fbpx
วิกิพีเดีย

สระ (สัทศาสตร์)

ในทางสัทศาสตร์ สระ (สะ-หฺระ) หมายถึงเสียงในภาษาที่เปล่งออกมาจากช่องเสียง (vocal tract) ที่เปิดออกโดยตรงจากช่องเส้นเสียง (glottis) โดยไม่กักอากาศ ตัวอย่างเช่น "อา" หรือ "โอ" (โดยไม่กักอากาศด้วยอักษร ) ตรงข้ามกับพยัญชนะซึ่งมีการกักอากาศอย่างน้อยหนึ่งจุดภายในช่องเสียง เสียงสระสามารถจัดได้ว่าเป็นพยางค์ ส่วนเสียงเปิดที่เทียบเท่ากันแต่ไม่สามารถเปล่งออกมาเป็นพยางค์ได้เรียกว่า กึ่งสระ (semivowel)

เสียงสระเป็นแกนพยางค์ (syllable nucleus) ในทุกภาษา ซึ่งเสียงพยัญชนะจะเกิดขึ้นก่อนหรือหลังเสียงสระเสมอ อย่างไรก็ตามในบางภาษาอนุญาตให้เสียงอื่นเป็นแกนพยางค์ เช่นคำในภาษาอังกฤษ table [ˈteɪ.bl̩] "โต๊ะ" ใช้เสียง l เป็นแกนพยางค์ (ขีดเล็กๆ ที่อยู่ใต้ l หมายถึงสามารถออกเสียงได้เป็นพยางค์ ส่วนจุดคือตัวแบ่งพยางค์) หรือคำในภาษาเซอร์เบีย vrt [vr̩t] "สวน" เป็นต้น แต่เสียงเหล่านี้ไม่เรียกว่าเป็นเสียงสระ

สระในระบบการเขียน

อักษรละติน

สระ ยังหมายถึงสัญลักษณ์ที่เป็นตัวแทนของเสียงสระในระบบการเขียนของภาษาหนึ่งๆ โดยเฉพาะถ้าสระนั้นมีการใช้อักษร ในระบบการเขียนที่มีพื้นฐานบนอักษรละติน อักษร A, E, I, O, U, W, และ Y ถูกใช้แทนเสียงสระ ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่ภาษาทั้งหมดที่ใช้อักษรทุกตัวเป็นเสียงสระ และบางตัวก็ใช้แทนเสียงกึ่งสระเช่น W กับ Y นอกจากนั้นก็ยังมีอักษรละตินที่ปรับแต่งเพิ่มเติมเป็นสระชนิดใหม่ ตัวอย่างเช่น Ä, Ö, Ü, Å, Æ, และ Ø เป็นต้น

เสียงสระที่แทนด้วยอักษรสระออกเสียงแตกต่างกันไปในแต่ละภาษา บางภาษาใช้ I และ Y สำหรับแทนเสียงพยัญชนะ [j] เมื่อปรากฏเป็นอักษรตัวแรกเช่นในภาษาโรมาเนียและภาษาอังกฤษตามลำดับ ในตอนเริ่มแรกนั้น อักษรละตินไม่มีความแตกต่างระหว่าง V กับ U ซึ่งใช้แทนเสียงพยัญชนะ [w] และเสียงสระ [u] กับ [ʊ] แต่ในปัจจุบันภาษาเวลส์ (Welsh) ใช้ W แทนเสียงเหล่านี้ทั้งหมด หรือในภาษาครีก (Creek) กลับใช้ V แทนเสียงสระ [ə] ดังนั้นจึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องจับคู่เสียงสระแบบหนึ่งต่อหนึ่งเข้ากับอักษรสระโดยตรง หลายภาษาที่ใช้อักษรละตินและมีเสียงสระมากมายก็สามารถใช้อักษรสระห้าตัวหลัก A, E, I, O, และ U เป็นตัวแทนได้

ในภาษาอื่นๆ ที่มีเสียงสระมากมายแต่ไม่มีอักษรสระพอใช้ หลายภาษาแก้ปัญหานี้ด้วยการผสมอักษรสระสองตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน หลายภาษาใช้การปรับแต่งด้วยการเพิ่มเครื่องหมายเสริมสัทอักษรลงบนอักษรสระ เช่น À, Á, Â, Ä ในภาษาฝรั่งเศส และมีบางภาษาเปลี่ยนอักษรสระเสียใหม่โดยการนำมาเชื่อมกันหรือดัดแปลงเป็นอักษรอื่น เช่น Æ กับ Ø ในภาษากลุ่มสแกนดิเนเวีย สำหรับสัทอักษรสากลได้กำหนดสัญลักษณ์ไว้ 28 แบบสำหรับแทนเสียงสระพื้นฐาน และมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรกลุ่มหนึ่งเพื่อปรับแต่งเสียงสระที่แตกต่างจากเสียงสระพื้นฐาน

สระเป็นปัญหาหนึ่งของการทับศัพท์ เนื่องจากเสียงสระในภาษาหนึ่งอาจไม่มีในอีกภาษาหนึ่ง หรือสามารถแทนได้มากกว่าหนึ่งเสียง ทางออกที่มักใช้คือการใช้เสียงสระที่ใกล้เคียง หรือกำหนดด้วยหลักเกณฑ์การทับศัพท์โดยองค์กรควบคุมการใช้ภาษา

สระลอยและสระจม

สระลอย (independent vowel) หมายถึงสระที่ไม่ต้องมีพยัญชนะต้นกำหนด ก็สามารถประสมเป็นคำหรือพยางค์ได้ ซึ่งตรงข้ามกับ สระจม (dependent vowel) ที่จำเป็นต้องมีพยัญชนะต้นจึงประสมเป็นคำหรือพยางค์ได้

สระ, ทศาสตร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ในทางส, ทศาสตร, สระ, สะ,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inthangsthsastr sra sa h ra hmaythungesiynginphasathieplngxxkmacakchxngesiyng vocal tract thiepidxxkodytrngcakchxngesnesiyng glottis odyimkkxakas twxyangechn xa hrux ox odyimkkxakasdwyxksr x trngkhamkbphyychnasungmikarkkxakasxyangnxyhnungcudphayinchxngesiyng esiyngsrasamarthcdidwaepnphyangkh swnesiyngepidthiethiybethaknaetimsamartheplngxxkmaepnphyangkhideriykwa kungsra semivowel esiyngsraepnaeknphyangkh syllable nucleus inthukphasa sungesiyngphyychnacaekidkhunkxnhruxhlngesiyngsraesmx xyangirktaminbangphasaxnuyatihesiyngxunepnaeknphyangkh echnkhainphasaxngkvs table ˈteɪ bl ota ichesiyng l epnaeknphyangkh khidelk thixyuit l hmaythungsamarthxxkesiyngidepnphyangkh swncudkhuxtwaebngphyangkh hruxkhainphasaesxrebiy vrt vr t swn epntn aetesiyngehlaniimeriykwaepnesiyngsrasrainrabbkarekhiyn aekikhxksrlatin aekikh sra ynghmaythungsylksnthiepntwaethnkhxngesiyngsrainrabbkarekhiynkhxngphasahnung odyechphaathasrannmikarichxksr inrabbkarekhiynthimiphunthanbnxksrlatin xksr A E I O U W aela Y thukichaethnesiyngsra thungaemwacaimichphasathnghmdthiichxksrthuktwepnesiyngsra aelabangtwkichaethnesiyngkungsraechn W kb Y nxkcaknnkyngmixksrlatinthiprbaetngephimetimepnsrachnidihm twxyangechn A O U A AE aela O epntnesiyngsrathiaethndwyxksrsraxxkesiyngaetktangknipinaetlaphasa bangphasaich I aela Y sahrbaethnesiyngphyychna j emuxpraktepnxksrtwaerkechninphasaormaeniyaelaphasaxngkvstamladb intxnerimaerknn xksrlatinimmikhwamaetktangrahwang V kb U sungichaethnesiyngphyychna w aelaesiyngsra u kb ʊ aetinpccubnphasaewls Welsh ich W aethnesiyngehlanithnghmd hruxinphasakhrik Creek klbich V aethnesiyngsra e dngnncungimmikhwamcaepnthicatxngcbkhuesiyngsraaebbhnungtxhnungekhakbxksrsraodytrng hlayphasathiichxksrlatinaelamiesiyngsramakmayksamarthichxksrsrahatwhlk A E I O aela U epntwaethnidinphasaxun thimiesiyngsramakmayaetimmixksrsraphxich hlayphasaaekpyhanidwykarphsmxksrsrasxngtwkhunipekhadwykn hlayphasaichkarprbaetngdwykarephimekhruxnghmayesrimsthxksrlngbnxksrsra echn A A A A inphasafrngess aelamibangphasaepliynxksrsraesiyihmodykarnamaechuxmknhruxddaeplngepnxksrxun echn AE kb O inphasaklumsaekndienewiy sahrbsthxksrsaklidkahndsylksniw 28 aebbsahrbaethnesiyngsraphunthan aelamiekhruxnghmayesrimsthxksrklumhnungephuxprbaetngesiyngsrathiaetktangcakesiyngsraphunthansraepnpyhahnungkhxngkarthbsphth enuxngcakesiyngsrainphasahnungxacimmiinxikphasahnung hruxsamarthaethnidmakkwahnungesiyng thangxxkthimkichkhuxkarichesiyngsrathiiklekhiyng hruxkahnddwyhlkeknthkarthbsphthodyxngkhkrkhwbkhumkarichphasa sralxyaelasracm aekikh sralxy independent vowel hmaythungsrathiimtxngmiphyychnatnkahnd ksamarthprasmepnkhahruxphyangkhid sungtrngkhamkb sracm dependent vowel thicaepntxngmiphyychnatncungprasmepnkhahruxphyangkhid xksrithymisralxyidaek v vi l li odyechphaa v kb l nnepnsraidthngsxngpraephth echninkhawa vththi kb phvksa nxkehnuxcaknnepnsracmthnghmd xksrswnihyintrakulxksrphrahmi echn xksrethwnakhri xksrthmil xksrphma mithngsralxyaelasracmsahrbrupsraaetlatw rupsrakhxngphasathiichxksrlatin xksrsirillik xksrkrik xksrxaremeniy epnidthngsralxyaelasracm rupsrakhxngxksrhnkulinphasaekahlithnghmdepnsracm idaek ㅏ ㅐ ㅑ ㅒ ㅓ ㅔ ㅕ ㅖ ㅗ ㅘ ㅙ ㅚ ㅛ ㅜ ㅝ ㅞ ㅟ ㅠ ㅡ ㅢ ㅣ xksrhibrumiaetsracmethann idaek xksrcin epnlksnakhxngxksrphaph cungimmisralxyhruxsracm xksryipun epnlksnakhxngxksrphyangkh cungimmisralxyhruxsracm xksrxahrb epnlksnakhxngxksrirsra cungimmisralxyhruxsracm bthkhwamekiywkbphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phasa ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sra sthsastr amp oldid 7626598 sralxyaelasracm, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม