fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาเซมิติก

กลุ่มภาษาเซมิติก (อังกฤษ: Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน)

จดหมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย

กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรก ๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล

ประวัติ

จุดกำเนิด

 
พระคัมภีร์ไบเบิลภาษาฮีบรู

กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก โดยเป็นสาขาเดียวที่อยู่ในทวีปเอเชีย ส่วนสาขาอื่นอยู่ในทวีปแอฟริกา จากเหตุผลนี้จึงเชื่อว่าบรรพบุรุษของผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิมเป็นกลุ่มชนที่ออกจากแอฟริกามาสู่ตะวันออกกลาง อาจจะเป็นผู้มาจากทะเลทรายสะฮารา แต่ก็มีทฤษฎีว่าผู้พูดภาษาแอโฟรเอชีแอติกดั้งเดิมอยู่ในตะวันออกกลางและผู้พูดภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มเดียวที่เหลืออยู่

 
ไบเบิลเขียนด้วยภาษากิเอซ (เอธิโอเปีย)

ผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิมคาดว่าเป็นผู้ที่มาถึงคาบสมุทรอาระเบียเมื่อราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช จากนั้นภาษาลูกหลานในกลุ่มเซมิติกได้แพร่กระจายออกไป หลักฐานการเขียนเริ่มพบเมื่อราว 2,957 ปีก่อนพุทธศักราช เมื่อผู้พูดภาษาอัคคาเดียและภาษาอโมไรต์เข้าสู่เมโสโปเตเมียและอาจจะเคยอยู่ในสถานที่ เช่น เอบลาในซีเรีย

1,500 ปีก่อนพุทธศักราช

เมื่อราว 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกเริ่มแพร่หลายในเมโสโปเตเมีย ในขณะที่กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกใช้พูดตั้งแต่บริเวณจากซีเรียถึงเยเมน ภาษาอาระเบียใต้อาจจัดอยู่ในกลุ่มภาษาเซมิติกใต้แต่หลักฐานมีน้อย ภาษาอัคคาเดียกลายเป็นภาษาเขียนสำคัญในดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์โดยใช้อักษรรูปลิ่มที่พัฒนามาจากอักษรที่ใช้เขียนภาษาสุเมเรีย กลุ่มชนที่พูดภาษาเอ็บลาไอต์หายไป โดยมีกลุ่มชนที่พูดภาษาอโมไรต์ขึ้นมาแทน

หลักฐานในช่วงนี้มิไม่มากนัก ที่พอมีบ้างคือตัวอักษร อักษรคานาอันไนต์เป็นอักษรชนิดแรกของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกที่ใช้เมื่อราว 957 ปีก่อนพุทธศักราช และอักษรยูการิติกที่ใช้ในทางเหนือของซีเรียในอีก 200 ปีต่อมา ส่วนภาษาอัคคาเดียพัฒนาต่อมาเป็นสำเนียงบาบิโลเนียและอัสซีเรีย

 
เอกสารเขียนด้วยภาษาซีรีแอก

500 ปีก่อนพุทธศักราช

มีอักษรที่ใช้กันแพร่หลายมากขึ้น ทั้งอักษรคานาอันไนต์ อักษรแอราเมอิก อักษรอาระเบียใต้และอักษรกีเอซรุ่นแรก ๆ ระหว่างช่วงนี้ มีการใช้อักษรยูการิติกที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะในกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ ชาวฟินิเชียนำภาษาคานาอันไนต์ไปใช้ทั้งเขตอาณานิคมในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในขณะที่ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิว ในสมัยจักรวรรดิอัสซีเรีย ภาษาแอราเมอิกเป็นภาษากลางในตะวันออกกลางในขณะที่ภาษาอัคคาเดีย ภาษาฮีบรู และอื่น ๆ กลายเป็นภาษาตายหรือใช้เป็นภาษาเขียนเท่านั้น ในขณะเดียวกันอักษรกีเอซเริ่มใช้บันทึกกลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปียในช่วงนี้

พุทธศตวรรษที่ 6 เป็นต้นมา

 
คัมภีร์อัลกุรอ่านภาษาอาหรับอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17

ภาษาซีรีแอกซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาแอราเมอิกใช้ในลิแวนต์ตอนเหนือและเมโสโปเตเมีย กลายเป็นภาษาเขียนของชาวคริสต์ในพุทธศตวรรษที่ 8-10จนถึงยุคสมัยของศาสนาอิสลาม

ในยุคของศาสนาอิสลามราวพุทธศตวรรษที่ 12 ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษากลางแทนที่ภาษาแอราเมอิกและแพร่หลายไปถึงสเปนและเอเชียกลาง กลายเป็นภาษาเขียนที่สำคัญในสมัยกาหลิบ และกลายเป็นภาษาสำคัญในตะวันออกกลางและอียิปต์ เมื่ออาณาจักรนูเบียล่มสลาย ภาษาอาหรับได้แพร่หลายไปยังอียิปต์ภาคใต้จนถึงมอริตาเนีย

กลุ่มภาษาเซมิติกยังคงมีความหลากหลายในเอธิโอเปียและเอริเทรีย โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาคูชิติกมาก ภาษาสำคัญในบริเวณนี้คือภาษาอัมฮาราและภาษาตึกรึญญา จากการแพร่ขยายของเอธิโอเปียในสมัยราชวงศ์โซโลโมนิก ภาษาอัมฮาราได้แพร่หลายไปทั่วเอธิโอเปียและเข้าไปแทนที่ภาษากีเอซที่ปัจจุบันยังเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในบริเวณนี้

สถานะปัจจุบัน

ภาษาอาหรับมีผู้ใช้เป็นภาษาแม่เป็นส่วนใหญ่ตั้งแต่มอริตาเนียไปถึงโอมานและจากอิรักไปถึงซูดาน และยังใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวมุสลิมที่ไม่ได้พูดภาษาอาหรับเป็นภาษาแม่ด้วย ภาษาอาหรับที่เป็นภาษาพูดมีหลากหลายสำเนียงแต่ที่เป็นภาษาเขียนมีแบบเดียว ภาษามอลตาซึ่งเป็นลูกหลานของภาษาอาหรับสำเนียงแอฟริกาเหนือเป็นภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรโรมัน นอกจากภาษาอาหรับที่เป็นภาษาหลักในตะวันออกกลางแล้ว ยังพบกลุ่มภาษาเซมิติกอื่น ๆ อีก ภาษาฮีบรูเป็นภาษาที่ตายไปเป็นเวลานานและใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวยิวเท่านั้น กลายมาเป็นภาษาพูดอีกครั้งในพุทธศตวรรษที่ 24 โดยขบวนการไซออนนิสต์เป็นผู้ฟื้นฟูภาษานี้ขึ้นมาใหม่และกลายเป็นภาษาหลักของประเทศอิสราเอล

กลุ่มชนชาติส่วนน้อยขนาดเล็กหลายกลุ่มเช่นชาวคริสต์อัสซีเรียยังคงใช้สำเนียงของภาษาแอราเมอิกโดยเฉพาะภาษาแอราเมอิกใหม่ที่มาจากภาษาซีรีแอก ในเขตภูเขาของอิรักภาคเหนือ ตุรกีตะวันออก และซีเรียตะวันออกเฉียงเหนือ ในขณะที่ภาษาซีรีแอกที่เป็นลูกหลานของภาษาแอราเมอิกโบราณใช้เป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรียและอิรัก

ในเยเมนและโอมานซึ่งอยู่ทางใต้ของคาบสมุทรอาระเบียยังมีชนเผ่าพูดภาษาอาระเบียใต้สมัยใหม่เช่นภาษามาห์รีและภาษาโซโกตรีซึ่งแตกต่างจากภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณนั้นอย่างชัดเจน และอาจจะมาจากภาษาที่เขียนในจารึกอักษรอาระเบียใต้หรือลูกหลานของภาษาเหล่านั้น

ในเอธิโอเปียและเอริเทรีย มีผู้พูดกลุ่มภาษาเซมิติกจำนวนหนึ่งคือภาษาอัมฮาราและภาษาตึกรึญญาในเอธิโอเปีย และภาษาติเกรและภาษาตึกรึญญาในเอริเทรีย ทั้งภาษาอัมฮาราและภาษาตึกรึญญาเป็นภาษาราชการของเอธิโอเปียและเอริเทรีย ในขณะที่ภาษาติเกรมีผู้พูดในเอริเทรียเหนือและดินแดนต่ำตอนกลางรวมถึงภาคตะวันออกของซูดาน มีผู้พูดมากกว่า 1 ล้านคน มีผู้พูดภาษากูเรกในเขตภูเขาทางภาคใต้ตอนกลางของเอธิโอเปีย ภาษากีเอซยังคงเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในเอธิโอเปียและเอริเทรีย

ไวยากรณ์

กลุ่มภาษาเซมิติกมีไวยากรณ์ร่วมกันหลายอย่าง แม้จะมีส่วนที่ผันแปรกันไปบ้าง แม้ในภาษาเดียวกันเอง เช่น ภาษาอาหรับในสมัยพุทธศตวรรษที่ 11 กับภาษาอาหรับในปัจจุบัน

การเรียงคำ

การเรียงลำดับคำในภาษาเซมิติกดั้งเดิมเป็นกริยา-ประธาน-กรรม สิ่งของ-เจ้าของ และนาม-คุณศัพท์ ในภาษาอาหรับคลาสสิกและสมัยใหม่จะใช้การเรียงตำแบบนี้มาก นอกจากนั้นยังพบการเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ดังที่พบในภาษาฮีบรูและภาษามอลตา กลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปียสมัยใหม่เรียงประโยคแบบ ประธาน-กรรม-กริยา เจ้าของ-สิ่งของ และคุณศัพท์-นาม ซึ่งอาจจะมาจากอิทธิพลของกลุ่มภาษาคูชิติก กลุ่มภาษาเซมิติกที่เก่าที่สุด เช่น ภาษากีเอซ เป็นแบบกริยา-ประธาน-กรรม สิ่งของ-เจ้าของ และนาม-คุณศัพท์

การกของนามและคุณศัพท์

ระบบการกสามแบบของภาษาเซมิติกดั้งเดิม (ประธาน กรรมตรงและเจ้าของ) โดยใช้การลงท้ายการกที่ต่างไป ยังคงมีอยู่ในภาษาอาหรับในอัลกุรอ่าน ภาษาอัคคาเดีย และภาษายูการิติก ลักษระนี้หายไปในภาษาเซมิติกสมัยใหม่ ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่คงมีการลงท้ายการกเฉพาะในการเขียนและการออกอากาศ การลงท้ายการกด้วย -n ยังคงไว้ในภาษาเซมิติกในเอธิโอเปีย นามและคุณศัพท์ในกลุ่มภาษาเซมิติกมีการกำหนดเป็นสถานะ สถานะชี้เฉพาะกำหนดโดย nunation

จำนวนของนามและคุณศัพท์

กลุ่มภาษาเซมิติกส่วนใหญ่มี 3 จำนวนคือเอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ ทวิพจน์ยังใช้อยู่ในภาษาอาหรับบางสำเนียงเช่นชื่อประเทศบาห์เรน (bahr "ทะเล" + -ayn "สอง") และในภาษาฮีบรู เช่น šana หมายถึง 1 ปี šnatayim หมายถึง 2 ปี และ šanim หมายถึงหลายปี และในภาษามอลตา sena หมายถึง 1 ปี sentejn หมายถึง 2 ปี และ snin หมายถึงหลายปี การทำให้เป็นพหูพจน์โดยการแทรกเสียงสระลงไป เช่น sadd เขื่อน 1 แห่ง sudūd เขื่อนหลายแห่ง พบในภาษาอาหรับและภาษาเอธิโอเปีย รวมทั้งภาษามอลตา จึงน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของภาษาเซมิติกดั้งเดิม

มาลาและกาล

ระบบมาลาของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกและตะวันออกต่างกันชัดเจน ภาษาอัคคาเดียรักษาลักษณะซึ่งพบโดยทั่วไปในกลุ่มภาษาแอโฟรเอชีแอติก ภาษาเซมิติกตะวันตกดั้งเดิมมี 2 มาลา คือสมบูรณ์สำหรับการกระทำที่สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ใช้กับการกระทำที่เกิดไม่สมบูรณ์ ในกรณีพิเศษของภาษาแอราเมอิกใหม่มีการรวมคำกริยาซึ่งได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาอิหร่าน

รากศัพท์พยัญชนะสามตัว

กลุ่มภาษาเซมิติกทั้งหมดมีลักษณะพิเศษของรากศัพท์ที่ประกอบด้วยพยัญชนะสามตัว (มีที่มีพยัญชนะ 2 หรือ 4 ตัวด้วย) สำหรับนาม คุณศัพท์ และกริยาซึ่งสร้างศัพท์ได้หลายทาง เช่น โดยแทรกเสียงสระ ซ้ำพยัญชนะ เติมอุปสรรค ปัจจัย หรืออาคม

ตัวอย่างเช่น รากศัพท์ k-t-b, (หมายถึงการเขียน) ในภาษาอาหรับ:

kataba كتب "he wrote" (masculine)
katabat كتبت "she wrote" (feminine)
kutiba كتب "it was written" (masculine)
kutibat كتبت "it was written" (feminine)
kitāb- كتاب "book" (the hyphen shows end of stem before various case endings)
kutub- كتب "books" (plural)
kutayyib- كتيب "booklet" (diminutive)
kitābat- كتابة "writing"
kātib- كاتب "writer" (masculine)
kātibah- كاتبة "writer" (feminine)
kātibūn(a) كاتبون "writers" (masculine)
kātibāt- كاتبات "writers" (feminine)
kuttāb- كتاب "writers" (broken plural)
katabat- كتبة "writers" (broken plural)
maktab- مكتب "desk" or "office"
maktabat- مكتبة "library" or "bookshop"
maktūb- مكتوب "written" (participle) or "postal letter" (noun)

และรากศัพท์เดียวกันในภาษาฮีบรู (k-t-):

katati כתבתי "I wrote"
katata כתבת "you (m) wrote"
kata כתב "he wrote" or "reporter" (m)
katteet כתבת "reporter" (f)
kattaa כתבה "article" (plural katavot כתבות)
mita מכתב "postal letter" (plural mitaim מכתבים)
mitaa מכתבה "writing desk" (plural mitaot מכתבות)
ktoet כתובת "address" (plural ktoot כתובות)
kta כתב "handwriting"
katu כתוב "written" (f ktua כתובה)
hiti הכתיב "he dictated" (f hitia הכתיבה)
hitkatte התכתב "he corresponded (f hitkata התכתבה)
nita נכתב "it was written" (m)
nitea נכתבה "it was written" (f)
kti כתיב "spelling" (m)
tati תכתיב "prescript" (m)
meutta מכותב "a person on one's mailing list" (meutteet מכותבת f)
ktubba כתובה "ketubah (a Jewish marriage contract)" (f) (note: b here, not )

ในภาษามอลตา ซึ่งรากศัพท์พยัญชนะจะเรียกว่า mamma:

jiena ktibt "I wrote"
inti ktibt "you wrote" (m or f)
huwa kiteb "he wrote"
hija kitbet "she wrote"
aħna ktibna "we wrote"
intkom ktibtu "you (pl) wrote"
huma kitbu "they wrote"
huwa miktub "it is written"
kittieb "writer"
kittieba "writers"
kitba "writing"
ktib "writing"
ktieb "book"
kotba "books"
ktejjeb "booklet"

ในภาษาตึกรึญญาและภาษาอัมฮารา รากศัพท์นี้ปรากฏเฉพาะคำนาม kitab หมายถึง amulet และกริยา to vaccinate ภาษาที่เป็นลูกหลานในเอธิโอเปียมีรากศัพท์ที่ต่างไปสำหรับการเขียน คำกริยาในภาษาในตระกูลแอฟโฟรเอเชียติกอื่น ๆ ที่ไม่ใช่กลุ่มภาษาเซมิติกมีลักษณะเดียวกันนี้ แต่มักเป็นพยัญชนะ 2 ตัวมากกว่า

คำศัพท์ทั่วไป

เพราะกลุ่มภาษาเซมิติกมีจุดกำเนิดร่วมกัน จึงมักมีศัพท์และรากศัพท์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น

English Proto-Semitic ภาษาอัคคาเดีย ภาษาอาหรับ ภาษาแอราเมอิก ภาษาฮีบรู ภาษากีเอซ ภาษาเมห์รี
พ่อ *ʼab- ab- ʼab- ʼab-ā ʼāḇ ʼab ḥa-yb
หัวใจ *lib(a)b- libb- lubb- lebb-ā lēḇ(āḇ) libb ḥa-wbēb
บ้าน bayt- bītu, bētu bayt- beyt-ā báyiṯ, bêṯ bet beyt, bêt
peace *šalām- šalām- salām- shlām-ā šālôm salām səlōm
tongue *lišān-/*lašān- lišān- lisān- leššān-ā lāšôn lissān əwšēn
น้ำ *may-/*māy- mû (root *mā-/*māy-) māʼ-/māy mayy-ā máyim māy ḥə-mō

บางครั้ง รากศัพท์มีความหมายต่างไปในภาษาหนึ่งเมื่อเทียบกับกลุ่มภาษาเซมิติกอื่น ๆ ตัวอย่างเช่นรากศัพท์ b-y-ḍ ในภาษาอาหรับหมายถึงขาวและไข่ ในภาษามอลตา bajda หมายถึงขาวและไข่เช่นเดียวกัน แต่ในภาษาฮีบรูหมายถึงขาวเท่านั้น รากศัพท์ l-b-n ในภาษาอาหรับหมายถึงนม แต่ภาษาฮีบรูหมายถึงสีขาว รากศัพท์ l-ḥ-m ภาษาอาหรับหมายถึงเนื้อ แต่หมายถึงขนมปังในภาษาฮีบรู และวัวในกลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปีย ความหมายดั้งเดิมของรากศัพท์นี้อาจหมายถึงอาหาร คำว่า medina (ราก: m-d-n) ภาษาอาหรับหมายถึงเมือง แต่ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่หมายถึงรัฐ ในบางครั้งไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรากศัพท์ เช่น คำว่า ความรู้ ในภาษาฮีบรูใช้รากศัพท์ y-d-ʿ แต่ในภาษาอาหรับใช้ ʿ-r-f และ ʿ-l-m กลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปีย ใช้ ʿ-w-q และ f-l-ṭ

การจัดจำแนก

การจัดจำแนกต่อไปนี้เป็นไปตามวิธีของ Robert Hetzron เมื่อ พ.ศ. 2519 และมีการปรับปรุงโดย John Huehnergard และ Rodgers ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดในขณะนี้ อย่างไรก็ตาม ยังมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการจัดจำแนกอยู่ เช่น อาจจัดภาษาอาหรับอยู่ในกลุ่มเซมิติกใต้ บางส่วนแยกกลุ่มภาษาอาระเบียใต้ออกเป็นสาขาที่สามร่วมกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกและตะวันตก มากกว่าจะตั้งเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ นอกจากนั้นยังไม่มีเส้นแบ่งที่แน่นอนระหว่างภาษาเอกเทศกับสำเนียง ดังที่พบในภาษาอาหรับ ภาษาแอราเมอิกและภาษากูเรก

การจัดกลุ่มภายในกลุ่มภาษาเซมิติกก่อน พ.ศ. 2513 จัดให้ภาษาอาหรับอยู่ในกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ และยังไม่มีการค้นพบภาษาเอ็บลาไอต์ในช่วงนั้น

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก

ในกรณีของภาษาอาหรับสำเนียงของชาวยิวที่มีคำยืมจากภาษาฮีบรูมาก จะจัดรวมไว้ในภาษาอาหรับคลาสสิกที่เขียนด้วยอักษรฮีบรู โดยใช้ศัพท์ว่าภาษาอาหรับของชาวยิว

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้

  • กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันตก
    • กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ เป็นภาษาที่ตายแล้วทั้งหมด เคยเชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของภาษาอาระเบียใต้สมัยใหม่และกลุ่มภาษาเซมิติกในเอธิโอเปียได้แก่ ภาษาซาบาเอียน ภาษาไมนวน ภาษากวาตาบาอิก ภาษาฮาดราเมาติก
    • กลุ่มภาษาเอธิโอเปีย
      • กลุ่มภาษาเอธิโอเปียเหนือ ได้แก่
        • ภาษากีเอซ เป็นภาษาตาย ใช้เป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาคริสต์นิกายออร์ธอดอกซ์เอธิโอเปียและนิกายออร์ธอดอกซ์เอริเทรีย
        • ภาษาทีกรินยา ภาษาประจำชาติของเอริเทรีย
        • ภาษาติเกร
        • ภาษาดะห์ลิก เพิ่งพบใหม่
      • กลุ่มภาษาเอธิโอเปียใต้
        • กลุ่มตัดผ่าน ได้แก่
          • กลุ่มภาษาอัมฮารา-อาร์กอบบา ได้แก่ ภาษาอัมฮารา ภาษาประจำชาติของเอธิโอเปีย และภาษาอาร์กอบบา
          • กลุ่มภาษาอาราริ-กูเรกตะวันออก ได้แก่ ภาษาอาราริ กลุ่มภาษากูเรกตะวันออก (ภาษาเซลติ ภาษาซาว ภาษาอุลบาเร ภาษาโวลาเน ภาษาอินเนกอร์)
          • กลุ่มนอก
            • กลุ่มเหนือ ได้แก่ ภาษากาฟัต (ตายแล้ว) ภาษาโซดโด ภาษากอกกอต
            • กลุ่มของภาษาเมสเมส ภาษามูเฮอร์ กลุ่มภาษากูเรกตะวันตก (ภาษามัสกัน) กลุ่มภาษากูเรกตะวันตกตอนกลาง (ภาษาเอซา ภาษาซาฮา ภาษากูรา ภาษากูเมอร์) กลุ่มภาษากูเรกตะวันตกรอบนอก (ภาษาเวเยโต ภาษาเอนเนมอร์ ภาษาเอนเดเกน)
  • กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันออก ภาษาเหล่านี้ใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในคาบสมุทรอาระเบียในเยเมนและโอมาน ได้แก่ ภาษาบาทารี ภาษาฮาร์ซูซี ภาษาออบยอต ภาษาจิบบาลี ภาษาเมห์รี ภาษาโซโกตรี

ภาษาเมห์รีมีบรรพบุรุษใกล้เคียงกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก มากกว่ากลุ่มภาษาเซมิติกใต้ ทุกวันนี้ ภาษาเมห์รีถูกจัดให้อยู่ระหว่างกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ตะวันออก หรือเป็นกลุ่มอิสระ

อ้างอิง

  1. The Origins of Afroasiatic – Ehret et al. 306 (5702): 1680c – Science
  2. McCall, Daniel F. (1998). "The Afroasiatic Language Phylum: African in Origin, or Asian?". Current Anthropology. 39 (1): 139–44. doi:10.1086/204702.
  • Patrick R. Bennett. Comparative Semitic Linguistics: A Manual. Eisenbrauns 1998. ISBN 1-57506-021-3.
  • Gotthelf Bergsträsser, Introduction to the Semitic Languages: Text Specimens and Grammatical Sketches. Translated by Peter T. Daniels. Winona Lake, Ind. : Eisenbrauns 1995. ISBN 0-931464-10-2.
  • Giovanni Garbini. Le lingue semitiche: studi di storia linguistica. Istituto Orientale: Napoli 1984.
  • Giovanni Garbini & Olivier Durand. Introduzione alle lingue semitiche. Paideia: Brescia 1995.
  • Robert Hetzron (ed.) The Semitic Languages. Routledge: London 1997. ISBN 0-415-05767-1. (For family tree, see p. 7).
  • Edward Lipinski. Semitic Languages: Outlines of a Comparative Grammar. 2nd ed., Orientalia Lovanensia Analecta: Leuven 2001. ISBN 90-429-0815-7
  • Sabatino Moscati. An introduction to the comparative grammar of the Semitic languages: phonology and morphology. Harrassowitz: Wiesbaden 1969.
  • Edward Ullendorff, The Semitic languages of Ethiopia: a comparative phonology. London, Taylor's (Foreign) Press 1955.
  • William Wright & William Robertson Smith. Lectures on the comparative grammar of the Semitic languages. Cambridge University Press 1890. [2002 edition: ISBN 1-931956-12-X]
  • Arafa Hussein Mustafa. "Analytical study of phrases and sentences in epic texts of Ugarit." (German title: Untersuchungen zu Satztypen in den epischen Texten von Ugarit). PhD-Thesis. Martin-Luther-University Halle-Wittenberg, Germany: 1974.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Chart of the Semitic Family Tree American Heritage Dictionary (4th ed.)
  • Semitic genealogical tree (as well as the Afroasiatic one), presented by Alexander Militarev at his talk “Genealogical classification of Afro-Asiatic languages according to the latest data” (at the conference on the 70th anniversary of Vladislav Illich-Svitych, Moscow, 2004; short annotations of the talks given there(รัสเซีย))
  • "Semitic" in SIL's Ethnologue
  • Ancient snake spell in Egyptian pyramid may be oldest Semitic inscription

กล, มภาษาเซม, งกฤษ, semitic, languages, เป, นกล, มของภาษาท, ดมากกว, านคนในปร, เวณแอฟร, กาเหน, ตะว, นออกกลางและจะงอยแอฟร, กา, เป, นสาขาย, อยในตระก, ลภาษาแอโฟรเอช, แอต, และเป, นสาขาเด, ยวของตระก, ลน, ดในทว, ปเอเช, ดมากท, ดค, อภาษาอาหร, ภาษาแม, านคน, รองลงมาค, อภ. klumphasaesmitik xngkvs Semitic languages epnklumkhxngphasathimiphuphudmakkwa 300 lankhninpriewnaexfrikaehnux tawnxxkklangaelacangxyaexfrika epnsakhayxyintrakulphasaaexofrexchiaextik aelaepnsakhaediywkhxngtrakulnithimiphuphudinthwipexechiy klumphasaesmitikthimiphuphudmakthisudkhuxphasaxahrb phasaaem 325 lankhn rxnglngmakhuxphasaxmhara 27 lankhn phasatukruyya 6 9 lankhn aelaphasahibru 5 lankhn cdhmaykhxngxmarna ekhiyndwy phasaxkhkhaediy klumphasaesmitikepnklumphasaaerk thimirabbkarekhiyn phasaxkhkhaediyerimekhiyntngaetraw 2 000 pikxnphuththskrach nxkcaknnyngmixksrobranthiichekhiynklumphasaesmitikmakmay echn xksrfiniechiy xksrxahrb xksraexraemxik xksrsiriaexk xksrxaraebiyit aelaxksrexthioxpik miphasamxltaethannthiepnklumphasaniaetekhiyndwyxksrormn chuxkhxngklumphasanimacak esm butrchaykhxngonxah inibebil enuxha 1 prawti 1 1 cudkaenid 1 2 1 500 pikxnphuththskrach 1 3 500 pikxnphuththskrach 1 4 phuththstwrrsthi 6 epntnma 2 sthanapccubn 3 iwyakrn 3 1 kareriyngkha 3 2 karkkhxngnamaelakhunsphth 3 3 canwnkhxngnamaelakhunsphth 3 4 malaaelakal 3 5 raksphthphyychnasamtw 4 khasphththwip 5 karcdcaaenk 5 1 klumphasaesmitiktawnxxk 5 2 klumphasaesmitiktawntk 5 3 klumphasaesmitikit 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunprawti aekikhcudkaenid aekikh phrakhmphiribebilphasahibru klumphasaesmitikepnsmachikkhxngtrakulphasaaexofrexchiaextik odyepnsakhaediywthixyuinthwipexechiy swnsakhaxunxyuinthwipaexfrika cakehtuphlnicungechuxwabrrphburuskhxngphuphudphasaesmitikdngedimepnklumchnthixxkcakaexfrikamasutawnxxkklang xaccaepnphumacakthaelthraysahara 1 2 aetkmithvsdiwaphuphudphasaaexofrexchiaextikdngedimxyuintawnxxkklangaelaphuphudphasaesmitikepnklumediywthiehluxxyu ibebilekhiyndwyphasakiexs exthioxepiy phuphudphasaesmitikdngedimkhadwaepnphuthimathungkhabsmuthrxaraebiyemuxraw 3 457 pikxnphuththskrach caknnphasalukhlaninklumesmitikidaephrkracayxxkip hlkthankarekhiynerimphbemuxraw 2 957 pikxnphuththskrach emuxphuphudphasaxkhkhaediyaelaphasaxomirtekhasuemosopetemiyaelaxaccaekhyxyuinsthanthi echn exblainsieriy 1 500 pikxnphuththskrach aekikh emuxraw 1 457 pikxnphuththskrach klumphasaesmitiktawnxxkerimaephrhlayinemosopetemiy inkhnathiklumphasaesmitiktawntkichphudtngaetbriewncaksieriythungeyemn phasaxaraebiyitxaccdxyuinklumphasaesmitikitaethlkthanminxy phasaxkhkhaediyklayepnphasaekhiynsakhyindinaednphracnthresiywxnxudmsmburnodyichxksrruplimthiphthnamacakxksrthiichekhiynphasasuemeriy klumchnthiphudphasaexblaixthayip odymiklumchnthiphudphasaxomirtkhunmaaethnhlkthaninchwngnimiimmaknk thiphxmibangkhuxtwxksr xksrkhanaxnintepnxksrchnidaerkkhxngklumphasaesmitiktawntkthiichemuxraw 957 pikxnphuththskrach aelaxksryukaritikthiichinthangehnuxkhxngsieriyinxik 200 pitxma swnphasaxkhkhaediyphthnatxmaepnsaeniyngbabioleniyaelaxssieriy exksarekhiyndwyphasasiriaexk 500 pikxnphuththskrach aekikh mixksrthiichknaephrhlaymakkhun thngxksrkhanaxnint xksraexraemxik xksrxaraebiyitaelaxksrkiexsrunaerk rahwangchwngni mikarichxksryukaritikthiichaethnesiyngphyychnainklumphasaesmitiktawntkechiyngehnux chawfiniechiynaphasakhanaxnintipichthngekhtxananikhminaethbthaelemdietxrereniyn inkhnathiphasahibruklayepnphasathangsasnakhxngchawyiw insmyckrwrrdixssieriy phasaaexraemxikepnphasaklangintawnxxkklanginkhnathiphasaxkhkhaediy phasahibru aelaxun klayepnphasatayhruxichepnphasaekhiynethann inkhnaediywknxksrkiexserimichbnthukklumphasaesmitikinexthioxepiyinchwngni phuththstwrrsthi 6 epntnma aekikh khmphirxlkurxanphasaxahrbxayurawphuththstwrrsthi 17 phasasiriaexksungepnlukhlankhxngphasaaexraemxikichinliaewnttxnehnuxaelaemosopetemiy klayepnphasaekhiynkhxngchawkhristinphuththstwrrsthi 8 10cnthungyukhsmykhxngsasnaxislaminyukhkhxngsasnaxislamrawphuththstwrrsthi 12 phasaxahrbekhamaepnphasaklangaethnthiphasaaexraemxikaelaaephrhlayipthungsepnaelaexechiyklang klayepnphasaekhiynthisakhyinsmykahlib aelaklayepnphasasakhyintawnxxkklangaelaxiyipt emuxxanackrnuebiylmslay phasaxahrbidaephrhlayipyngxiyiptphakhitcnthungmxritaeniyklumphasaesmitikyngkhngmikhwamhlakhlayinexthioxepiyaelaexriethriy odyidrbxiththiphlcakklumphasakhuchitikmak phasasakhyinbriewnnikhuxphasaxmharaaelaphasatukruyya cakkaraephrkhyaykhxngexthioxepiyinsmyrachwngsosolomnik phasaxmharaidaephrhlayipthwexthioxepiyaelaekhaipaethnthiphasakiexsthipccubnyngepnphasathangsasnakhxngchawkhristinbriewnnisthanapccubn aekikhphasaxahrbmiphuichepnphasaaemepnswnihytngaetmxritaeniyipthungoxmanaelacakxirkipthungsudan aelayngichepnphasathangsasnakhxngchawmuslimthiimidphudphasaxahrbepnphasaaemdwy phasaxahrbthiepnphasaphudmihlakhlaysaeniyngaetthiepnphasaekhiynmiaebbediyw phasamxltasungepnlukhlankhxngphasaxahrbsaeniyngaexfrikaehnuxepnphasaediywthiekhiyndwyxksrormn nxkcakphasaxahrbthiepnphasahlkintawnxxkklangaelw yngphbklumphasaesmitikxun xik phasahibruepnphasathitayipepnewlananaelaichepnphasathangsasnakhxngchawyiwethann klaymaepnphasaphudxikkhrnginphuththstwrrsthi 24 odykhbwnkarisxxnnistepnphufunfuphasanikhunmaihmaelaklayepnphasahlkkhxngpraethsxisraexlklumchnchatiswnnxykhnadelkhlayklumechnchawkhristxssieriyyngkhngichsaeniyngkhxngphasaaexraemxikodyechphaaphasaaexraemxikihmthimacakphasasiriaexk inekhtphuekhakhxngxirkphakhehnux turkitawnxxk aelasieriytawnxxkechiyngehnux inkhnathiphasasiriaexkthiepnlukhlankhxngphasaaexraemxikobranichepnphasathangsasnakhxngchawkhristinsieriyaelaxirkineyemnaelaoxmansungxyuthangitkhxngkhabsmuthrxaraebiyyngmichnephaphudphasaxaraebiyitsmyihmechnphasamahriaelaphasaosoktrisungaetktangcakphasaxahrbthiichphudinbriewnnnxyangchdecn aelaxaccamacakphasathiekhiynincarukxksrxaraebiyithruxlukhlankhxngphasaehlanninexthioxepiyaelaexriethriy miphuphudklumphasaesmitikcanwnhnungkhuxphasaxmharaaelaphasatukruyyainexthioxepiy aelaphasatiekraelaphasatukruyyainexriethriy thngphasaxmharaaelaphasatukruyyaepnphasarachkarkhxngexthioxepiyaelaexriethriy inkhnathiphasatiekrmiphuphudinexriethriyehnuxaeladinaedntatxnklangrwmthungphakhtawnxxkkhxngsudan miphuphudmakkwa 1 lankhn miphuphudphasakuerkinekhtphuekhathangphakhittxnklangkhxngexthioxepiy phasakiexsyngkhngepnphasathangsasnakhxngchawkhristinexthioxepiyaelaexriethriyiwyakrn aekikhklumphasaesmitikmiiwyakrnrwmknhlayxyang aemcamiswnthiphnaeprknipbang aeminphasaediywknexng echn phasaxahrbinsmyphuththstwrrsthi 11 kbphasaxahrbinpccubn kareriyngkha aekikh kareriyngladbkhainphasaesmitikdngedimepnkriya prathan krrm singkhxng ecakhxng aelanam khunsphth inphasaxahrbkhlassikaelasmyihmcaichkareriyngtaaebbnimak nxkcaknnyngphbkareriyngpraoykhaebbprathan kriya krrm dngthiphbinphasahibruaelaphasamxlta klumphasaesmitikinexthioxepiysmyihmeriyngpraoykhaebb prathan krrm kriya ecakhxng singkhxng aelakhunsphth nam sungxaccamacakxiththiphlkhxngklumphasakhuchitik klumphasaesmitikthiekathisud echn phasakiexs epnaebbkriya prathan krrm singkhxng ecakhxng aelanam khunsphth karkkhxngnamaelakhunsphth aekikh rabbkarksamaebbkhxngphasaesmitikdngedim prathan krrmtrngaelaecakhxng odyichkarlngthaykarkthitangip yngkhngmixyuinphasaxahrbinxlkurxan phasaxkhkhaediy aelaphasayukaritik lksranihayipinphasaesmitiksmyihm phasaxahrbmatrthansmyihmkhngmikarlngthaykarkechphaainkarekhiynaelakarxxkxakas karlngthaykarkdwy n yngkhngiwinphasaesmitikinexthioxepiy namaelakhunsphthinklumphasaesmitikmikarkahndepnsthana sthanachiechphaakahndody nunation canwnkhxngnamaelakhunsphth aekikh klumphasaesmitikswnihymi 3 canwnkhuxexkphcn thwiphcn aelaphhuphcn thwiphcnyngichxyuinphasaxahrbbangsaeniyngechnchuxpraethsbahern bahr thael ayn sxng aelainphasahibru echn sana hmaythung 1 pi snatayim hmaythung 2 pi aela sanim hmaythunghlaypi aelainphasamxlta sena hmaythung 1 pi sentejn hmaythung 2 pi aela snin hmaythunghlaypi karthaihepnphhuphcnodykaraethrkesiyngsralngip echn sadd ekhuxn 1 aehng sudud ekhuxnhlayaehng phbinphasaxahrbaelaphasaexthioxepiy rwmthngphasamxlta cungnacaepnswnhnungkhxngphasaesmitikdngedim malaaelakal aekikh rabbmalakhxngklumphasaesmitiktawntkaelatawnxxktangknchdecn phasaxkhkhaediyrksalksnasungphbodythwipinklumphasaaexofrexchiaextik phasaesmitiktawntkdngedimmi 2 mala khuxsmburnsahrbkarkrathathismburnaelaimsmburnichkbkarkrathathiekidimsmburn inkrniphiesskhxngphasaaexraemxikihmmikarrwmkhakriyasungidrbxiththiphlcakklumphasaxihran raksphthphyychnasamtw aekikh klumphasaesmitikthnghmdmilksnaphiesskhxngraksphththiprakxbdwyphyychnasamtw mithimiphyychna 2 hrux 4 twdwy sahrbnam khunsphth aelakriyasungsrangsphthidhlaythang echn odyaethrkesiyngsra saphyychna etimxupsrrkh pccy hruxxakhmtwxyangechn raksphth k t b hmaythungkarekhiyn inphasaxahrb kataba كتب he wrote masculine katabat كتبت she wrote feminine kutiba كتب it was written masculine kutibat كتبت it was written feminine kitab كتاب book the hyphen shows end of stem before various case endings kutub كتب books plural kutayyib كتيب booklet diminutive kitabat كتابة writing katib كاتب writer masculine katibah كاتبة writer feminine katibun a كاتبون writers masculine katibat كاتبات writers feminine kuttab كتاب writers broken plural katabat كتبة writers broken plural maktab مكتب desk or office maktabat مكتبة library or bookshop maktub مكتوب written participle or postal letter noun aelaraksphthediywkninphasahibru k t ḇ kataḇti כתבתי I wrote kataḇta כתבת you m wrote kataḇ כתב he wrote or reporter m katteḇet כתבת reporter f kattaḇa כתבה article plural katavot כתבות miḵ taḇ מכתב postal letter plural miḵ taḇim מכתבים miḵ taḇa מכתבה writing desk plural miḵ taḇot מכתבות ktoḇet כתובת address plural ktoḇot כתובות ktaḇ כתב handwriting katuḇ כתוב written f ktuḇa כתובה hiḵ tiḇ הכתיב he dictated f hiḵ tiḇ a הכתיבה hitkatteḇ התכתב he corresponded f hitkatḇ a התכתבה niḵ taḇ נכתב it was written m niḵ teḇa נכתבה it was written f ktiḇ כתיב spelling m taḵ tiḇ תכתיב prescript m meḵuttaḇ מכותב a person on one s mailing list meḵutteḇet מכותבת f ktubba כתובה ketubah a Jewish marriage contract f note b here not ḇ inphasamxlta sungraksphthphyychnacaeriykwa mamma jiena ktibt I wrote inti ktibt you wrote m or f huwa kiteb he wrote hija kitbet she wrote aħna ktibna we wrote intkom ktibtu you pl wrote huma kitbu they wrote huwa miktub it is written kittieb writer kittieba writers kitba writing ktib writing ktieb book kotba books ktejjeb booklet inphasatukruyyaaelaphasaxmhara raksphthnipraktechphaakhanam kitab hmaythung amulet aelakriya to vaccinate phasathiepnlukhlaninexthioxepiymiraksphththitangipsahrbkarekhiyn khakriyainphasaintrakulaexfofrexechiytikxun thiimichklumphasaesmitikmilksnaediywknni aetmkepnphyychna 2 twmakkwakhasphththwip aekikhephraaklumphasaesmitikmicudkaenidrwmkn cungmkmisphthaelaraksphththiichrwmkn echn English Proto Semitic phasaxkhkhaediy phasaxahrb phasaaexraemxik phasahibru phasakiexs phasaemhriphx ʼab ab ʼab ʼab a ʼaḇ ʼab ḥa ybhwic lib a b libb lubb lebb a leḇ aḇ libb ḥa wbebban bayt bitu betu bayt beyt a bayiṯ beṯ bet beyt betpeace salam salam salam shlam a salom salam selōmtongue lisan lasan lisan lisan lessan a lason lissan ewsenna may may mu root ma may maʼ may mayy a mayim may ḥe mōbangkhrng raksphthmikhwamhmaytangipinphasahnungemuxethiybkbklumphasaesmitikxun twxyangechnraksphth b y ḍ inphasaxahrbhmaythungkhawaelaikh inphasamxlta bajda hmaythungkhawaelaikhechnediywkn aetinphasahibruhmaythungkhawethann raksphth l b n inphasaxahrbhmaythungnm aetphasahibruhmaythungsikhaw raksphth l ḥ m phasaxahrbhmaythungenux aethmaythungkhnmpnginphasahibru aelawwinklumphasaesmitikinexthioxepiy khwamhmaydngedimkhxngraksphthnixachmaythungxahar khawa medina rak m d n phasaxahrbhmaythungemuxng aetinphasahibrusmyihmhmaythungrth inbangkhrngimphbkhwamsmphnthrahwangraksphth echn khawa khwamru inphasahibruichraksphth y d ʿ aetinphasaxahrbich ʿ r f aela ʿ l m klumphasaesmitikinexthioxepiy ich ʿ w q aela f l ṭkarcdcaaenk aekikhkarcdcaaenktxipniepniptamwithikhxng Robert Hetzron emux ph s 2519 aelamikarprbprungody John Huehnergard aela Rodgers sungidrbkaryxmrbxyangkwangkhwangthisudinkhnani xyangirktam yngmikhxotaeyngekiywkbkarcdcaaenkxyu echn xaccdphasaxahrbxyuinklumesmitikit bangswnaeykklumphasaxaraebiyitxxkepnsakhathisamrwmkbklumphasaesmitiktawnxxkaelatawntk makkwacatngepnklumphasaesmitikit nxkcaknnyngimmiesnaebngthiaennxnrahwangphasaexkethskbsaeniyng dngthiphbinphasaxahrb phasaaexraemxikaelaphasakuerkkarcdklumphayinklumphasaesmitikkxn ph s 2513 cdihphasaxahrbxyuinklumphasaesmitikit aelayngimmikarkhnphbphasaexblaixtinchwngnn klumphasaesmitiktawnxxk aekikh phasaxkhkhaediy epnphasatay phasaexblaixt epnphasatayklumphasaesmitiktawntk aekikh klumphasaesmitikklang klumphasaesmitiktawntkechiyngehnux phasaxomirt tayaelw phasayukaritik tayaelw phasakhanaxnint tayaelw phasaxmomint tayaelw phasamwibt tayaelw phasaxiodimt tayaelw phasahibru phasahibruibebil ichodynkwichakarephuxeriykphasahibruthiichinkhmphirotrah pccubnehluxrxdinrupphasahibrusmyihm phasahibrumisnah ichinkarxankhmphirthlmudaelanganekhiynaerbibxun xacepnphasaphudinyukhklang phasahibruyukhklang phthnamaepnphasahibrusmyihm phasamisrahi ichphudinxisraexl eyemn xirk epxrotriokaelaniwyxrk phasahibruetymani ichphudinhmuchawyiwineyemn phasahibruesfardi karxxkesiyngphasahibrusmyihmyudtamsaeniyngni phasahibruxaseknasi yngmiphuphudehluxxyu phasahibrusamarithn ichphudinoxlxn ethlxawif aelanablsinekhtpkkhrxngtnexngkhxngpaelsitn phasahibrusmyihmhruxphasahibruxisraexl phasafiniechiy tayaelw phasapunik tayaelw phasaaexraemxik phasanabathaexiyn tayaelw phasaaexraemxiktawntkyukhklang phasaaexraemxikpaelsitnyukhklangkhxngchawyiw tayaelw phasaaexraemxiksamarithn yngmiphuphudehluxxyu phasaaexraemxikpaelsitnkhxngchawkhrist tayaelw phasaaexraemxikihmtawntk yngmiphuphudehluxxyu phasaaexraemxiktawnxxk tayaelw phasaaexraemxikibebil phasaxraemhxikatrn tayaelw phasasiriaexk yngmisaeniyngehluxxyu phasaaexraemxikbabioleniyyukhklangkhxngchawyiw tayaelw phasaaexraemxikihmkhlediy yngmisaeniyngehluxxyu phasaaexraemxikihmxssieriy yngmiphuphudehluxxyu phasaesnaya yngmiphuphudehluxxyu phasakxy snct surt yngmiphuphudehluxxyu phasaehxretwin yngmiphuphudehluxxyu phasatuoroy yngmiphuphudehluxxyu phasamlaos tayaelw phasamndaxik yngmiphuphudehluxxyu phasaaexraemxikkhxngchawyiw yngmiphuphudehluxxyu phasaxahrb phasaxahrbehnuxobran tayaelw phasaxahrbmatrthan phasafusha epnphasaekhiyn phasaxahrbkhlassik epnphasathiichinkhmphirxlkurxanaelawrrnkhdikhxngsasnaxislam phasaxahrbyukhklang icheriykphasaxahrbyukhhlngkhlassikaelakxnphasaxahrbsmyihm imichepnphasaphud phasaxahrbmatrthansmyihm epnphasaekhiynyukhihmichinsuxthiepnthangkaraelakarekhiyninolkxahrb tangcakphasaxahrbkhlassikaelaphasaxahrbyukhklangodyidrbxiththiphlcaktawntkmakkhun saeniyngtang khxngphasaxahrbthiichepnphasaphud saeniyngkhxngphasaxahrbtawnxxk saeniyngkhxngphasaxahrbkhabsmuthr idaek phasaxahrbodfari ichinoxman eyemn phasaxahrbhadrami ichineyemn phasaxahrbhiyasiichinsaxudixaraebiy phasaxahrbncydi ichinsaxudixaraebiy phasaxahrboxman phasaxahrbsanaxani ichineyemn phasaxahrbtaxissi xednn ichineyemn phasaxahrbkhxngchawyiwineyemn saeniyngphasaxahrbebduxin ebdawi idaek phasaxahrbebdawiinxiyipttawnxxk phasaxahrbebdawiinkhabsmuthr ichphudinkhabsmuthrxahrb saeniynginexechiyklang idaek phasaxahrbexechiyklang phasaxahrbkhuessthan phasaxahrbsirwan tayaelw phasaxahrbxiyipt ichphudinikhoraelathilumpakaemnainl phasaxahrbisdi ichphudinxiyipttxnbn saeniyngxaw rwmthngthiichphudinxihran phasaxahrbbahern inbahern phasaxahrbxaw ichphudinpraethsrimxawepxresiy phasaxahrbsihihi ichphudinshrthxahrbexmierts saeniyngphasaxahrbinbriewnliaewnt idaek phasaxahrbmaorint inisprs phasathiichphudinbriewnliaewntehnux khux elbanxn sieriy idaek phasaxahrbelbanxn phasathiichphudinbriewnliaewntit khux cxraedn paelsitn ewstaebngk aelaxisraexl idaek phasaxahrbpaelsitn phasaxahrbxirk ichphudinxirk idaek phasaxahrbxirkkhxngchawyiw phasaxahrbsudan saeniyngkhxngphasaxahrbmkerb phasaxahrbaexlcieriy phasaxahrbsahara phasaxahrbchuwa inchad phasaxahrbhssaniyah inmxritaeniyaelabriewnthaelthraysahara phasaxahrbliebiy rwmthngphasaxahrbtrioplikhxngchawyiw saeniynginliebiy phasaxahrbxndalusi epnsaeniyngthiichinkhabsmuthrixbieriy epnphasathitayaelw phasaxahrbsisili epnphasathitayaelw miphasamxltathiepnlukhlankhxngphasaniaetthuxepnphasaexkeths phasaxahrbomrxkok rwmphasaxahrbomrxkokkhxngchawyiw phasaxahrbtuniesiy rwmphasaxahrbtuniesiykhxngchawyiwinkrnikhxngphasaxahrbsaeniyngkhxngchawyiwthimikhayumcakphasahibrumak cacdrwmiwinphasaxahrbkhlassikthiekhiyndwyxksrhibru odyichsphthwaphasaxahrbkhxngchawyiw klumphasaesmitikit aekikh klumphasaesmitikittawntk klumphasaxaraebiyitobran epnphasathitayaelwthnghmd ekhyechuxwaepnbrrphburuskhxngphasaxaraebiyitsmyihmaelaklumphasaesmitikinexthioxepiyidaek phasasabaexiyn phasaimnwn phasakwatabaxik phasahadraematik klumphasaexthioxepiy klumphasaexthioxepiyehnux idaek phasakiexs epnphasatay ichepnphasathangsasnakhxngsasnakhristnikayxxrthxdxksexthioxepiyaelanikayxxrthxdxksexriethriy phasathikrinya phasapracachatikhxngexriethriy phasatiekr phasadahlik ephingphbihm klumphasaexthioxepiyit klumtdphan idaek klumphasaxmhara xarkxbba idaek phasaxmhara phasapracachatikhxngexthioxepiy aelaphasaxarkxbba klumphasaxarari kuerktawnxxk idaek phasaxarari klumphasakuerktawnxxk phasaeslti phasasaw phasaxulbaer phasaowlaen phasaxinenkxr klumnxk klumehnux idaek phasakaft tayaelw phasaosdod phasakxkkxt klumkhxngphasaemsems phasamuehxr klumphasakuerktawntk phasamskn klumphasakuerktawntktxnklang phasaexsa phasasaha phasakura phasakuemxr klumphasakuerktawntkrxbnxk phasaeweyot phasaexnenmxr phasaexnedekn klumphasaesmitikittawnxxk phasaehlaniichphudodychnklumnxyinkhabsmuthrxaraebiyineyemnaelaoxman idaek phasabathari phasaharsusi phasaxxbyxt phasacibbali phasaemhri phasaosoktriphasaemhrimibrrphburusiklekhiyngkbklumphasaesmitiktawnxxk makkwaklumphasaesmitikit thukwnni phasaemhrithukcdihxyurahwangklumphasaesmitikittawnxxk hruxepnklumxisraxangxing aekikh The Origins of Afroasiatic Ehret et al 306 5702 1680c Science McCall Daniel F 1998 The Afroasiatic Language Phylum African in Origin or Asian Current Anthropology 39 1 139 44 doi 10 1086 204702 Patrick R Bennett Comparative Semitic Linguistics A Manual Eisenbrauns 1998 ISBN 1 57506 021 3 Gotthelf Bergstrasser Introduction to the Semitic Languages Text Specimens and Grammatical Sketches Translated by Peter T Daniels Winona Lake Ind Eisenbrauns 1995 ISBN 0 931464 10 2 Giovanni Garbini Le lingue semitiche studi di storia linguistica Istituto Orientale Napoli 1984 Giovanni Garbini amp Olivier Durand Introduzione alle lingue semitiche Paideia Brescia 1995 Robert Hetzron ed The Semitic Languages Routledge London 1997 ISBN 0 415 05767 1 For family tree see p 7 Edward Lipinski Semitic Languages Outlines of a Comparative Grammar 2nd ed Orientalia Lovanensia Analecta Leuven 2001 ISBN 90 429 0815 7 Sabatino Moscati An introduction to the comparative grammar of the Semitic languages phonology and morphology Harrassowitz Wiesbaden 1969 Edward Ullendorff The Semitic languages of Ethiopia a comparative phonology London Taylor s Foreign Press 1955 William Wright amp William Robertson Smith Lectures on the comparative grammar of the Semitic languages Cambridge University Press 1890 2002 edition ISBN 1 931956 12 X Arafa Hussein Mustafa Analytical study of phrases and sentences in epic texts of Ugarit German title Untersuchungen zu Satztypen in den epischen Texten von Ugarit PhD Thesis Martin Luther University Halle Wittenberg Germany 1974 aehlngkhxmulxun aekikhChart of the Semitic Family Tree American Heritage Dictionary 4th ed Semitic genealogical tree as well as the Afroasiatic one presented by Alexander Militarev at his talk Genealogical classification of Afro Asiatic languages according to the latest data at the conference on the 70th anniversary of Vladislav Illich Svitych Moscow 2004 short annotations of the talks given there rsesiy Semitic in SIL s Ethnologue Ancient snake spell in Egyptian pyramid may be oldest Semitic inscriptionekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasaesmitik amp oldid 9548188, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม