fbpx
วิกิพีเดีย

เรขาคณิตเชิงพีชคณิต

 เรขาคณิตเชิงพีชคณิต (อังกฤษ: Algebraic geometry) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่เริ่มแรกศึกษารากของพหุนามหลายตัวแปร โดยอาศัยวิธีการทางพีชคณิตนามธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องมือจากพีชคณิตสลับที่เพื่อใช้การแก้ปัญหาทางเรขาคณิตเกี่ยวกับเซตของรากของพหุนามดังกล่าว

พื้นผิวตอกเกลียตติ (Togliatti surface) เป็นพื้นผิวพีชคณิตที่มีดีกรีเท่ากับห้า รูปนี้จำลองส่วนหนึ่งของโลคัสค่าจริงของพื้นผิวดังกล่าว

วัตถุพื้นฐานของการศึกษาในเรขาคณิตเชิงพีชคณิตคือวาไรตีเชิงพีชคณิต (Algebraic variety) ซึ่งเป็นผลเฉลยของระบบสมการพหุนามเมื่อมองว่าเป็นวัตถุเรขาคณิต ตัวอย่างวาไรตีเชิงพีชคณิตที่ได้รับการศึกษามากที่สุด เช่น เส้นโค้งเชิงพีชคณิตระนาบ ซึ่งรวมถึง เส้นตรง วงกลม พาราโบลา วงรี ไฮเพอร์โบลา, เส้นโค้งคิวบิก เช่น เส้นโค้งเชิงวงรี และเส้นโค้งควอร์ติกเช่น เลมนิสเคต และ วงรีแคสสินี เส้นโค้งข้างต้นมีจุดบนเส้นโค้งบางจุดที่มีความสำคัญและมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น จุดเอกฐาน จุดเปลี่ยนเว้า และจุดที่ตำแหน่งอนันต์ ส่วนทฤษฎีขั้นสูงของเรขาคณิตเชิงพีชคณิตสนใจทอพอโลยีของเส้นโค้งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างเส้นโค้งแต่ละเส้น

เรขาคณิตเชิงพีชคณิตเป็นหัวใจสำคัญของคณิตศาสตร์สมัยใหม่ และมีความเชื่อมโยงไปยังสาขาต่าง ๆ จำนวนมาก เช่น การวิเคราะห์เชิงซ้อน ทอพอโลยี และ ทฤษฎีจำนวน ตลอดจนมีบทประยุกต์ในการออกแบบการทดลองในสถิติเชิงคณิตศาสตร์

แนวคิดพื้นฐาน

รากของระบบพหุนาม

 
ทรงกลมและวงกลมเอียง

ในเรขาคณิตเชิงพีชคณิต นักคณิตศาสตร์ศึกษารากของระบบสมการพหุนาม ซึ่งสามารถมองได้ว่าเป็นเซตของจุดในปริภูมิมิติต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น ทรงกลมที่มีรัศมีเท่ากับ 1 ในปริภูมิแบบยุคลิดสามมิติ R3 เป็นเซตของจุด (x,y,z) ∈ R3 ทั้งหมดที่ทำให้

 

อีกตัวอย่างหนึ่ง วงกลมเอียง ใน R3 ซึ่งเกิดจากเซตของจุด (x,y,z) ทั้งหมดที่สอดคล้องกับระบบสมการพหุนามสองสมการ

 

วาไรตีเชิงพีชคณิต

ดูบทความหลักที่: วาไรตีเชิงพีชคณิต

วาไรตีเชิงพีชคณิต (Algebraic variety) เป็นวัตถุพื้นฐานที่ศึกษาในเรขาคณิตเชิงพีชคณิต ในที่นี้เราสนใจวาไรตีในเรขาคณิตเชิงพีชคณิตคลาสสิค ซึ่งมีนิยามดังนี้

วาไรตี V เหนือ Rn (หรือ Cn) เป็นเซตของจุด (x1,...,xn) ที่สอดคล้องกับระบบสมการพหนุม fi (x1,...,xn) สำหรับแต่ละ i = 1, 2, ...

เส้นโค้งเชิงพีชคณิตคือวาไรตีเชิงพีชคณิตที่มี n = 2 วาไรตีเชิงพีชคณิตที่พื้นฐานที่สุด ได้แก่ วาไรตีสัมพรรค (Affine variety) และวาไรตีเชิงภาพฉาย หรือวาไรตีโพรเจคทีฟ (Projective variety)

ฟังก์ชันพหุนามและเซตเชิงพีชคณิต

ดูบทความหลักที่: เซตเชิงพีชคณิต

ให้   เป็นฟิลด์ ในเรขาคณิตเชิงพีชคณิตคลาสสิกนิยมใช้ฟิลด์จำนวนเชิงซ้อน C แต่เราสามารถเปลี่ยน C เป็นฟีลด์ที่มีสมบัติปิดเชิงพีชคณิตใด ๆ ได้ (นั่นคือทุกพหุนามดีกรีมากกว่า 1 ในฟิลด์   มีรากเสมอ) โดยที่ทฤษฎีทั่วไปยังคงเป็นจริง

เราสนใจปริภูมิสัมพรรค (Affine space) มิติ n เหนือฟิลด์ k ซึ่งเขียนแทนด้วย   (บางครั้งเขียน   เมื่อ   ชัดเจนจากบริบท) สังเกตว่า หากเรากำหนดระบบพิกัดฉากให้   แล้ว   จะกลายเป็นปริภูมิเวกเตอร์   เหตุผลที่เราไม่พิจารณา   โดยตรงก็เพื่อ "ลืม" ว่า   มีโครงสร้างเป็นปริภูมิเวกเตอร์

ฟังก์ชัน   จะเป็น ฟังก์ชันพหุนาม (หรือ ฟังก์ชันปกติ) หากสามารถเขียนเป็นพหุนามได้ นั่นคือถ้ามีพหุนาม   ที่ทำให้   สำหรับทุกจุด   ที่มีพิกัด   ใน   ในกรณีที่ฟีลด์ของเราเป็นฟิลด์ปิดเชิงพีชคณิต (หรือโดยทั่วไปกว่าเมื่อฟิลด์เป็นฟิลด์อนันต์) จะมีความสัมพันธ์ 1-1 ทั่วถึงระหว่างฟังก์ชันพหุนามและพหุนามใน   ซึ่งทำให้เซตของฟังก์ชันพหุนามทั้งหมดเป็นริง เรียกว่า ริงของฟังก์ชันพหุนาม และเขียนแทนด้วย  

ให้   เป็นเซตของพหุนามใน   เซตศูนย์ หรือ เซตแวนิชชิง (Zero set หรือ Vanishing set) ของ S คือเซต   ของจุดทั้งหมดใน   ที่ทำให้พหุนามทุกตัวใน   เป็นศูนย์ที่จุดนั้น ตามนิยามด้านล่าง

 

จะเรียกสับเซต   ใด ๆ ของ   ว่าเป็น เซตเชิงพีชคณิต (Algebraic set) ถ้าหาก   สามารถเขียนได้ในรูป   สำหรับบางเซต  

ความสมมูลระหว่างเรขาคณิต-พีชคณิต

เราสนใจปัญหาที่ว่า หากระบุสับเซต   ใด ๆ ของ   มา สามารถหาเซตของพหุนาม   ที่ก่อกำเนิด   (หรือก็คือ  ) ได้หรือไม่

นิยามเซต   แทนเซตของพหุนามทั้งหมดที่เซตศูนย์ของมันมี   เป็นสับเซต สัญลักษณ์   มาจากสมบัติที่ว่าเซตดังกล่าวเป็นไอดีลของ  

จากนิยามข้างต้น ทำให้เกิดคำถามต่อไปนี้

  • กำหนดเซต   ใด ๆ เมื่อไรที่  
  • กำหนดเซตของพหุนาม   เมื่อไรที่  

คำตอบของคำถามแรกได้จากการกำหนดทอพอโลยีบน   เรียกว่า ทอพอโลยีซาริสกี (Zariski topology) ซึ่งเซตปิดบนทอพอโลยีดังกล่าว ได้แก่เซตเชิงพีชคณิตทั้งหมด และทอพอโลยีนี้สะท้อนโครงสร้างพีชคณิตของ   แล้วจะได้ว่า   ก็ต่อเมื่อ   เป็นเซตเชิงพีชคณิต หรือเซตปิดในทอพอโลยีซาริสกี ส่วนคำถามที่สองนั้นเป็นผลจากทฤษฎีบทที่เรียกว่า ฮิลแบร์ทนูลสเต็ลเลินซาต์ส หรือ ทฤษฎีบทโลคัส-ศูนย์ของฮิลแบร์ท (Hilbert's Nullstellensatz) ซึ่งกล่าวว่า   เป็นราดิคัลของไอดีลที่ก่อกำเนิดโดย   ผลลัพธ์จากทฤษฎีทั้งสองระบุว่า ไอดีลใน   และเซตเชิงพีชคณิตใน   เป็นอย่างเดียวกัน

วาไรตีสัมพรรค

ดูบทความหลักที่: วาไรตีสัมพรรค

เซตเชิงพีชคณิตจะเป็น เซตลดรูปไม่ได้ (Irreducible set) หากมันไม่เป็นยูเนียนของเซตเชิงพีชคณิตที่เล็กกว่าสองเซตได้ เราพบว่า เซตเชิงพีชคณิตใด ๆ อยู่ในรูปยูเนียนจำกัดของเซตเชิงพีชคณิตที่ลดรูปไม่ได้ และการแยกส่วนแบบดังกล่าวมีได้แบบเดียว ดังนั้นส่วนประกอบหรือเซตเชิงพีชคณิตที่ลดรูปไม่ได้ดังกล่าวจึงถูกเรียกว่า ส่วนประกอบที่ไม่สามารถลดรูปได้ (Irreducible components) ของเซตพีชคณิต เซตเชิงพีชคณิตที่ลดรูปไม่ได้เรียกอีกอย่างว่า วาไรตี หรือ วาไรตีสัมพรรค เพื่อระบุเจาะจงว่าเราทำงานอยู่ในปริภูมิสัมพรรค

มีทฤษฎีบทว่า เซตเชิงพีชคณิตจะเป็นวาไรตีก็ต่อเมื่อ มีไอดีลเฉพาะ   ของ   ที่ทำให้เซตเชิงพีชคณิตนั้นเป็นเซตศูนย์ของไอดีล  

ประวัติ

คริสต์ศตวรรษที่ 20

วาน เดอร์ วาร์เดน, ออสการ์ ซาริสกี และ อองเดร์ แวย์ พัฒนารากฐานสำหรับเรขาคณิตเชิงพีชคณิตโดยอาศัยพีชคณิตสลับที่ รวมถึง ทฤษฎีแวลิวเอชัน (Valuation theory) และทฤษฎีของไอดีล เป้าหมายประการหนึ่งเพื่อสร้างกรอบโครงร่างที่รัดกุมเพื่อใช้พิสูจน์ผลงานของนักคณิตศาสตร์ด้านเรขาคณิตเชิงพีชคณิตสกุลอิตาลี ทั้งนี้เพราะว่า นักคณิตศาสตร์ในสกุลนี้ใช้แนวคิดเรื่อง จุดทั่วไป (Generic points) ในงานคณิตศาสตร์โดยไม่มีคำจำกัดความที่ชัดเจน นิยามจุดทั่วไปกำหนดเป็นครั้งแรกโดยนักคณิตศาสตร์ข้างต้นในช่วงทศวรรษ 1930

ในช่วงทศวรรษที่ 1950 และ 1960 ฌ็อง-ปิแยร์ แซร์ และ อเล็กซองดร์ โกรเธนดีก สร้างรากฐานใหม่โดยใช้ ทฤษฎีชีฟ (Sheaf theory) ในภายหลังโกรเธนดีกได้ริเริ่มเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ สกีม (Scheme) ร่วมกับวิธีการทางฮอมอโลยี

วาไรตีที่สำคัญรูปแบบหนึ่งคือ วาไรตีอาบีเลียน ซึ่งเป็นวาไรตีเชิงภาพฉายที่มีจุดบนวาไรตีนี้เป็นกรุปอาบีเลียน ตัวอย่างต้นแบบของวาไรตีอาบีเลียนคือ เส้นโค้งเชิงวงรี ซึ่งมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมากมาย เส้นโค้งเชิงวงรีเป็นเครื่องมือในการพิสูจน์ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาต์ และยังใช้ใน การเข้ารหัสเส้นโค้งเชิงวงรีอีกด้วย

อ้างอิง

  1. Drton, Mathias (2009). Lectures on algebraic statistics. Bernd Sturmfels, Seth Sullivant. Basel: Birkhäuser. ISBN 978-3-7643-8905-5. OCLC 405547762.
  2. Cutkosky, Steven Dale (2018). Introduction to algebraic geometry. Providence, Rhode Island. ISBN 978-1-4704-4670-3. OCLC 1039613757.

ดูเพิ่ม

  • Hartshorne, Robin (1977). Algebraic geometry. New York: Springer. ISBN 0-387-90244-9. OCLC 2798099.
  • Cutkosky, Steven Dale (2018). Introduction to Algebraic Geometry. Providence, Rhode Island: American Mathematical Society. ISBN 9781470435189.
  • Reid, Miles (1988). Undergraduate Algebraic Geometry (PDF). Cambridge University Press: Cambridge University Press. ISBN 9781139163699.
  • The Rising Sea: Foundations of Algebraic Geometry โดย Ravi Vakil
  • The Stacks Project หนังสือโอเพินซอร์สสำหรับอ้างอิงเกี่ยวกับเรขาคณิตเชิงพีชคณิต

เรขาคณ, ตเช, งพ, ชคณ, งกฤษ, algebraic, geometry, เป, นสาขาหน, งของคณ, ตศาสตร, เร, มแรกศ, กษารากของพห, นามหลายต, วแปร, โดยอาศ, ยว, การทางพ, ชคณ, ตนามธรรม, โดยเฉพาะอย, างย, งเคร, องม, อจากพ, ชคณ, ตสล, บท, เพ, อใช, การแก, ญหาทางเรขาคณ, ตเก, ยวก, บเซตของรากของพห, . erkhakhnitechingphichkhnit xngkvs Algebraic geometry epnsakhahnungkhxngkhnitsastrthierimaerksuksarakkhxngphhunamhlaytwaepr odyxasywithikarthangphichkhnitnamthrrm odyechphaaxyangyingekhruxngmuxcakphichkhnitslbthiephuxichkaraekpyhathangerkhakhnitekiywkbestkhxngrakkhxngphhunamdngklawphunphiwtxkekliytti Togliatti surface epnphunphiwphichkhnitthimidikriethakbha rupnicalxngswnhnungkhxngolkhskhacringkhxngphunphiwdngklaw wtthuphunthankhxngkarsuksainerkhakhnitechingphichkhnitkhuxwairtiechingphichkhnit Algebraic variety sungepnphlechlykhxngrabbsmkarphhunamemuxmxngwaepnwtthuerkhakhnit twxyangwairtiechingphichkhnitthiidrbkarsuksamakthisud echn esnokhngechingphichkhnitranab sungrwmthung esntrng wngklm pharaobla wngri ihephxrobla esnokhngkhiwbik echn esnokhngechingwngri aelaesnokhngkhwxrtikechn elmnisekht aela wngriaekhssini esnokhngkhangtnmicudbnesnokhngbangcudthimikhwamsakhyaelamithvsdithiekiywkhxng xathiechn cudexkthan cudepliynewa aelacudthitaaehnngxnnt swnthvsdikhnsungkhxngerkhakhnitechingphichkhnitsnicthxphxolyikhxngesnokhngtang aelakhwamsmphnthrahwangesnokhngaetlaesnerkhakhnitechingphichkhnitepnhwicsakhykhxngkhnitsastrsmyihm aelamikhwamechuxmoyngipyngsakhatang canwnmak echn karwiekhraahechingsxn thxphxolyi aela thvsdicanwn tlxdcnmibthprayuktinkarxxkaebbkarthdlxnginsthitiechingkhnitsastr 1 enuxha 1 aenwkhidphunthan 1 1 rakkhxngrabbphhunam 1 2 wairtiechingphichkhnit 1 3 fngkchnphhunamaelaestechingphichkhnit 1 3 1 khwamsmmulrahwangerkhakhnit phichkhnit 1 4 wairtismphrrkh 2 prawti 2 1 khriststwrrsthi 20 3 xangxing 4 duephimaenwkhidphunthan aekikhrakkhxngrabbphhunam aekikh thrngklmaelawngklmexiyng inerkhakhnitechingphichkhnit nkkhnitsastrsuksarakkhxngrabbsmkarphhunam sungsamarthmxngidwaepnestkhxngcudinpriphumimititang twxyangechn thrngklmthimirsmiethakb 1 inpriphumiaebbyukhlidsammiti R3 epnestkhxngcud x y z R3 thnghmdthithaih x 2 y 2 z 2 1 0 displaystyle x 2 y 2 z 2 1 0 xiktwxyanghnung wngklmexiyng in R3 sungekidcakestkhxngcud x y z thnghmdthisxdkhlxngkbrabbsmkarphhunamsxngsmkar x 2 y 2 z 2 1 0 x y z 0 displaystyle begin cases x 2 y 2 z 2 1 0 x y z 0 end cases wairtiechingphichkhnit aekikh dubthkhwamhlkthi wairtiechingphichkhnit wairtiechingphichkhnit Algebraic variety epnwtthuphunthanthisuksainerkhakhnitechingphichkhnit inthinierasnicwairtiinerkhakhnitechingphichkhnitkhlassikh sungminiyamdngniwairti V ehnux Rn hrux Cn epnestkhxngcud x1 xn thisxdkhlxngkbrabbsmkarphhnum fi x1 xn sahrbaetla i 1 2 esnokhngechingphichkhnitkhuxwairtiechingphichkhnitthimi n 2 wairtiechingphichkhnitthiphunthanthisud idaek wairtismphrrkh Affine variety aelawairtiechingphaphchay hruxwairtiophreckhthif Projective variety fngkchnphhunamaelaestechingphichkhnit aekikh dubthkhwamhlkthi estechingphichkhnit ih k displaystyle k epnfild inerkhakhnitechingphichkhnitkhlassikniymichfildcanwnechingsxn C aeterasamarthepliyn C epnfildthimismbtipidechingphichkhnitid id nnkhuxthukphhunamdikrimakkwa 1 infild k displaystyle k mirakesmx odythithvsdithwipyngkhngepncringerasnicpriphumismphrrkh Affine space miti n ehnuxfild k sungekhiynaethndwy A n k displaystyle mathbf A n k bangkhrngekhiyn A n displaystyle mathbf A n emux k displaystyle k chdecncakbribth sngektwa hakerakahndrabbphikdchakih A n k displaystyle mathbf A n k aelw A n k displaystyle mathbf A n k caklayepnpriphumiewketxr k n displaystyle k n ehtuphlthieraimphicarna k n displaystyle k n odytrngkephux lum wa k n displaystyle k n miokhrngsrangepnpriphumiewketxrfngkchn f A n A 1 displaystyle f colon mathbf A n to mathbf A 1 caepn fngkchnphhunam hrux fngkchnpkti haksamarthekhiynepnphhunamid nnkhuxthamiphhunam p k x 1 x n displaystyle p in k x 1 dotsc x n thithaih f M p t 1 t n displaystyle f M p t 1 dotsc t n sahrbthukcud M displaystyle M thimiphikd t 1 t n displaystyle t 1 dotsc t n in A n displaystyle mathbf A n inkrnithifildkhxngeraepnfildpidechingphichkhnit hruxodythwipkwaemuxfildepnfildxnnt camikhwamsmphnth 1 1 thwthungrahwangfngkchnphhunamaelaphhunamin k x 1 x n displaystyle k x 1 dotsc x n sungthaihestkhxngfngkchnphhunamthnghmdepnring eriykwa ringkhxngfngkchnphhunam aelaekhiynaethndwy k A n displaystyle k mathbf A n 2 ih S displaystyle S epnestkhxngphhunamin k A n displaystyle k mathbf A n estsuny hrux estaewnichching Zero set hrux Vanishing set khxng S khuxest V S displaystyle V S khxngcudthnghmdin A n displaystyle mathbf A n thithaihphhunamthuktwin S displaystyle S epnsunythicudnn tamniyamdanlang V S t 1 t n p t 1 t n 0 for all p S displaystyle V S t 1 dots t n mid p t 1 dots t n 0 text for all p in S caeriyksbest W displaystyle W id khxng A n displaystyle mathbf A n waepn estechingphichkhnit Algebraic set thahak W displaystyle W samarthekhiynidinrup V S displaystyle V S sahrbbangest S k A n displaystyle S subseteq k mathbf A n khwamsmmulrahwangerkhakhnit phichkhnit aekikh erasnicpyhathiwa hakrabusbest W displaystyle W id khxng A n displaystyle mathbf A n ma samarthhaestkhxngphhunam S k A n displaystyle S subseteq k mathbf A n thikxkaenid W displaystyle W hruxkkhux V S W displaystyle V S W idhruximniyamest I W displaystyle I W aethnestkhxngphhunamthnghmdthiestsunykhxngmnmi W displaystyle W epnsbest sylksn I displaystyle I macaksmbtithiwaestdngklawepnixdilkhxng A n displaystyle mathbf A n cakniyamkhangtn thaihekidkhathamtxipni kahndest W A n displaystyle W subseteq mathbf A n id emuxirthi W V I W displaystyle W V I W kahndestkhxngphhunam S displaystyle S emuxirthi S I V S displaystyle S I V S khatxbkhxngkhathamaerkidcakkarkahndthxphxolyibn A n displaystyle mathbf A n eriykwa thxphxolyisariski Zariski topology sungestpidbnthxphxolyidngklaw idaekestechingphichkhnitthnghmd aelathxphxolyinisathxnokhrngsrangphichkhnitkhxng k A n displaystyle k mathbf A n aelwcaidwa W V I W displaystyle W V I W ktxemux W displaystyle W epnestechingphichkhnit hruxestpidinthxphxolyisariski swnkhathamthisxngnnepnphlcakthvsdibththieriykwa hilaebrthnulsetlelinsats hrux thvsdibtholkhs sunykhxnghilaebrth Hilbert s Nullstellensatz sungklawwa I V S displaystyle I V S epnradikhlkhxngixdilthikxkaenidody S displaystyle S phllphthcakthvsdithngsxngrabuwa ixdilin k A n displaystyle k mathbf A n aelaestechingphichkhnitin A n displaystyle mathbf A n epnxyangediywkn wairtismphrrkh aekikh dubthkhwamhlkthi wairtismphrrkh estechingphichkhnitcaepn estldrupimid Irreducible set hakmnimepnyueniynkhxngestechingphichkhnitthielkkwasxngestid eraphbwa estechingphichkhnitid xyuinrupyueniyncakdkhxngestechingphichkhnitthildrupimid aelakaraeykswnaebbdngklawmiidaebbediyw dngnnswnprakxbhruxestechingphichkhnitthildrupimiddngklawcungthukeriykwa swnprakxbthiimsamarthldrupid Irreducible components khxngestphichkhnit estechingphichkhnitthildrupimideriykxikxyangwa wairti hrux wairtismphrrkh ephuxrabuecaacngwaerathanganxyuinpriphumismphrrkhmithvsdibthwa estechingphichkhnitcaepnwairtiktxemux miixdilechphaa I displaystyle I khxng k A n displaystyle k mathbf A n thithaihestechingphichkhnitnnepnestsunykhxngixdil I displaystyle I prawti aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkhriststwrrsthi 20 aekikh wan edxr waredn xxskar sariski aela xxngedr aewy phthnarakthansahrberkhakhnitechingphichkhnitodyxasyphichkhnitslbthi rwmthung thvsdiaewliwexchn Valuation theory aelathvsdikhxngixdil epahmayprakarhnungephuxsrangkrxbokhrngrangthirdkumephuxichphisucnphlngankhxngnkkhnitsastrdanerkhakhnitechingphichkhnitskulxitali thngniephraawa nkkhnitsastrinskulniichaenwkhideruxng cudthwip Generic points inngankhnitsastrodyimmikhacakdkhwamthichdecn niyamcudthwipkahndepnkhrngaerkodynkkhnitsastrkhangtninchwngthswrrs 1930inchwngthswrrsthi 1950 aela 1960 chxng piaeyr aesr aela xelksxngdr okrethndik srangrakthanihmodyich thvsdichif Sheaf theory inphayhlngokrethndikidrierimesnxaenwkhidekiywkb skim Scheme rwmkbwithikarthanghxmxolyiwairtithisakhyrupaebbhnungkhux wairtixabieliyn sungepnwairtiechingphaphchaythimicudbnwairtiniepnkrupxabieliyn twxyangtnaebbkhxngwairtixabieliynkhux esnokhngechingwngri sungmithvsdithiekiywkhxngmakmay esnokhngechingwngriepnekhruxngmuxinkarphisucnthvsdibthsudthaykhxngaefrmat aelayngichin karekharhsesnokhngechingwngrixikdwyxangxing aekikh Drton Mathias 2009 Lectures on algebraic statistics Bernd Sturmfels Seth Sullivant Basel Birkhauser ISBN 978 3 7643 8905 5 OCLC 405547762 Cutkosky Steven Dale 2018 Introduction to algebraic geometry Providence Rhode Island ISBN 978 1 4704 4670 3 OCLC 1039613757 duephim aekikhHartshorne Robin 1977 Algebraic geometry New York Springer ISBN 0 387 90244 9 OCLC 2798099 Cutkosky Steven Dale 2018 Introduction to Algebraic Geometry Providence Rhode Island American Mathematical Society ISBN 9781470435189 Reid Miles 1988 Undergraduate Algebraic Geometry PDF Cambridge University Press Cambridge University Press ISBN 9781139163699 The Rising Sea Foundations of Algebraic Geometry ody Ravi Vakil The Stacks Project hnngsuxoxephinsxrssahrbxangxingekiywkberkhakhnitechingphichkhnitekhathungcak https th wikipedia org w index php title erkhakhnitechingphichkhnit amp oldid 9351583, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม