110.11) คำส่า "สนาตนะ" แปลว่า "นิรันดร์" ดังนั้น "สนาตนธรรม" จึงแปลส่า "ความจริงอันเป็นนิรันดร์" ไม่มีจุดเริ่มต้น และไม่มีที่สิ้นสุด

อรรถ

ดูบทความหลักที่: อรรถะ

อรรถะ หรือ อารถะ คือ การแสวงหาความมั่งคั่งอย่างมีเป้าหมายและมีคุณธรรม เพื่อการดำรงชีวิต ภาระผูกพัน และความมั่งคั่งทางทรัพย์สิน อรรถะยังรวมถึงชีวิตทางการเมือง การทูต และการมีความเป็นอยู่ที่ดี แนวคิดนี้รวมถึง "วิถีชีวิตทุกมุมของชีวิต" กิจกรรมและทรัพยากรทั้งหมดที่ช่วยให้คนหนึ่งสามารถมีความมั่งคงทางอาชีพการงานและทางการเงิน การแสวงหาอรรถะอย่างพอเหมาะพอควรถือเป็นเป้าหมายสำคัญของชีวิตมนุษย์ในศาสนาฮินดู

กามะ

ดูบทความหลักที่: กาม

กาม แปลว่า ความปรารถนา, ความรัก, ชอบ, หลงใหล ทั้งมีและปราศจากความคิดเชิงชู้สาวและอารมณ์ทางเพศ และหมายถึงความสุข ความยินดี อันเกิดจากสัมผัสต่าง ๆ ของร่างกาย ในศาสนาฮินดู กามะถือเป็นส่วนจำเป็นที่ช่วยให้ชีวิตคงอยู่ได้อย่างแข็งแรง ทั้งนี้ทั้งนั้นยังต้องอยู่ภายใต้การนำพาของธรรมะ, อรรถะ และโมกษะ

โมกษะ

ดูบทความหลักที่: โมกษะ

โมกษะ หรือ มุขติ ถือเป็นเป้าหมายสูงที่สุดในศาสนาฮินดู โมกษะอาจหมายถึงการหลุดพ้นจากความทุกข์ และจากสังสาระ (การเวียนว่ายตายเกิด) ในนิกายอื่น ๆ ของศาสนาฮินดูเช่น Monistic ถือว่าโมกษะเป็นเป้าหมายที่เข้าถึงได้ในชาติปัจจุบัน เป็นสถานะของความสุขผ่านการรับรู้ตนเอง การเข้าใจธรรมชาติของจิตวิญญาณของเสรีภาพและ "ตระหนักว่าจักรวาลทั้งหมดเป็นส่วนหนึ่งของตน"

กรรม

ดูบทความหลักที่: กรรม

โมกษะ

ดูบทความหลักที่: โมกษะ

เป้าหมายสูงสุดของชีวิตเรียกว่า "โมกษะ", "นิรวานะ" หรือ "สมาธิ" เป็นที่เข้าใจกันอยู่หลายแบบ: การเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับพระเป็นเจ้า, การเข้าสู่ความสัมพันธ์นิรันดร์กับพระเจ้า, การเป็นหนึ่งเดียวกับจักรวาล, การละทิ้งความเห็นแก่ตัวจนสิ้น, การหลุดพ้นจากสังสาระ ซึ่งคือการไม่เกิดอีก การไม่ทุกข์อีก

แนวคิดเรื่องพระเป็นเจ้า

ดูบทความหลักที่: อิศวร (แนวคิด) และ พระเป็นเจ้าในศาสนาฮินดู

ศาสนาฮินดูนั้นมีหลายความเชื่อ มีตั้งแต่ เอกเทวนิยม, พหุเทวนิยม, สรรพันตรเทวนิยม, สรรพเทวนิยม, สรรพเทวนิยม, เอกเทวนิยม ไปจนถึง อเทวนิยม

นิกายหลัก

ดูบทความหลักที่: นิกายในศาสนาฮินดู

ศาสนาฮินดูไม่มีหลักคำสอนหลักกลาง ในขณะเดียวกันชาวฮินดูเองจำนวนมากก็ไม่ได้อ้างว่าเป็นของนิกายหรือประเพณีใด ๆ อย่างไรก็ตาม ในงานศึกษาเชิงวิชาการนิยมแบ่งออกเป็น 4 นิกายหลัก ได้แก่ ลัทธิไวษณพ, ลัทธิไศวะ, ลัทธิศักติ และ ลัทธิสมารตะ นิกายต่าง ๆ นี้แตกต่างกันหลัก ๆ ที่เทพเจ้าองค์กลางที่บูชา, ธรรมเนียมและมุมมองต่อการหลุดพ้น Julius J. Lipner ได้ระบุไว้ว่าการแบ่งนิกายของศาสนาฮินดูนั้นแตกต่างจากในศาสนาหลักอื่น ๆ ของโลก เพราะนิกายของศาสนาฮินดูนั้นคลุมเครือกับการฝึกฝนของบุคคลมากกว่า เป็นที่มาของคำว่า "Hindu polycentrism" (หลากหลายนิยมฮินดู, ฮินดูตามท้องถิ่น)

 
ปัญจเทวะ คือเทพเจ้าทั้ง 5 ที่ได้รับการบูชาพร้อมกันในลัทธิสมารตะ

ลัทธิไวษณพ บูชาพระวิษณุ และปางอวตารของพระองค์ โดยเฉพาะ พระกฤษณะ และ พระราม ลักษณะของนิกายนี้โดยทั่วไป ไม่ใช่ลักษณะนักพรตติดอาราม แต่มุ่งเน้นไปที่กิจกรรมชุมชนและการปฏิบัติที่นับถือศรัทธา ความรักสนุกนี้มีที่มาจากการสื่อนัย ๆ ถึงลักษณะอัน "ขี้เล่น ร่าเริง และสนุกสนาน" ของพระกฤษณะรวมถึงอวตารองค์อื่น ๆ พิธีกรรมและการปฏิบัติจึงมักเต็มไปด้วยการระบำในชุมชน, ขับร้องดนตรี ทั้ง กีรตัน (Kirtan) และ ภชัน (Bhajan) โดยเชื่อกันว่าเสียงและดนตรีเหล่านี้จะมีพลังในการช่วยทำสมาธิและมีพลังอำนาจเชิงความเชื่อ การเฉลิมฉลองและพิธีกรรมในศาสนสถานของไวษณพมักมีความประณีต ละเอียดลออ ส่วนรากฐานเชิงศาสนศาสตร์ของไวษณพนั้นมาจากภควัทคีตา, รามายณะ และปุราณะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระวิษณุ

ลัทธิไศวะ มุ่งเน้นที่พระศิวะ ศาสนิกชนไศวะมีแนวโน้มไปทางปัจเจกพรตนิยม (ascetic individualism) และแตกออกเป็นนิกายแยกย่อยได้อีก แนวทางปฏิบัติของไศวะรวมถึงการศรัทธาแบบภักติ แต่ความเชื่อโน้มเอียงมาทางนิกายแบบ nondual, monistic อย่าง Advaita และ ราชโยคะ ไศวะมีทั้งกลุ่มที่นิยมบูชาในศาสนสถาน บางส่วนก็มุ่งเน้นที่การปฏิบัติโยคะ ทั้งหมดเพื่อพยายามเข้าเป็นอันหนึ่งเดียวกันกับพระศิวะทั้งสิ้น ลักษณะขององค์อวาตารนั้นไม่ค่อยพบ และไศวะบางกลุ่มมองพระเป็นเจ้าในลักษณะของครึ่งบุรุษ-ครึ่งสตรี (อรธนารีศวร) ไศวะนั้นมีความเกี่ยวพันกับศักติ โดยมักมองว่าองค์ศักติเป็น พระชายาของพระศิวะ การเฉลิมฉลองประกอบด้วยเทศกาลต่าง ๆ และการมีส่วนร่วมในศาสนพิธีและเดินทางไปแสวงบุญยังสถานที่แสวงบุญเช่น Kumbh Mela ร่วมกับไวษณพ ลัทธิไศวะพบได้ทั่วไปในแถบหิมาลัย ตั้งแต่กัศมีร์จนถึงเนปาล และในอินเดียใต้

ลัทธิศักติ บูชาเทวีหรือศักติเป็นพระมารดาของจักรวาล พบมากเปนพิเศษในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกของอินเดีย เช่น รัฐอัสสัม และเบงกอลตะวันตก เทวีที่บูชานั้นมีรูปลักษณ์ตั้งแต่พระแม่ปราวตี ซึ่งทรงอ่อนโยนไปจนถึงองค์ที่มีพระลักษณะดุดันเช่น พระแม่ทุรคา และ พระแม่กาลี ศาสนิกชนเชื่อว่าศักติเป็นพลังอำนาจที่คอยรองรับความเป็นบุรุษ ระเบียบการปฏิบัติของศักติเกี่ยวข้องกับแนวทางแบบตันตระ การเฉลิมฉลองมีทั้งเทศกาล ซึ่งบางส่วนมีพิธีกรรมที่นำเทวรูปดินเหนียวแช่ลงให้ละลายไปในแม่น้ำ

ลัทธิสมารตะ บูชาเทพเจ้าฮินดูองค์หลัก ๆ ไปพร้อม ๆ กัน ได้แก่ พระศิวะ, พระวิษณุ, องค์ศักติ, พระคเนศ, พระสุริยะ และ พระการติเกยะ ธรรมเนียมแบบสมารตะนั้นเกิดขึ้นราวหลังยุคคาสสิกของฮินดูตอนต้น ราวเริ่มต้นคริสตกาล หลังศาสนาฮินดูเริ่มรวมเข้ากับการปฏิบัติแบบพราหมณ์และความเชื่อพื้นมือง

ประวัติ

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสนาฮินดู

คัมภีร์

คัมภีร์พระเวท เดิมมี 3 คัมภีร์ เรียกว่า "ไตรเวท" คือ

  1. ฤคเวท เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทสวดสดุดีพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย บรรดาเทพเจ้าที่ปรากฏในฤคเวทสัมหิตามีจำนวน 33 องค์ ทั้ง 33 องค์ ได้จัดแบ่งตามลักษณะของที่อยู่เป็น 3 กลุ่ม คือ เทพเจ้าที่อยู่ในสวรรค์ เทพเจ้าที่อยู่ในอากาศ และเทพเจ้าที่อยู่ในโลกมนุษย์ มีจำนวนกลุ่มละ 11 องค์
  2. ยชุรเวท เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทประพันธ์ที่ว่าด้วยสูตรสำหรับใช้ในการประกอบยัญพิธียชุเวทสัมหิตา แบ่งออกเป็น 2 แขนง คือ
    1. ศุกลชุรเวท หรือ ยชุรเวทขาว ได้แก่ ยชุรเวทที่บรรจุมนต์ หรือคำสวดและสูตรที่ต้องสวด
    2. กฤษณยชุรเวท หรือ ยชุรเวทดำ ได้แก่ ยชุรเวทที่บรรจุมนต์และคำแนะนำเกี่ยวกับการประกอบยัญพิธีบวงสรวง ตลอดทั้งคำอธิบายในการประกอบพิธีอีกด้วย
  3. สามเวท เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทประพันธ์อันเป็นบทสวดขับร้อง บทสวดในสามเวทสัมหิตามีจำนวน 1,549 บท ในจำนวนนี้มีเพียง 75 บท ที่มิได้ปรากฏในฤคเวท

ต่อมาได้เพิ่ม อรรถเวท เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทประพันธ์ที่ว่าด้วยมนต์หรือคาถาต่าง ๆ

หลักปฏิบัติ

ดูบทความหลักที่: อาศรมสี่

อาศรม หรือ อาศรม 4 หมายถึง ขั้นตอนการดำเนินชีวิตของชาวฮินดู เฉพาะที่เป็นพราหมณ์วัยต่าง ๆ โดยกำหนดเกณฑ์อายุคนไว้ 100 ปี แบ่งช่วงของการไว้ชีวิตไว้ 4 ตอน ตอนละ 25 ปี ช่วงชีวิตแต่ละช่วงเรียกว่า อาศรม (วัย) อาศรมทั้ง 4 ช่วง มีดังนี้

  1. พรหมจรยอาศรม เริ่มตั้งแต่อายุ 8-15 ปี ผู้เข้าสู่อาศรมนี้เรียกว่า พรหมจารี
  2. คฤหัสถาศรม อยู่ในช่วงอายุ 15-40 ปี
  3. วานปรัสถาศรม อยู่ในช่วงอายุ 40-60 ปี
  4. สันยัสตาศรม อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป สำหรับผู้ปรารถนาความหลุดพ้น (โมกษะ) จะออกบวชเป็น "สันยาสี" เมื่อบวชแล้วจะสึกไม่ได้

จุดมุ่งหมายสูงสุด

ดูบทความหลักที่: โมกษะ

โมกษะ คือ การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เช่นเดียวกับศาสนาพุทธ ถือว่าเป็นหลักความดีสูงสุด ดังคำสอนของศาสนาฮินดูสอนว่า "ผู้ใดรู้แจ้งในอาตมันของตนว่าเป็นหลักอาตมันของโลกพรหมแล้ว ผู้นั้นย่อมพ้นจากสังสาระการเวียนว่าย ตาย เกิด และจะไม่ปฏิสนธิอีก"

ศาสนสถาน

ดูบทความหลักที่: โบสถ์พราหมณ์

เชิงอรรถ

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ definition
  2. See:
    • Fowler: "probably the oldest religion in the world" (Fowler 1997, p. 1)
    • Klostermaier: The "oldest living major religion" in the world (Klostermaier 2007, p. 1)
    • Kurien: "There are almost a billion Hindus living on Earth. They practice the world's oldest religion..."
    • Bakker: "it [Hinduism] is the oldest religion".
    • Noble: "Hinduism, the world's oldest surviving religion, continues to provide the framework for daily life in much of South Asia."
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Lockard
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Hiltebeitel-synthesis
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ fusion
  6. Among its roots are the Vedic religion of the late Vedic period (Flood 1996, p. 16) and its emphasis on the status of Brahmans (Samuel 2010, pp. 48–53), but also the religions of the Indus Valley Civilisation (Narayanan 2009, p. 11; Lockard 2007, p. 52; Hiltebeitel 2007, p. 3; Jones & Ryan 2006, p. xviii) the Sramana or renouncer traditions of north-east India (Flood 1996, p. 16; Gomez 2013, p. 42), with possible roots in a non-Vedic Indo-European culture (Brokhorst 2007), and "popular or local traditions" (Flood 1996, p. 16).

อ้างอิง

  1. Kurien, Prema (2006). "Multiculturalism and American Religion: The Case of Hindu Indian Americans". Social Forces. 85 (2): 723–741. doi:10.1353/sof.2007.0015.
  2. Bakker, F.L. (1997). "Balinese Hinduism and the Indonesian State: Recent Developments". Bijdragen Tot de Taal-, Land- en Volkenkunde. Deel 153, 1ste Afl. (1): 15–41. doi:10.1163/22134379-90003943. JSTOR 27864809.
  3. Noble, Allen (1998). "South Asian Sacred Places". Journal of Cultural Geography. 17 (2): 1–3. doi:10.1080/08873639809478317.
  4. Knott 1998, pp. 5, Quote: "Many describe Hinduism as sanatana dharma, the eternal tradition or religion. This refers to the idea that its origins lie beyond human history".
  5. Bowker 2000; Harvey 2001, p. xiii;
  6. Samuel 2010, p. 193.
  7. Hiltebeitel 2007, p. 12; Flood 1996, p. 16; Lockard 2007, p. 50
  8. Narayanan 2009, p. 11.
  9. Fowler 1997, pp. 1, 7.
  10. พระบูรพมหาพฤฒาจารย์-พระมหาฤษีวยาสะ (กฤษณะ ไทวปายนะ วยาส)
  11. Hiltebeitel 2007, p. 12.
  12. Larson 2009.
  13. Larson 1995, p. 109-111.
  14. Michaels 2004.
  15. Zaehner, R. C. (1992). Hindu Scriptures. Penguin Random House. pp. 1–7. ISBN 978-0679410782.
  16. Klostermaier, Klaus (2007). A Survey of Hinduism (3rd ed.). State University of New York Press. pp. 46–52, 76–77. ISBN 978-0791470824.
  17. Frazier, Jessica (2011). The Continuum companion to Hindu studies. London: Continuum. pp. 1–15. ISBN 978-0-8264-9966-0.
  18. Bilimoria; และคณะ, บ.ก. (2007). Indian Ethics: Classical Traditions and Contemporary Challenges. p. 103. See also Koller, John (1968). "Puruṣārtha as Human Aims". Philosophy East and West. 18 (4): 315–319. doi:10.2307/1398408. JSTOR 1398408.
  19. Flood, Gavin (1997). "The Meaning and Context of the Puruṣārthas". ใน Lipner, Julius J. (บ.ก.). The Bhagavadgītā for Our Times. Oxford University Press. pp. 11–27. ISBN 978-0195650396.
  20. Brodd 2003.
  21. Herbert Ellinger (1996). Hinduism. Bloomsbury Academic. pp. 69–70. ISBN 978-1-56338-161-4.
  22. Dharma, Samanya; Kane, P. V. History of Dharmasastra. 2. pp. 4–5. See also Widgery, Alban (1930). "The Priniciples of Hindu Ethics". International Journal of Ethics. 40 (2): 232–245. doi:10.1086/intejethi.40.2.2377977.
  23. Julius J. Lipner (2009), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, ISBN 978-0-415-45677-7, pages 377, 398
  24. "Christianity 2015: Religious Diversity and Personal Contact" (PDF). gordonconwell.edu. January 2015. สืบค้นเมื่อ 29 May 2015.
  25. "Peringatan". sp2010.bps.go.id.
  26. Vertovec, Steven (2013). The Hindu Diaspora: Comparative Patterns. Routledge. pp. 1–4, 7–8, 63–64, 87–88, 141–143. ISBN 978-1-136-36705-2.
  27. "Hindus". Pew Research Center's Religion & Public Life Project. 18 December 2012. สืบค้นเมื่อ 14 February 2015.;
    . Pew Research Center's Religion & Public Life Project. 18 December 2012. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 1 February 2013. สืบค้นเมื่อ 14 February 2015. Unknown parameter |dead-url= ignored (help)
  28. Gavin Flood (1996), The meaning and context of the Purusarthas, in Julius Lipner (Editor) – The Fruits of Our Desiring, ISBN 978-1896209302, pp 16–21
  29. The Oxford Dictionary of World Religions, Dharma, The Oxford Dictionary of World Religions: "In Hinduism, dharma is a fundamental concept, referring to the order and custom which make life and a universe possible, and thus to the behaviours appropriate to the maintenance of that order."
  30. Dharma, The Columbia Encyclopedia, 6th Ed. (2013), Columbia University Press, Gale, ISBN 978-0787650155
  31. J. A. B. Van Buitenen, Dharma and Moksa, Philosophy East and West, Vol. 7, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1957), pp 33–40
  32. Swami Prabhupādā, A. C. Bhaktivedanta (1986), Bhagavad-gītā as it is, The Bhaktivedanta Book Trust, p. 16, ISBN 9780892132683
  33. John Koller, Puruṣārtha as Human Aims, Philosophy East and West, Vol. 18, No. 4 (Oct. 1968), pp. 315–319
  34. James Lochtefeld (2002), The Illustrated Encyclopedia of Hinduism, Rosen Publishing, New York, ISBN 0-8239-2287-1, pp 55–56
  35. Bruce Sullivan (1997), Historical Dictionary of Hinduism, ISBN 978-0810833272, pp 29–30
  36. Macy, Joanna (1975). "The Dialectics of Desire". Numen. 22 (2): 145–60. doi:10.2307/3269765. JSTOR 3269765.
  37. Monier Williams, काम, kāma Monier-Williams Sanskrit English Dictionary, pp 271, see 3rd column
  38. See:
    • The Hindu Kama Shastra Society (1925), The Kama Sutra of Vatsyayana, University of Toronto Archives, pp. 8;
    • A. Sharma (1982), The Puruṣārthas: a study in Hindu axiology, Michigan State University, ISBN 9789993624318, pp 9–12; See review by Frank Whaling in Numen, Vol. 31, 1 (Jul. 1984), pp. 140–142;
    • A. Sharma (1999), The Puruṣārthas: An Axiological Exploration of Hinduism, The Journal of Religious Ethics, Vol. 27, No. 2 (Summer, 1999), pp. 223–256;
    • Chris Bartley (2001), Encyclopedia of Asian Philosophy, Editor: Oliver Learman, ISBN 0-415-17281-0, Routledge, Article on Purushartha, pp 443
  39. R.C. Mishra, Moksha and the Hindu Worldview, Psychology & Developing Societies, Vol. 25, Issue 1, pp 23, 27
  40. J. A. B. Van Buitenen, Dharma and Moksa, Philosophy East and West, Vol. 7, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1957), pp. 33–40
  41. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ E. Deutsch pp 343-360
  42. see:
    • Karl Potter, Dharma and Mokṣa from a Conversational Point of View, Philosophy East and West, Vol. 8, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1958), pp. 49–63
    • Daniel H. H. Ingalls, Dharma and Moksha, Philosophy East and West, Vol. 7, No. 1/2 (Apr. – Jul. 1957), pp. 41–48;
    • Klaus Klostermaier, Mokṣa and Critical Theory, Philosophy East and West, Vol. 35, No. 1 (Jan. 1985), pp. 61–71
  43. Rinehart 2004, pp. 19–21
  44. J. Bruce Long (1980), The concepts of human action and rebirth in the Mahabharata, in Wendy D. O'Flaherty, Karma and Rebirth in Classical Indian Traditions, University of California Press, ISBN 978-0520039230, Chapter 2
  45. Julius J. Lipner (2010), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, ISBN 978-0-415-45677-7, page 8; Quote: "[...] one need not be religious in the minimal sense described to be accepted as a Hindu by Hindus, or describe oneself perfectly validly as Hindu. One may be polytheistic or monotheistic, monistic or pantheistic, even an agnostic, humanist or atheist, and still be considered a Hindu."
  46. Chakravarti, Sitansu (1991), Hinduism, a way of life, Motilal Banarsidass Publ., p. 71, ISBN 978-81-208-0899-7
  47. Werner 2005, pp. 13, 45
  48. Lance Nelson (2007), An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies (Editors: Orlando O. Espín, James B. Nickoloff), Liturgical Press, ISBN 978-0814658567, pages 562–563
  49. Flood 1996, p. 113, 134, 155–161, 167–168.
  50. SS Kumar (2010), Bhakti – the Yoga of Love, LIT Verlag Münster, ISBN 978-3643501301, pages 35–36
  51. Julius J. Lipner (2009), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, ISBN 978-0-415-45677-7, pages 371–375
  52. sometimes with Lakshmi, the spouse of Vishnu; or, as Narayana and Sri; see: Guy Beck (2006), Alternative Krishnas: Regional and Vernacular Variations on a Hindu Deity, State University of New York Press, ISBN 978-0791464168, page 65 and Chapter 5
  53. Edwin Francis Bryant; Maria Ekstrand (2013). The Hare Krishna Movement: The Postcharismatic Fate of a Religious Transplant. Columbia University Press. pp. 15–17. ISBN 978-0231508438.
  54. Edwin Bryant and Maria Ekstrand (2004), The Hare Krishna Movement, Columbia University Press, ISBN 978-0231122566, pages 38–43
  55. Bruno Nettl; Ruth M. Stone; James Porter; Timothy Rice (1998). The Garland Encyclopedia of World Music: South Asia : the Indian subcontinent. Routledge. pp. 246–247. ISBN 978-0824049461.
  56. Lance Nelson (2007), An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies (Editors: Orlando O. Espín, James B. Nickoloff), Liturgical Press, ISBN 978-0814658567, pages 1441, 376
  57. Roshen Dalal (2010). The Religions of India: A Concise Guide to Nine Major Faiths. Penguin Books. p. 209. ISBN 978-0-14-341517-6.
  58. James Lochtefeld (2010), God's Gateway: Identity and Meaning in a Hindu Pilgrimage Place, Oxford University Press, ISBN 978-0195386141
  59. Natalia Isaeva (1995), From Early Vedanta to Kashmir Shaivism, State University of New York Press, ISBN 978-0791424490, pages 141–145
  60. Massimo Scaligero (1955), The Tantra and the Spirit of the West, East and West, Vol. 5, No. 4, pages 291–296
  61. History: Hans Koester (1929), The Indian Religion of the Goddess Shakti, Journal of the Siam Society, Vol 23, Part 1, pages 1–18;
    Modern practices: June McDaniel (2010), Goddesses in World Culture, Volume 1 (Editor: Patricia Monaghan), ISBN 978-0313354656, Chapter 2
  62. Flood 1996, p. 113.
  63. Hiltebeitel, Alf (2013), "Hinduism", ใน Kitagawa, Joseph (บ.ก.), The Religious Traditions of Asia: Religion, History, and Culture, Routledge
  64. Flood 1996.



อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "web" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="web"/> ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>

ศาสนาฮ, นด, หร, อในเอกสารภาษาไทยน, ยมใช, คำว, ศาสนาพราหมณ, นด, เป, นศาสนาหน, งในกล, มศาสนาอ, นเด, และเป, นธรรมะหร, อแนวทางการใช, ตของผ, คน, note, เป, นท, บถ, ออย, างแพร, หลายในอน, ทว, ปอ, นเด, ยและบางส, วนในเอเช, ยตะว, นออกเฉ, ยงใต, โดยเฉพาะบนเกาะบาหล, เป, นท,. sasnahindu hruxinexksarphasaithyniymichkhawa sasnaphrahmn hindu epnsasnahnunginklumsasnaxinediy aelaepnthrrmahruxaenwthangkarichchiwitkhxngphukhn note 1 thiepnthinbthuxxyangaephrhlayinxnuthwipxinediyaelabangswninexechiytawnxxkechiyngit odyechphaabnekaabahli epnthiyxmrbknthwipwaepnsasnathiekaaekthisudinolk note 2 sasnikchnaelankwichakarbangklumeriyksasnahinduwaepn snatnthrrm hruxhnthangnirndrchwprawtisastrkhxngmnusychati 4 5 nkwichakarmkmxngsasnahinduwaepnkarphsmphsankhxng note 3 hruxsngekhraahmacak 6 note 4 wthnthrrm carit aelapraephnixnhlakhlayinxnuthwipxinediy 7 note 5 thimirakthanhlakhlay 8 note 6 aelaimmisasdahruxphurierimtngsasna 9 aetphuephyaephkhaphirphraewth yukhaerkerimkhux visiwyas thanepriybesmuxnepnsasdakhnhnung 10 karsngekhraahsasnahindu Hindu synthesis nierimmikhunrahwangraw 500 pikxnkhristkal thungkhristskrach 300 11 phayhlngkarsinsudlngkhxngyukhphraewth 1500 thung 500 kxnkhristkal 11 12 aelaecriyrungeruxnginxinediysmyklangipphrxmkbkaresuxmkhxngsasnaphuththinxnuthwipxinediy 13 thungaemwasasnahinducaetmipdwyprchyahlayaekhnng aetksamarthechuxmoyngthungknphanaenwkhidthimirwmkn phithikrrmthikhlaykhlungkn ckrwalwithyahindu khmphirhindu aela sthanthiaeswngbuy swnkhmphirkhxngsasnahindunncaaenkxxkepn sruti cakkarfng aela smrti cakkarca khmphirehlanimithngprchyahindu pramwleruxngprmprahindu phraewth oykha phithikrrm xakhm aelakarsrangobsthphrahmn epntn 14 khmphirelmsakhyidaek phraewth xupnisth phkhwthkhita ramayna aela xakhm 15 16 thima phupraphnth aelakhwamcringnirndrinkhmphirehlanilwnmibthbathsakhy aetsasnahindukmiaenwkhidhlksakhythisnbsnunkartngkhathamtxthimaaelaenuxkhwamkhxngkhmphirephuxihekhaicscthrrmtang idxyangluksung aelasrangpraephnihruxaenwkhidtxyxdinxnakht 17 sarasakhyinsasnahindukhux purusartha thngsi xnepncudmunghmayxnsmkhwrinchiwitkhxngmunsy idaek thrrma hnathi criythrrm xrrtha karecriyetibot hnathikarngan kama prasngkh aerngcungic aela omksa karhludphn karepnxisracakkarewiynwaytayekid 18 19 nxkcakni aenwkhidsakhyxun thiphbinsasnahinduyngrwmthung krrm karkratha phlkhxngkarkratha sngsarwt wngcrewiynwaytayekid aela karptibtioykha hnthangsuomksa thimixyuhlakhlayprchya 16 20 karptibtiinsasnahindu mithng pucha karbucha karswdmntaelarxngephlngswd chpa karptibtismathi sngskar phithikrrmepliynphan ethskalpracapiaelakarxxkedinthangaeswngbuytamoxkas sasnikchnbangswnlathingchiwitthangolkaelakaryudtidkbwtthu ephuxxksusnyasa thuxphrt xxkbwch ephuxekhasuomksa 21 sasnahinduyngennyathunghnathitlxdkal echn khwamktyyu suxsty imtharaystwaelaphukhn xhingsa kariceyn khwamxdthnxdkln karkhmictnexng aelakhwamemtta web 1 22 nikayinsasnahinduhlkmi 4 nikay khux lththiiwsnph lththiiswa lththiskti aelalththismarta 23 sasnahinduthuxepnsasnathimiphunbthuxmakthisudinolkepnxndbthi 3 misasnikchnsungeriykwa chawhindu xyuraw 1 15 phnlankhn hrux 15 16 khxngprachakrolk web 2 24 sasnahindumiphunbthuxmakthisudinxinediy enpal aela mxriechiys nxkcakniyngepnsasnahlkincnghwdbahli xinodniesiyechnkn 25 chumchnhindukhnadihyyngphbidinaekhribebiyn exechiytawnxxkechiyngit xemrikaehnux yuorp aexfrika aelapraethsxun 26 27 enuxha 1 khwamechux 1 1 purusartha 1 1 1 thrrma thangthithuktxng criya 1 1 2 xrrth 1 1 3 kama 1 1 4 omksa 1 2 krrm 1 3 omksa 1 4 aenwkhideruxngphraepneca 2 nikayhlk 3 prawti 4 khmphir 5 hlkptibti 6 cudmunghmaysungsud 7 sasnsthan 8 echingxrrth 9 xangxingkhwamechux aekikh phratrimurticahlk prakxbdwy phrawisnu phrasiwa aela phraphrhm sarasakhyinsasnahindumnwnewiynxyukbpraednkhxngthrrma sngsara omksa aelakarptibtioykha 20 purusartha aekikh dubthkhwamhlkthi purusartha sasnahindudngedimechuxwacudmunghmayinchiwitkhxngmnusymixyusiprakar idaek thrrma xrrtha kama aela omksa epahmaythngsinieriykrwmwa purusartha 18 19 thrrma thangthithuktxng criya aekikh thrrmathuxepncudmunghmaythichdecnthisudinsasnahindu 28 aenwkhidkhxngthrrmannrwmthungphvtikrrmthithuxwasxdkhlxngipkbrta hnthangthithaihthngchiwitaelackrwalkhngxyuid 29 aelayngrwmthunghnathi siththi kdraebiyb scthrrm aela karichchiwitxyangthukthang 30 thrrmahinduprakxbdwyhnathithangsasna criythrrmaelakhunthrrm aelahnathikhxngaetlabukhkhl rwmthungkarptibtitnaelanisythinaipsukhwamepnraebiyberiybrxykhxngsngkhm 30 Van Buitenen idekhyklawwa 31 thrrmannepnsingthisingmichiwitthnghmdthimixyucatxngyxmrbaelaekharphephuxyngphlihekidkarrksakhwamsamkhkhiaelakhwamsngberiybrxyinolk epnkaraeswnghaaelakardaeninkartamthrrmchatiaelakareriykhathiaethcring xnmibthbathinkarprxngdxngodythwkn 31 swn Brihadaranyaka Upanishad idrabuwathrrmakhux immisingidehnuxyingkwathrrma phuthixxnaexcaexachnaphuthiaekhngaekrngkwaidkdwythrrma thrrmannkhuxkhwamcring stya xyangaethcring dngnnemuxphuidphudkhwamcring epnxneriykidwaekhaphunn ideplngwacakhxngthrrma ephraathngkhu khwamcring aela thrrma epnkhathimikhwamhmayediywkn Brihadaranyaka Upanishad phrakvsna inmhapharta idthrngniyamthrrmwaepn karsnbsnunkhwamcringthnginolkniaelaolkxun Mbh 12 110 11 khasa snatna aeplwa nirndr dngnn snatnthrrm cungaeplsa khwamcringxnepnnirndr immicuderimtn aelaimmithisinsud 32 xrrth aekikh dubthkhwamhlkthi xrrtha xrrtha hrux xartha khux karaeswnghakhwammngkhngxyangmiepahmayaelamikhunthrrm ephuxkardarngchiwit pharaphukphn aelakhwammngkhngthangthrphysin xrrthayngrwmthungchiwitthangkaremuxng karthut aelakarmikhwamepnxyuthidi aenwkhidnirwmthung withichiwitthukmumkhxngchiwit kickrrmaelathrphyakrthnghmdthichwyihkhnhnungsamarthmikhwammngkhngthangxachiphkarnganaelathangkarengin 33 karaeswnghaxrrthaxyangphxehmaaphxkhwrthuxepnepahmaysakhykhxngchiwitmnusyinsasnahindu 34 35 kama aekikh dubthkhwamhlkthi kam kam aeplwa khwamprarthna khwamrk chxb hlngihl thngmiaelaprascakkhwamkhidechingchusawaelaxarmnthangephs aelahmaythungkhwamsukh khwamyindi xnekidcaksmphstang khxngrangkay 36 37 insasnahindu kamathuxepnswncaepnthichwyihchiwitkhngxyuidxyangaekhngaerng thngnithngnnyngtxngxyuphayitkarnaphakhxngthrrma xrrtha aelaomksa 38 omksa aekikh dubthkhwamhlkthi omksa omksa hrux mukhti thuxepnepahmaysungthisudinsasnahindu omksaxachmaythungkarhludphncakkhwamthukkh aelacaksngsara karewiynwaytayekid 39 40 innikayxun khxngsasnahinduechn Monistic thuxwaomksaepnepahmaythiekhathungidinchatipccubn epnsthanakhxngkhwamsukhphankarrbrutnexng karekhaicthrrmchatikhxngcitwiyyankhxngesriphaphaela trahnkwackrwalthnghmdepnswnhnungkhxngtn 41 42 krrm aekikh dubthkhwamhlkthi krrm omksa aekikh dubthkhwamhlkthi omksa epahmaysungsudkhxngchiwiteriykwa omksa nirwana hrux smathi epnthiekhaicknxyuhlayaebb karekhaepnhnungediywkbphraepneca karekhasukhwamsmphnthnirndrkbphraeca karepnhnungediywkbckrwal karlathingkhwamehnaektwcnsin karhludphncaksngsara sungkhuxkarimekidxik karimthukkhxik 43 44 aenwkhideruxngphraepneca aekikh murtikhxngphraram phralksmn aela phrasida inkhbwnaeh dubthkhwamhlkthi xiswr aenwkhid aela phraepnecainsasnahindu swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsasnahindunnmihlaykhwamechux mitngaet exkethwniym phhuethwniym srrphntrethwniym srrphethwniym srrphethwniym exkethwniym ipcnthung xethwniym 45 46 web 3 nikayhlk aekikhdubthkhwamhlkthi nikayinsasnahindu sasnahinduimmihlkkhasxnhlkklang inkhnaediywknchawhinduexngcanwnmakkimidxangwaepnkhxngnikayhruxpraephniid 47 xyangirktam inngansuksaechingwichakarniymaebngxxkepn 4 nikayhlk idaek lththiiwsnph lththiiswa lththiskti aela lththismarta 48 49 nikaytang niaetktangknhlk thiethphecaxngkhklangthibucha thrrmeniymaelamummxngtxkarhludphn 50 Julius J Lipner idrabuiwwakaraebngnikaykhxngsasnahindunnaetktangcakinsasnahlkxun khxngolk ephraanikaykhxngsasnahindunnkhlumekhruxkbkarfukfnkhxngbukhkhlmakkwa epnthimakhxngkhawa Hindu polycentrism hlakhlayniymhindu hindutamthxngthin 51 pycethwa khuxethphecathng 5 thiidrbkarbuchaphrxmkninlththismarta lththiiwsnph buchaphrawisnu 52 aelapangxwtarkhxngphraxngkh odyechphaa phrakvsna aela phraram 53 lksnakhxngnikayniodythwip imichlksnankphrttidxaram aetmungennipthikickrrmchumchnaelakarptibtithinbthuxsrththa khwamrksnuknimithimacakkarsuxny thunglksnaxn khieln raering aelasnuksnan khxngphrakvsnarwmthungxwtarxngkhxun 50 phithikrrmaelakarptibticungmketmipdwykarrabainchumchn khbrxngdntri thng kirtn Kirtan aela phchn Bhajan odyechuxknwaesiyngaeladntriehlanicamiphlnginkarchwythasmathiaelamiphlngxanacechingkhwamechux 54 karechlimchlxngaelaphithikrrminsasnsthankhxngiwsnphmkmikhwampranit laexiydlxx 55 swnrakthanechingsasnsastrkhxngiwsnphnnmacakphkhwthkhita ramayna aelapuranatang thiekiywkhxngkbphrawisnu 56 lththiiswa mungennthiphrasiwa sasnikchniswamiaenwonmipthangpceckphrtniym ascetic individualism aelaaetkxxkepnnikayaeykyxyidxik 50 aenwthangptibtikhxngiswarwmthungkarsrththaaebbphkti aetkhwamechuxonmexiyngmathangnikayaebb nondual monistic xyang Advaita aela rachoykha 48 54 iswamithngklumthiniymbuchainsasnsthan bangswnkmungennthikarptibtioykha thnghmdephuxphyayamekhaepnxnhnungediywknkbphrasiwathngsin 57 lksnakhxngxngkhxwatarnnimkhxyphb aelaiswabangklummxngphraepnecainlksnakhxngkhrungburus khrungstri xrthnariswr iswannmikhwamekiywphnkbskti odymkmxngwaxngkhsktiepn phrachayakhxngphrasiwa 48 karechlimchlxngprakxbdwyethskaltang aelakarmiswnrwminsasnphithiaelaedinthangipaeswngbuyyngsthanthiaeswngbuyechn Kumbh Mela rwmkbiwsnph 58 lththiiswaphbidthwipinaethbhimaly tngaetksmircnthungenpal aelainxinediyit 59 lththiskti buchaethwihruxsktiepnphramardakhxngckrwal 50 phbmakepnphiessinrththangtawnxxkechiyngehnuxaelatawnxxkkhxngxinediy echn rthxssm aelaebngkxltawntk ethwithibuchannmiruplksntngaetphraaemprawti sungthrngxxnoynipcnthungxngkhthimiphralksnadudnechn phraaemthurkha aela phraaemkali sasnikchnechuxwasktiepnphlngxanacthikhxyrxngrbkhwamepnburus raebiybkarptibtikhxngsktiekiywkhxngkbaenwthangaebbtntra 60 karechlimchlxngmithngethskal sungbangswnmiphithikrrmthinaethwrupdinehniywaechlngihlalayipinaemna 61 lththismarta buchaethphecahinduxngkhhlk ipphrxm kn idaek phrasiwa phrawisnu xngkhskti phrakhens phrasuriya aela phrakartiekya 62 thrrmeniymaebbsmartannekidkhunrawhlngyukhkhassikkhxnghindutxntn rawerimtnkhristkal hlngsasnahinduerimrwmekhakbkarptibtiaebbphrahmnaelakhwamechuxphunmuxng 63 64 prawti aekikhdubthkhwamhlkthi prawtisasnahindu swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkhmphir aekikhkhmphirphraewth edimmi 3 khmphir eriykwa itrewth khux vkhewth epnkhmphirthirwbrwmbthswdsdudiphraphuepnecathnghlay brrdaethphecathipraktinvkhewthsmhitamicanwn 33 xngkh thng 33 xngkh idcdaebngtamlksnakhxngthixyuepn 3 klum khux ethphecathixyuinswrrkh ethphecathixyuinxakas aelaethphecathixyuinolkmnusy micanwnklumla 11 xngkh ychurewth epnkhmphirthirwbrwmbthpraphnththiwadwysutrsahrbichinkarprakxbyyphithiychuewthsmhita aebngxxkepn 2 aekhnng khux suklchurewth hrux ychurewthkhaw idaek ychurewththibrrcumnt hruxkhaswdaelasutrthitxngswd kvsnychurewth hrux ychurewthda idaek ychurewththibrrcumntaelakhaaenanaekiywkbkarprakxbyyphithibwngsrwng tlxdthngkhaxthibayinkarprakxbphithixikdwy samewth epnkhmphirthirwbrwmbthpraphnthxnepnbthswdkhbrxng bthswdinsamewthsmhitamicanwn 1 549 bth incanwnnimiephiyng 75 bth thimiidpraktinvkhewthtxmaidephim xrrthewth epnkhmphirthirwbrwmbthpraphnththiwadwymnthruxkhathatang hlkptibti aekikhdubthkhwamhlkthi xasrmsi xasrm hrux xasrm 4 hmaythung khntxnkardaeninchiwitkhxngchawhindu echphaathiepnphrahmnwytang odykahndeknthxayukhniw 100 pi aebngchwngkhxngkariwchiwitiw 4 txn txnla 25 pi chwngchiwitaetlachwngeriykwa xasrm wy xasrmthng 4 chwng midngni phrhmcryxasrm erimtngaetxayu 8 15 pi phuekhasuxasrmnieriykwa phrhmcari khvhsthasrm xyuinchwngxayu 15 40 pi wanprsthasrm xyuinchwngxayu 40 60 pi snystasrm xyuinchwngxayutngaet 60 pikhunip sahrbphuprarthnakhwamhludphn omksa caxxkbwchepn snyasi emuxbwchaelwcasukimidcudmunghmaysungsud aekikhdubthkhwamhlkthi omksa omksa khux karhludphncakkarewiynwaytayekid echnediywkbsasnaphuthth thuxwaepnhlkkhwamdisungsud dngkhasxnkhxngsasnahindusxnwa phuidruaecnginxatmnkhxngtnwaepnhlkxatmnkhxngolkphrhmaelw phunnyxmphncaksngsarakarewiynway tay ekid aelacaimptisnthixik sasnsthan aekikhdubthkhwamhlkthi obsthphrahmnechingxrrth aekikh xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux definition See Fowler probably the oldest religion in the world Fowler 1997 p 1 Klostermaier The oldest living major religion in the world Klostermaier 2007 p 1 Kurien There are almost a billion Hindus living on Earth They practice the world s oldest religion 1 Bakker it Hinduism is the oldest religion 2 Noble Hinduism the world s oldest surviving religion continues to provide the framework for daily life in much of South Asia 3 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Lockard xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Hiltebeitel synthesis xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux fusion Among its roots are the Vedic religion of the late Vedic period Flood 1996 p 16 and its emphasis on the status of Brahmans Samuel 2010 pp 48 53 but also the religions of the Indus Valley Civilisation Narayanan 2009 p 11 Lockard 2007 p 52 Hiltebeitel 2007 p 3 Jones amp Ryan 2006 p xviii the Sramana or renouncer traditions of north east India Flood 1996 p 16 Gomez 2013 p 42 with possible roots in a non Vedic Indo European culture Brokhorst 2007 and popular or local traditions Flood 1996 p 16 xangxing aekikh Kurien Prema 2006 Multiculturalism and American Religion The Case of Hindu Indian Americans Social Forces 85 2 723 741 doi 10 1353 sof 2007 0015 Bakker F L 1997 Balinese Hinduism and the Indonesian State Recent Developments Bijdragen Tot de Taal Land en Volkenkunde Deel 153 1ste Afl 1 15 41 doi 10 1163 22134379 90003943 JSTOR 27864809 Noble Allen 1998 South Asian Sacred Places Journal of Cultural Geography 17 2 1 3 doi 10 1080 08873639809478317 Knott 1998 pp 5 Quote Many describe Hinduism as sanatana dharma the eternal tradition or religion This refers to the idea that its origins lie beyond human history Bowker 2000 Harvey 2001 p xiii Samuel 2010 p 193 Hiltebeitel 2007 p 12 Flood 1996 p 16 Lockard 2007 p 50 Narayanan 2009 p 11 Fowler 1997 pp 1 7 phraburphmhaphvthacary phramhavsiwyasa kvsna ithwpayna wyas 11 0 11 1 Hiltebeitel 2007 p 12 Larson 2009 Larson 1995 p 109 111 Michaels 2004 Zaehner R C 1992 Hindu Scriptures Penguin Random House pp 1 7 ISBN 978 0679410782 16 0 16 1 Klostermaier Klaus 2007 A Survey of Hinduism 3rd ed State University of New York Press pp 46 52 76 77 ISBN 978 0791470824 Frazier Jessica 2011 The Continuum companion to Hindu studies London Continuum pp 1 15 ISBN 978 0 8264 9966 0 18 0 18 1 Bilimoria aelakhna b k 2007 Indian Ethics Classical Traditions and Contemporary Challenges p 103 See also Koller John 1968 Puruṣartha as Human Aims Philosophy East and West 18 4 315 319 doi 10 2307 1398408 JSTOR 1398408 19 0 19 1 Flood Gavin 1997 The Meaning and Context of the Puruṣarthas in Lipner Julius J b k The Bhagavadgita for Our Times Oxford University Press pp 11 27 ISBN 978 0195650396 20 0 20 1 Brodd 2003 Herbert Ellinger 1996 Hinduism Bloomsbury Academic pp 69 70 ISBN 978 1 56338 161 4 Dharma Samanya Kane P V History of Dharmasastra 2 pp 4 5 See also Widgery Alban 1930 The Priniciples of Hindu Ethics International Journal of Ethics 40 2 232 245 doi 10 1086 intejethi 40 2 2377977 Julius J Lipner 2009 Hindus Their Religious Beliefs and Practices 2nd Edition Routledge ISBN 978 0 415 45677 7 pages 377 398 Christianity 2015 Religious Diversity and Personal Contact PDF gordonconwell edu January 2015 subkhnemux 29 May 2015 Peringatan sp2010 bps go id Vertovec Steven 2013 The Hindu Diaspora Comparative Patterns Routledge pp 1 4 7 8 63 64 87 88 141 143 ISBN 978 1 136 36705 2 Hindus Pew Research Center s Religion amp Public Life Project 18 December 2012 subkhnemux 14 February 2015 Table Religious Composition by Country in Numbers 2010 Pew Research Center s Religion amp Public Life Project 18 December 2012 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 1 February 2013 subkhnemux 14 February 2015 Unknown parameter dead url ignored help Gavin Flood 1996 The meaning and context of the Purusarthas in Julius Lipner Editor The Fruits of Our Desiring ISBN 978 1896209302 pp 16 21 The Oxford Dictionary of World Religions Dharma The Oxford Dictionary of World Religions In Hinduism dharma is a fundamental concept referring to the order and custom which make life and a universe possible and thus to the behaviours appropriate to the maintenance of that order 30 0 30 1 Dharma The Columbia Encyclopedia 6th Ed 2013 Columbia University Press Gale ISBN 978 0787650155 31 0 31 1 J A B Van Buitenen Dharma and Moksa Philosophy East and West Vol 7 No 1 2 Apr Jul 1957 pp 33 40 Swami Prabhupada A C Bhaktivedanta 1986 Bhagavad gita as it is The Bhaktivedanta Book Trust p 16 ISBN 9780892132683 John Koller Puruṣartha as Human Aims Philosophy East and West Vol 18 No 4 Oct 1968 pp 315 319 James Lochtefeld 2002 The Illustrated Encyclopedia of Hinduism Rosen Publishing New York ISBN 0 8239 2287 1 pp 55 56 Bruce Sullivan 1997 Historical Dictionary of Hinduism ISBN 978 0810833272 pp 29 30 Macy Joanna 1975 The Dialectics of Desire Numen 22 2 145 60 doi 10 2307 3269765 JSTOR 3269765 Monier Williams क म kama Monier Williams Sanskrit English Dictionary pp 271 see 3rd column See The Hindu Kama Shastra Society 1925 The Kama Sutra of Vatsyayana University of Toronto Archives pp 8 A Sharma 1982 The Puruṣarthas a study in Hindu axiology Michigan State University ISBN 9789993624318 pp 9 12 See review by Frank Whaling in Numen Vol 31 1 Jul 1984 pp 140 142 A Sharma 1999 The Puruṣarthas An Axiological Exploration of Hinduism The Journal of Religious Ethics Vol 27 No 2 Summer 1999 pp 223 256 Chris Bartley 2001 Encyclopedia of Asian Philosophy Editor Oliver Learman ISBN 0 415 17281 0 Routledge Article on Purushartha pp 443 R C Mishra Moksha and the Hindu Worldview Psychology amp Developing Societies Vol 25 Issue 1 pp 23 27 J A B Van Buitenen Dharma and Moksa Philosophy East and West Vol 7 No 1 2 Apr Jul 1957 pp 33 40 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux E Deutsch pp 343 360 see Karl Potter Dharma and Mokṣa from a Conversational Point of View Philosophy East and West Vol 8 No 1 2 Apr Jul 1958 pp 49 63 Daniel H H Ingalls Dharma and Moksha Philosophy East and West Vol 7 No 1 2 Apr Jul 1957 pp 41 48 Klaus Klostermaier Mokṣa and Critical Theory Philosophy East and West Vol 35 No 1 Jan 1985 pp 61 71 Rinehart 2004 pp 19 21 J Bruce Long 1980 The concepts of human action and rebirth in the Mahabharata in Wendy D O Flaherty Karma and Rebirth in Classical Indian Traditions University of California Press ISBN 978 0520039230 Chapter 2 Julius J Lipner 2010 Hindus Their Religious Beliefs and Practices 2nd Edition Routledge ISBN 978 0 415 45677 7 page 8 Quote one need not be religious in the minimal sense described to be accepted as a Hindu by Hindus or describe oneself perfectly validly as Hindu One may be polytheistic or monotheistic monistic or pantheistic even an agnostic humanist or atheist and still be considered a Hindu Chakravarti Sitansu 1991 Hinduism a way of life Motilal Banarsidass Publ p 71 ISBN 978 81 208 0899 7 Werner 2005 pp 13 45 48 0 48 1 48 2 Lance Nelson 2007 An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies Editors Orlando O Espin James B Nickoloff Liturgical Press ISBN 978 0814658567 pages 562 563 Flood 1996 p 113 134 155 161 167 168 50 0 50 1 50 2 50 3 SS Kumar 2010 Bhakti the Yoga of Love LIT Verlag Munster ISBN 978 3643501301 pages 35 36 Julius J Lipner 2009 Hindus Their Religious Beliefs and Practices 2nd Edition Routledge ISBN 978 0 415 45677 7 pages 371 375 sometimes with Lakshmi the spouse of Vishnu or as Narayana and Sri see Guy Beck 2006 Alternative Krishnas Regional and Vernacular Variations on a Hindu Deity State University of New York Press ISBN 978 0791464168 page 65 and Chapter 5 Edwin Francis Bryant Maria Ekstrand 2013 The Hare Krishna Movement The Postcharismatic Fate of a Religious Transplant Columbia University Press pp 15 17 ISBN 978 0231508438 54 0 54 1 Edwin Bryant and Maria Ekstrand 2004 The Hare Krishna Movement Columbia University Press ISBN 978 0231122566 pages 38 43 Bruno Nettl Ruth M Stone James Porter Timothy Rice 1998 The Garland Encyclopedia of World Music South Asia the Indian subcontinent Routledge pp 246 247 ISBN 978 0824049461 Lance Nelson 2007 An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies Editors Orlando O Espin James B Nickoloff Liturgical Press ISBN 978 0814658567 pages 1441 376 Roshen Dalal 2010 The Religions of India A Concise Guide to Nine Major Faiths Penguin Books p 209 ISBN 978 0 14 341517 6 James Lochtefeld 2010 God s Gateway Identity and Meaning in a Hindu Pilgrimage Place Oxford University Press ISBN 978 0195386141 Natalia Isaeva 1995 From Early Vedanta to Kashmir Shaivism State University of New York Press ISBN 978 0791424490 pages 141 145 Massimo Scaligero 1955 The Tantra and the Spirit of the West East and West Vol 5 No 4 pages 291 296 History Hans Koester 1929 The Indian Religion of the Goddess Shakti Journal of the Siam Society Vol 23 Part 1 pages 1 18 Modern practices June McDaniel 2010 Goddesses in World Culture Volume 1 Editor Patricia Monaghan ISBN 978 0313354656 Chapter 2 Flood 1996 p 113 Hiltebeitel Alf 2013 Hinduism in Kitagawa Joseph b k The Religious Traditions of Asia Religion History and Culture Routledge Flood 1996 sasnakhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb sasnahindu bthkhwamekiywkbsasnaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy sasna xangxingphidphlad mipayrabu lt ref gt sahrbklumchux web aetimphbpayrabu lt references group web gt thisxdkhlxngkn hruximmikarpid lt ref gt ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sasnahindu amp oldid 9449689, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม