fbpx
วิกิพีเดีย

ราชวงศ์โมริยะ

จักรวรรดิโมริยะ

แผนที่จักรวรรดิโมริยะสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช.
สัญลักษณ์:
เสาสิงห์พระเจ้าอโศก
ผู้ก่อตั้ง พระเจ้าจันทรคุปต์ เมารยะ
รัฐสมัยก่อนหน้า ราชวงศ์นันทะแห่งแคว้นมคธ
16 มหาชนบท
ภาษา ภาษาสันสกฤต
ภาษามาคธีปรากฤต
ภาษาบาลีปรากฤต
ภาษาปรากฤตอื่น ๆ
ศาสนา ศาสนาพราหมณ์ (ยุคพระเวท)
ศาสนาพุทธ
ศาสนาเชน
อาชีวก
จารวากะ
ความเชื่อในท้องถิ่น
เมืองหลวง ปาฏลีบุตร (ปัฏนา)
ประมุขแห่งรัฐ จักรพรรดิ
ประมุขลำดับแรก พระเจ้าจันทรคุปต์ เมารยะ
ประมุขลำดับสุดท้าย พระเจ้าพฤหทรถะ เมารยะ
รัฐบาล สมบูรณาญาสิทธิราชย์รวมศูนย์อำนาจร่วมกับเทวสิทธิ์ของกษัตริย์ ตามที่ปรากฏในคัมภีร์อรรถศาสตร์
การแบ่งเขตปกครอง 4 แคว้น:
ทศลี
อุชเชนี
สุวรรณคีรี
ตักศิลา
กลุ่มชนเผ่ากึ่งปกครองตนเอง
การบริหารราชการแผ่นดิน Inner Council of Ministers ("มนตรีบริษัท") under a Mahamantri ("มหามนตรี") with a larger assembly of ministers ("มนตรีนุมนตรีปริษัทมจะ").
Extensive network of officials from treasurers ("สันนิธตะ") to collectors ("สมหรรตะ") and clerks ("กรรมิกพ").
Provincial administration under regional viceroys ("กุมาระ" หรือ "อารยบุตร") with their own Mantriparishads and supervisory officials ("มหามัตตะ").
Provinces divided into districts run by lower officials and similar stratification down to individual villages run by headmen and supervised by Imperial officials ("โคปา").
พื้นที่ 5 ล้านตารางกิโลเมตร (เอเชียใต้และเอเชียกลางบางส่วน)
ประชากร 50 ล้าน (จำนวน 1 ใน 3 ของประชากรโลกยุคนั้น)
สกุลเงิน กหาปนะ
ดำรงอยู่ พ.ศ. 221 - 358 (322–185 ก่อน ค.ศ.)
ล่มสลาย รัฐประหารโดยปุษยมิตร ศุงคะ
รัฐที่สืบทอดต่อมา จักรวรรดิศุงคะ

โมริยะ (บาลี: โมริย) หรือ เมารยะ (สันสกฤต: मौर्य, เมารฺย) เป็นจักรวรรดิซึ่งมีเนื้อที่กว้างใหญ่และมีอิทธิพลมากที่สุดจักรวรรดิหนึ่งในอินเดีย ปกครองโดยราชวงศ์โมริยะ (สันสกฤต: मौर्य राजवंश, เมารฺย ราชวํศ) ตั้งแต่ พ.ศ. 221 - พ.ศ. 358 (321 - 185 ปี ก่อนคริสต์ศักราช) จักรวรรดิโมริยะมีรากฐานมาจากแคว้นมคธในบริเวณลุ่มแม่น้ำคงคา (ปัจจุบันคือรัฐพิหาร, ตะวันออกของรัฐอุตตรประเทศ และเบงกอล) ทางด้านตะวันออกของชมพูทวีป เมืองหลวงของจักรวรรดิตั้งอยู่ที่เมืองปาฏลีบุตร (ไม่ไกลจากปัฏนาปัจจุบัน)

ราชวงศ์โมริยะก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 221 (322 ปีก่อนคริสต์ศักราช) โดยเจ้าชายจันทรคุปต์เมารยะ ผู้โค่นล้มราชวงศ์นันทะ และทรงขยายอำนาจอย่างรวดเร็วไปทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศอินเดีย โดยการฉวยโอกาสจากความปั่นป่วนในท้องถิ่นต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากการถอยทัพไปทางตะวันตกของกองทัพกรีกและเปอร์เชียของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช เมื่อมาถึงปี พ.ศ. 223 (320 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จักรวรรดิโมริยะก็ครอบครองบริเวณทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย โจมตีและได้รับชัยชนะต่อแคว้นต่าง ๆ ที่เหลือของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช

ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุด จักรวรรดิโมริยะมีดินแดนทางตอนเหนือที่ติดกับแนวเทือกเขาหิมาลัย ทางตะวันออกไปจนถึงรัฐอัสสัมปัจจุบัน ทางตะวันตกเลยจากประเทศปากีสถาน ผนวกบาลูจิสถานและส่วนใหญ่ของอัฟกานิสถาน รวมทั้งเฮรัทและกันดะฮาร์ปัจจุบัน จักรวรรดิโมริยะขยายตัวไปยังบริเวณตอนกลางของอินเดียและทางตอนใต้โดยพระเจ้าจันทรคุปตเมารยะและพระเจ้าพินทุสาร แต่มิได้เข้าไปในบริเวณที่ยังไม่ได้สำรวจในบริเวณโอริศาปัจจุบัน

จักรวรรดิโมริยะเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดจักรวรรดิหนึ่งที่ปกครองชมพูทวีป และรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์องค์ที่ 3 ของราชวงศ์ ราวห้าสิบปีหลังสิ้นรัชกาลของพระองค์ อำนาจของจักรวรรดิเริ่มเสื่อมถอย และล่มสลายลงในปี พ.ศ. 358 (185 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เนื่องจากกษัตริย์องค์สุดท้ายทรงถูกพวกพราหมณ์ตระกูลศุงคะทำรัฐประหารและปลงพระชนม์ พร้อมทั้งได้สถาปนาจักรวรรดิศุงคะขึ้นแทนที่จักรวรรดิโมริยะ

ลำดับกษัตริย์

  1. พระเจ้าจันทรคุปตเมารยะ, พ.ศ. 221 – 245 (322 – 298 ปีก่อนคริสตกาล)
  2. พระเจ้าพินทุสาร, พ.ศ. 246 – 271 (297 – 272 ปีก่อนคริสตกาล)
  3. พระเจ้าอโศกมหาราช, พ.ศ. 270 – 311 (273 – 232 ปีก่อนคริสตกาล)
  4. พระเจ้าทศรถ, พ.ศ. 311 – 319 (232 – 224 ปีก่อนคริสตกาล)
  5. พระเจ้าสัมประติ, พ.ศ. 319 – 328 (224 – 215 ปีก่อนคริสตกาล)
  6. พระเจ้าศาลิศุกะ, พ.ศ. 328 – 341 (215 – 202 ปีก่อนคริสตกาล)
  7. พระเจ้าเทววรมัน, พ.ศ. 341 – 348 (202 – 195 ปีก่อนคริสตกาล)
  8. พระเจ้าศตธันวัน, พ.ศ. 348 – 356 (195 – 187 ปีก่อนคริสตกาล)
  9. พระเจ้าพฤหทรถะเมารยะ, พ.ศ. 356 – 358 (187 – 185 ปีก่อนคริสตกาล)

ราชอาณาจักรยุคกลางของอินเดีย

จักรวรรดิ/ราชอาณาจักร/ราชวงศ์ของยุคกลางของอินเดีย
ลำดับเวลา จักรวรรดิทางตอนเหนือ จักรวรรดิทางตอนใต้ จักรวรรดิตะวันตกเฉียงใต้

 ศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.
 ศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.
 ศตวรรษที่ 4 ก่อน ค.ศ.

 ศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.
 ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.

 ศตวรรษที่ 1 ก่อน ค.ศ.
 คริสต์ศตวรรษที่ 1


 คริสต์ศตวรรษที่ 2
 คริสต์ศตวรรษที่ 3
 คริสต์ศตวรรษที่ 4
 คริสต์ศตวรรษที่ 5
 คริสต์ศตวรรษที่ 6
 คริสต์ศตวรรษที่ 7
 คริสต์ศตวรรษที่ 8
 คริสต์ศตวรรษที่ 9
 คริสต์ศตวรรษที่ 10
 คริสต์ศตวรรษที่ 11


  • กุนินทะ (Kuninda)



  • ซาทรัปตะวันตก (Western Satraps)



  • หรรษวรรธนะ (Harshavardhana)


  • ปาละ (Pala)
  • โสลังกี (Solanki)
  • เสนะ (Sena)







  • กาลาบราส (Kalabhras)
  • กทัมพะ (Kadamba)
  • ปัลลวะ (Pallava)


  • ราษฏรกูฏ (Rashtrakuta)


  • จาลุกยะตะวันตก (W Chalukyas)
  • ฮอยซาลา (Hoysala)

(ปกครองโดยเปอร์เซีย)
(การพิชิตของกรีก)


  • อินเดีย-กรีก


  • อินเดีย-ซิเธียน (Indo-Scythians)
  • อินเดีย-พาเธียน (Indo-Parthians)
  • กุษาณะ (Indo-Scythians)



  • อินเดีย-ซาสซานิยะห์ (Indo-Sassanid)
  • Kidarite Kingdom (Kidarite)
  • อินโด-เฮ็พทาไลท์ (Huna)


(การพิชิตของอิสลาม)

  • Shahi (Shahi)

(จักรวรรดิอิสลาม)

ประวัติศาสตร์อินเดีย - รัฐสิ้นสภาพในประเทศอินเดีย - รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย

อ้างอิง

  1. Peter Turchin, Jonathan M. Adams, and Thomas D. Hall. East-West Orientation of Historical Empires. University of Connecticut, November 2004.
  2. Roger Boesche (2003). "Kautilya’s Arthashastra on War and Diplomacy in Ancient India", The Journal of Military History 67 (p. 12).
  3. Colin McEvedy and Richard Jones (1978), "Atlas of World Population History", Facts on File (p. 342-351). New York.

ราชวงศ, โมร, ยะ, กรวรรด, โมร, ยะ, แผนท, กรวรรด, โมร, ยะสม, ยพระเจ, าอโศกมหาราช, ญล, กษณ, เสาส, งห, พระเจ, าอโศกผ, อต, พระเจ, าจ, นทรค, ปต, เมารยะร, ฐสม, ยก, อนหน, ราชวงศ, นทะแห, งแคว, นมคธ, มหาชนบทภาษา, ภาษาส, นสกฤตภาษามาคธ, ปรากฤตภาษาบาล, ปรากฤตภาษาปรากฤตอ, ๆ. ckrwrrdiomriya aephnthickrwrrdiomriyasmyphraecaxoskmharach sylksn esasinghphraecaxoskphukxtng phraecacnthrkhupt emaryarthsmykxnhna rachwngsnnthaaehngaekhwnmkhth 16 mhachnbthphasa phasasnskvtphasamakhthiprakvtphasabaliprakvtphasaprakvtxun sasna sasnaphrahmn yukhphraewth sasnaphuththsasnaechnxachiwkcarwakakhwamechuxinthxngthinemuxnghlwng patlibutr ptna pramukhaehngrth ckrphrrdipramukhladbaerk phraecacnthrkhupt emaryapramukhladbsudthay phraecaphvhthrtha emaryarthbal smburnayasiththirachyrwmsunyxanacrwmkbethwsiththikhxngkstriy tamthipraktinkhmphirxrrthsastrkaraebngekhtpkkhrxng 4 aekhwn thslixuchechnisuwrrnkhiritksilaklumchnephakungpkkhrxngtnexngkarbriharrachkaraephndin Inner Council of Ministers mntribristh under a Mahamantri mhamntri with a larger assembly of ministers mntrinumntripristhmca Extensive network of officials from treasurers snnithta to collectors smhrrta and clerks krrmikph Provincial administration under regional viceroys kumara hrux xarybutr with their own Mantriparishads and supervisory officials mhamtta Provinces divided into districts run by lower officials and similar stratification down to individual villages run by headmen and supervised by Imperial officials okhpa phunthi 5 lantarangkiolemtr 1 exechiyitaelaexechiyklangbangswn prachakr 50 lan 2 canwn 1 in 3 khxngprachakrolkyukhnn 3 skulengin khapnadarngxyu ph s 221 358 322 185 kxn kh s lmslay rthpraharodypusymitr sungkharththisubthxdtxma ckrwrrdisungkhaomriya bali omriy hrux emarya snskvt म र य emar y epnckrwrrdisungmienuxthikwangihyaelamixiththiphlmakthisudckrwrrdihnunginxinediy pkkhrxngodyrachwngsomriya snskvt म र य र जव श emar y rachws tngaet ph s 221 ph s 358 321 185 pi kxnkhristskrach ckrwrrdiomriyamirakthanmacakaekhwnmkhthinbriewnlumaemnakhngkha pccubnkhuxrthphihar tawnxxkkhxngrthxuttrpraeths aelaebngkxl thangdantawnxxkkhxngchmphuthwip emuxnghlwngkhxngckrwrrditngxyuthiemuxngpatlibutr imiklcakptnapccubn rachwngsomriyakxtngkhunemux ph s 221 322 pikxnkhristskrach odyecachaycnthrkhuptemarya phuokhnlmrachwngsnntha aelathrngkhyayxanacxyangrwderwipthangtxnklangaelatawntkkhxngpraethsxinediy odykarchwyoxkascakkhwampnpwninthxngthintang thiekidkhunhlngcakkarthxythphipthangtawntkkhxngkxngthphkrikaelaepxrechiykhxngphraecaxelksanedxrmharach emuxmathungpi ph s 223 320 pikxnkhristskrach ckrwrrdiomriyakkhrxbkhrxngbriewnthangtawntkechiyngehnuxkhxngxinediy ocmtiaelaidrbchychnatxaekhwntang thiehluxkhxngphraecaxelksanedxrmharachinsmythirungeruxngthisud ckrwrrdiomriyamidinaednthangtxnehnuxthitidkbaenwethuxkekhahimaly thangtawnxxkipcnthungrthxssmpccubn thangtawntkelycakpraethspakisthan phnwkbalucisthanaelaswnihykhxngxfkanisthan rwmthngehrthaelakndaharpccubn ckrwrrdiomriyakhyaytwipyngbriewntxnklangkhxngxinediyaelathangtxnitodyphraecacnthrkhuptemaryaaelaphraecaphinthusar aetmiidekhaipinbriewnthiyngimidsarwcinbriewnoxrisapccubnckrwrrdiomriyaepnckrwrrdithiihythisudckrwrrdihnungthipkkhrxngchmphuthwip aelarungeruxngthisudinrchsmyphraecaxoskmharach kstriyxngkhthi 3 khxngrachwngs rawhasibpihlngsinrchkalkhxngphraxngkh xanackhxngckrwrrdierimesuxmthxy aelalmslaylnginpi ph s 358 185 pikxnkhristskrach enuxngcakkstriyxngkhsudthaythrngthukphwkphrahmntrakulsungkhatharthpraharaelaplngphrachnm phrxmthngidsthapnackrwrrdisungkhakhunaethnthickrwrrdiomriyaladbkstriy aekikhphraecacnthrkhuptemarya ph s 221 245 322 298 pikxnkhristkal phraecaphinthusar ph s 246 271 297 272 pikxnkhristkal phraecaxoskmharach ph s 270 311 273 232 pikxnkhristkal phraecathsrth ph s 311 319 232 224 pikxnkhristkal phraecasmprati ph s 319 328 224 215 pikxnkhristkal phraecasalisuka ph s 328 341 215 202 pikxnkhristkal phraecaethwwrmn ph s 341 348 202 195 pikxnkhristkal phraecastthnwn ph s 348 356 195 187 pikxnkhristkal phraecaphvhthrthaemarya ph s 356 358 187 185 pikxnkhristkal rachxanackryukhklangkhxngxinediy aekikhckrwrrdi rachxanackr rachwngskhxngyukhklangkhxngxinediyladbewla ckrwrrdithangtxnehnux ckrwrrdithangtxnit ckrwrrditawntkechiyngit stwrrsthi 6 kxn kh s stwrrsthi 5 kxn kh s stwrrsthi 4 kxn kh s stwrrsthi 3 kxn kh s stwrrsthi 2 kxn kh s stwrrsthi 1 kxn kh s khriststwrrsthi 1 khriststwrrsthi 2 khriststwrrsthi 3 khriststwrrsthi 4 khriststwrrsthi 5 khriststwrrsthi 6 khriststwrrsthi 7 khriststwrrsthi 8 khriststwrrsthi 9 khriststwrrsthi 10 khriststwrrsthi 11 mkhth Magadha sisunakh Shishunaga nntha Nanda klingkha Kalinga omriya Maurya sungkha Sunga kunintha Kuninda sathrptawntk Western Satraps khupta Gupta hrrswrrthna Harshavardhana pala Pala oslngki Solanki esna Sena satwahna Satavahana pnthya Pandya ocla Chola ecra Chera kalabras Kalabhras kthmpha Kadamba pllwa Pallava calukya Chalukya rastrkut Rashtrakuta calukyatawntk W Chalukyas hxysala Hoysala khnthara Gandhara pkkhrxngodyepxresiy karphichitkhxngkrik xinediy krik xinediy siethiyn Indo Scythians xinediy phaethiyn Indo Parthians kusana Indo Scythians xinediy sassaniyah Indo Sassanid Kidarite Kingdom Kidarite xinod ehphthailth Huna karphichitkhxngxislam Shahi Shahi ckrwrrdixislam prawtisastrxinediy rthsinsphaphinpraethsxinediy rthsinsphaphinthwipexechiyxangxing aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb rachwngsomriya Peter Turchin Jonathan M Adams and Thomas D Hall East West Orientation of Historical Empires University of Connecticut November 2004 Roger Boesche 2003 Kautilya s Arthashastra on War and Diplomacy in Ancient India The Journal of Military History 67 p 12 Colin McEvedy and Richard Jones 1978 Atlas of World Population History Facts on File p 342 351 New York bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title rachwngsomriya amp oldid 9404438, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม