fbpx
วิกิพีเดีย

ดาวศุกร์

ระวังสับสนกับ พระศุกร์

ดาวศุกร์ (อังกฤษ: Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 เมื่อมองจากโลกในตอนกลางคืน ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าซึ่งสว่างรองลงมาจากดวงจันทร์ ดาวศุกร์มีวงโคจรอยู่ภายในวงโคจรของโลก ทำให้เมื่อสังเกตแล้วจะไม่ปรากฏว่าห่างจากดวงอาทิตย์มากนัก กล่าวคือ จะเห็นในตอนหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาวประจำเมือง" หรือเห็นในตอนเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง"

ดาวศุกร์   หรือ

ภาพดาวศุกร์จาก ยานมาริเนอร์ 10
ลักษณะของวงโคจร
จุดเริ่มยุค J2000
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
108,941,849 กม.
0.72823128 หน่วยดาราศาสตร์
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
107,476,002 กม.
0.71843270 หน่วยดาราศาสตร์
กึ่งแกนเอก:108,208,926 กม.
0.72333199 หน่วยดาราศาสตร์
เส้นรอบวง
ของวงโคจร:
0.680 เทระเมตร
(4.545 หน่วยดาราศาสตร์)
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.00677323
คาบดาราคติ:224.70096 วัน
(0.6151977 ปีจูเลียน)
คาบซินอดิก:583.92 วัน
อัตราเร็วเฉลี่ย
ในวงโคจร
:
25.020 กม./วินาที
อัตราเร็วสูงสุด
ในวงโคจร:
35.259 กม./วินาที
อัตราเร็วต่ำสุด
ในวงโคจร:
34.784 กม./วินาที
ความเอียง:3.39471°
(3.86° กับศูนย์สูตรดวงอาทิตย์)
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
76.68069°
ระยะมุมจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
54.85229°
ดาวบริวารของ:ดวงอาทิตย์
จำนวนดาวบริวาร:ไม่มี
ลักษณะทางกายภาพ
เส้นผ่านศูนย์กลาง
ตามแนวศูนย์สูตร:
12,103.7 กม.
(0.949×โลก)
พื้นที่ผิว:4.60×108 กม.²
(0.147×โลก)
ปริมาตร:9.28×1011 กม.³
(0.857×โลก)
มวล:4.8685×1024 กก.
(0.815×โลก)
ความหนาแน่นเฉลี่ย:5.204 กรัม/ซม.³
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
8.87 เมตร/วินาที²
(0.904 จี)
ความเร็วหลุดพ้น:10.36 กม./วินาที
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
−243.0185 วัน
ความเร็วการหมุน
รอบตัวเอง:
6.52 กม./ชม.
ความเอียงของแกน:2.64°
ไรต์แอสเซนชัน
ของขั้วเหนือ:
272.76°
(18 ชม. 11 นาที 2 วินาที)
เดคลิเนชัน
ของขั้วเหนือ:
67.16°
อัตราส่วนสะท้อน:0.65
อุณหภูมิพื้นผิว:
   เคลวิน
ต่ำสุดเฉลี่ยสูงสุด
228* K (ยอดเมฆ)737 K773 K
ลักษณะของบรรยากาศ
ความดันบรรยากาศ
ที่พื้นผิว:
9,321.9 กิโลปาสกาล
องค์ประกอบ:~96.5% คาร์บอนไดออกไซด์
~3.5% ไนโตรเจน
0.015% ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
0.007% ไอน้ำ
0.002% คาร์บอนมอนอกไซด์
0.0017% อาร์กอน
0.0012% ฮีเลียม
0.0007% นีออน
คาร์บอนิลซัลไฟด์ ปริมาณน้อยมาก
ไฮโดรเจนคลอไรด์ ปริมาณน้อยมาก
ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ปริมาณน้อยมาก

ดาวศุกร์โคจรรอบดวงอาทิตย์ช้ามากและหมุนรอบตัวเองช้าเช่นกัน โดยโคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบใช้เวลา 224.7 วันของโลก และหมุนรอบตัวเองครบบริบูรณ์โดยใช้เวลา 243 วันของโลก แต่มีความยาววันสุริยคติ 117 วันของโลก ด้วยเหตุนี้ ดาวศุกร์จึงจัดเป็นดาวที่หมุนรอบตัวเองช้าที่สุดในระบบสุริยะ นอกจากนี้ ดวงอาทิตย์บนดาวศุกร์จะขึ้นทางทิศตรงกันข้ามกับโลก คือ ขึ้นทางทิศตะวันตกและตกทางทิศตะวันออก ดาวศุกร์ไม่มีบริวารธรรมชาติเช่นเดียวกับดาวพุธ

ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน และมักกล่าวว่าเป็นดาวน้องสาวของโลก ด้วยเหตุที่มีขนาดใกล้กัน มวลเกือบเท่ากัน อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์เหมือนกัน และมีส่วนประกอบเป็นหินเหมือนกัน อย่างไรก็ตามนั้น ดาวศุกร์มีลักษณะต่างจากโลกอย่างสุดขั้วในหลายด้าน อาทิ มีความหนาแน่นบรรยากาศสูงสุดในบรรดาดาวเคราะห์หินทั้งสี่ดวง ความดันบรรยากาศบนดาวศุกร์มีค่าประมาณ 92 เท่าของความดันบรรยากาศโลกที่ระดับน้ำทะเลปานกลาง ในบรรยากาศนั้นก็ประกอบไปด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 96% อุณหภูมิเฉลี่ยบนดาวศุกร์มีค่า 737 K (464 °C; 867 °F) ซึ่งสูงกว่าดาวพุธซึ่งอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์มีเมฆซึ่งประกอบด้วยกรดซัลฟิวริก สะท้อนแสงได้ดีมาก จนไม่เห็นพื้นผิวในย่านแสงที่มองเห็น ในอดีตเชื่อว่า ดาวศุกร์เคยมีมหาสมุทร แต่ต่อมามหาสมุทรระเหยเหือดแห้งไปอันเนื่องจาก ปรากฏการณ์เรือนกระจกแบบควบคุมไม่ได้ (runaway greenhouse effect) น้ำที่ระเหยไปนั้นเชื่อว่าอาจถูกสลายด้วยแสง และไฮโดรเจนจากน้ำก็ถูกนำออกไปในบรรยากาศโดยลมสุริยะ

การที่ดาวศุกร์มีความสว่างมากนี้เอง ทำให้มนุษย์มีความสนใจใคร่รู้และจดบันทึกการโคจร นับแต่สองพันปีก่อนคริสตกาล ครั้นพัฒนาการสำรวจอวกาศได้รุดหน้า มนุษย์ได้สนใจใคร่รู้และสำรวจดาวศุกร์เป็นดาวแรกเมื่อปี พ.ศ.2505 โดยยานมารีเนอร์ 2 แปดปีต่อมายานเวเนรา 7ก็ลงจอดยังผิวดาวศุกร์ ถึงกระนั้น เนื่องจากดาวศุกร์มีเมฆหนาทึบ การสำรวจพื้นผิวในรายละเอียดก็ไม่สามารถกระทำได้ดีนัก จนกระทั่งมียานมาเจลลัน สำรวจดาวศุกร์เมื่อ พ.ศ.2534 ในปัจจุบันมีความพยายามศึกษาความเป็นไปได้ของชีวิตบนดาวศุกร์ ซึ่งยังเป็นหัวข้อวิจัยที่มีการถกเถียงกันอย่างมากอยู่

ชื่อของดาวศุกร์ในภาษาอังกฤษ มีที่มาจากเทพีแห่งความรักในเทพปกรณัมโรมัน ส่วนในภาษาไทย มาจากเทพพระศุกร์ หรือศุกระ ผู้เป็นครูของมารและเป็นเทพแห่งความงาม สัญลักษณ์ของดาวศุกร์ในทางโหราศาสตร์และดาราศาสตร์สากล คือ ♀ อันเป็นสัญลักษณ์แทนเพศหญิง ส่วนในโหราศาสตร์ไทย ใช้ ๖ (เลขหกไทย)

ลักษณะทางกายภาพ

 
ขนาดของดาวศุกร์เมื่อเทียบกับโลก

ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หินในจำนวนทั้งหมด 4 ดวงในระบบสุริยะ ซึ่งหมายความว่า ส่วนประกอบอันประกอบขึ้นเป็นดาวศุกร์นั้นเป็นหินเช่นเดียวกับโลก ยิ่งกว่านั้น ดาวศุกร์มีขนาดและมวลเท่ากับโลก จึงถูกขนานนามว่าเป็น น้องสาว หรือ ฝาแฝด ของโลก เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวศุกร์คือ 12,103.6 km (7,520.8 mi) ซึ่งเล็กกว่าโลกไป 638.4 km (396.7 mi) นอกจากนี้ยังมีมวล 81.5% ของมวลโลก อย่างไรก็ตามนั้น สภาวะบรรยากาศบนดาวศุกร์ต่างจากบนโลกอย่างมาก บรรยากาศของดาวศุกร์ประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 96.5% มีไนโตรเจนเพียง 3.5% ความดันบรรยากาศและอุณหภูมิที่ผิวดาวศุกร์มีค่า 9.3 เมกะปาสกาล (93 บาร์) และ 737 K (464 °C; 867 °F) ตามลำดับ ซึ่งอยู่สูงกว่าจุดวิกฤตทางอุณหพลศาสตร์ เป็นเหตุให้บรรยากาศของดาวศุกร์มีลักษณะเป็นของไหลวิกฤตยวดยิ่ง

บรรยากาศและภูมิอากาศ

โครงสร้างเมฆของดาวศุกร์ ค้นพบเมื่อ พ.ศ.2559

ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ดาวศุกร์มีบรรยากาศหนาแน่นมากถึงขั้นที่ว่าสสารในบรรยากาศเป็นของไหลวิกฤตยวดยิ่ง คือถูกอัดอย่างมากแต่ไม่ถึงกับเป็นของแข็ง มวลของบรรยากาศของดาวศุกร์มีค่า 92 เท่าของโลก ส่วนความดันบรรยากาศบนดาวศุกร์พื้นผิวมีค่า 93 เท่าของโลก ซึ่งเทียบได้กับความดันในมหาสมุทรลึก 1 km (58 mi) บนโลก ความหนาแน่นบนพื้นผิวดาวศุกร์มีค่า 65 kg/m3 คือประมาณ 6.5% ของน้ำ หรือ 50 เท่าของความดันบรรยากาศโลกที่ระดับน้ำทะเลปานกลางอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส (293 เคลวิน; 20 องศาเซลเซียส; 68 องศาฟาเรนไฮต์)convert: bug ด้วยเหตุที่ดาวศุกร์มีคาร์บอนไดออกไซด์มาก ก็ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกรุนแรงที่สุดในระบบสุริยะ อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงอย่างน้อย 462 องศาเซลเซียส (735 เคลวิน; 462 องศาเซลเซียส; 864 องศาฟาเรนไฮต์)convert: bug. ซึ่งสูงกว่าอุณหภูมิพื้นผิวของดาวพุธ อนึ่ง ดาวพุธได้ฉายาว่า เตาไฟแช่แข็ง ด้วยเหตุที่อุณหภูมิพื้นผิวต่ำสุดมีค่า −220 องศาเซลเซียส (53 เคลวิน; −220 องศาเซลเซียส; −364 องศาฟาเรนไฮต์)convert: bug และอุณหภูมิสูงสุดมีค่า 427 องศาเซลเซียส (700 เคลวิน; 427 องศาเซลเซียส; 801 องศาฟาเรนไฮต์)convert: bug, ดาวศุกร์มีระยะห่างจากดวงอาทิตย์เกือบสองเท่าของระยะห่างระหว่างดาวพุธกับดวงอาทิตย์ เป็นเหตุให้ดาวศุกร์ได้รับพลังงานจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ประมาณ 25% แต่กลับมีอุณหภูมิสูงมากก็ด้วยภาวะเรือนกระจก แก๊สในบรรยากาศกักความร้อนมิให้ออกจากบรรยากาศ ตารางต่อไปนี้แสดงอุณหภูมิที่ภาวะต่าง ๆ ของดาวศุกร์

อุณหภูมิดาวศุกร์
สภาวะ อุณหภูมิ
อุณหภูมิพื้นผิวสูงสุด 900°F (482°C)
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย 847°F (453°C)
อุณหภูมิพื้นผิวต่ำสุด 820°F (438°C)

บรรยากาศของดาวศุกร์อุดมไปด้วยแก๊สเฉื่อยเช่นเดียวกับบนโลก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของดาวศุกร์ซึ่งก่อกำเนิดแบบเดียวกับโลก ในระยะแรกนักดาราศาสตร์เชื่อว่ามีน้ำในบรรยากาศดาวศุกร์แบบเดียวกับโลก ต่อมาเมื่อดาวศุกร์ได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ตลอดจนถึงเกิดภาวะเรือนกระจก ก็ทำให้น้ำในบรรยากาศดาวศุกร์อันตรธานหายไป แม้ว่าอุณหภูมิบนดาวศุกร์จะไม่เอื้ออำนวยให้เกิดสิ่งมีชีวิต แต่นักวิทยาศาสตร์ก็เชื่อว่าเมฆชั้นบนที่ความสูง 50 km (30 mi) จากพื้นผิว ซึ่งมีอุณหภูมิ 30 และ 80 องศาเซลเซียส (303 และ 353 เคลวิน; 30 และ 80 องศาเซลเซียส; 86 และ 176 องศาฟาเรนไฮต์)convert: bug ก็อาจจะมีสิ่งมีชีวิตที่ทนต่อกรดรุนแรงได้บ้างอาศัยอยู่

บนดาวศุกร์ เหนือชั้นคาร์บอนไดออกไซด์เป็นเมฆหนาซึ่งอุดมไปด้วยกรดซัลฟิวริกผสมกับน้ำ และมีเฟอร์ริกคลอไรด์ ประมาณ 1% นอกจากนี้อาจมีเฟอร์ริกซัลเฟต อะลูมิเนียมคลอไรด์ และ ฟอสฟอริกแอนไฮไดรด์ เมฆของดาวศุกร์ที่ระดับความสูงต่างกันมีส่วนประกอบต่างกัน และมีการจำแนกขนาดอนุภาคไม่เหมือนกัน เมฆเหล่านี้สะท้อนและกระเจิงแสงจากดวงอาทิตย์ประมาณ 90% ออกไป ทำให้ไม่สามารถมองเห็นผิวของดาวศุกร์ และทำให้พื้นผิวดาวศุกร์มืดมัวกว่าพื้นผิวโลก เหนือเมฆของดาวศุกร์มีลมพัดด้วยอัตราเร็วประมาณ 300 km/h (190 mph) ไปรอบดาวศุกร์โดยใช้เวลา 4-5 วันของโลก บนดาวศุกร์อัตราเร็วลมมีค่าได้ถึง 60 เท่าของอัตราเร็วการหมุน แต่บนโลกลมที่แรงที่สุดมีอัตราประมาณ 10-20% ของอัตราเร็วการหมุนของโลก

พื้นผิวดาวศุกร์มีสภาวะไอโซเทอร์มัล หมายถึง อุณหภูมิบนพื้นผิวมีค่าเท่ากันตลอดทั้งขั้วและเส้นศูนย์สูตร มุมเอียงแกนของดาวศุกร์มีค่าน้อยกว่า 3° เมื่อเทียบกับโลกซึ่งมีมุมเอียง 23° ทำให้ไม่เกิดฤดูกาลบนดาวศุกร์ ความสูงจากพื้นผิวถือเป็นปัจจัยไม่กี่อย่างที่ส่งผลต่ออุณหภูมิบนผิวดาวศุกร์ จุดสูงสุดบนดาวศุกร์ คือภูเขาแม็กซเวลล์มอนทีส จัดเป็นจุดที่อุณหภูมิต่ำที่สุดบนดาวศุกร์ มีอุณหภูมิประมาณ 380 องศาเซลเซียส (653 เคลวิน; 380 องศาเซลเซียส; 716 องศาฟาเรนไฮต์)convert: bug และมีความดันบรรยากาศประมาณ 4.5 MPa (45 bar)

ในปี พ.ศ.2538 ยานอวกาศมาเจลลันถ่ายภาพที่เชื่อว่าเป็นหิมะบนภูเขาแม็กซเวลล์มอนทีส สสารดังกล่าวมีกระบวนการก่อตัวคล้ายหิมะแต่อยู่ในสภาพที่มีอุณหภูมิสูงมาก นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า สสารดังกล่าวอาจเป็นเทลลูเรียม หรือ กาลีนา (ตะกั่วซัลไฟด์) ต่อมาในปี พ.ศ.2550 ยานวีนัสเอ็กซเพรสค้นพบมวลอากาศเย็นที่ขั้วใต้ของดาวศุกร์ สี่ปีต่อมา ยานวีนัสเอ็กซเพรสยังค้นพบชั้นโอโซนในบรรยากาศของดาวศุกร์อีกด้วย

ภูมิศาสตร์

 
ภาพถ่ายพื้นผิวดาวศุกร์ ถ่ายโดยยานเวเนรา 13 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2525

พื้นผิวและสภาพภูมิศาสตร์ของดาวศุกร์เป็นที่สนใจใคร่รู้ของบรรดานักดาราศาสตร์ทั้งหลายจนกระทั่งมีการส่งยานอวกาศไปยังดาวศุกร์ ในปี พ.ศ.2518 และ 2525 ยานเวเนราได้ส่งภาพพื้นผิวของดาวศุกร์มายังโลก ซึ่งประกอบด้วยตะกอนและหินเหลี่ยม ต่อมายานมาเจลลัน ได้บันทึกภาพพื้นผิวของดาวศุกร์ในรายละเอียดระหว่าง พ.ศ.2533-34 ทำให้เห็นถึงการเกิดภูเขาไฟจำนวนมากบนดาวศุกร์ ในบรรยากาศก็เต็มไปด้วยกำมะถัน ซึ่งอาจบ่งถึงการปะทุของภูเขาไฟบ่อยครั้ง

พื้นผิวของดาวศุกร์ประมาณร้อยละ 80% เป็นพื้นผิวจากเถ้าภูเขาไฟ ในจำนวนนี้ 70% เป็นที่ราบและเนินลอนคลื่น และ 10% เป็นที่ราบเนินกลม ส่วนที่เหลือเป็น "ทวีป" หรือที่ราบสูงสองแห่ง แห่งหนึ่งอยู่ซีกเหนือ อีกแห่งอยู่ใต้เส้นศูนย์สูตรไปไม่ไกล ทวีปเหนือของดาวศุกร์เรียกว่า อิชตาร์เทอร์รา (Ishtar Terra) ตามชื่อของอินันนา เทพเจ้าแห่งความรัก มีขนาดประมาณทวีปออสเตรเลีย ทวีปนี้เป็นที่ตั้งของภูเขาที่สูงที่สุดบนดาวศุกร์ ชื่อว่า แม็กซเวลล์มอนทีส มีความสูงเฉลี่ยจากพื้นผิวปานกลาง 11 km (7 mi) ทวีปใต้ของดาวศุกร์เรียกว่า อะโฟรไดต์เทอร์รา (Aphrodite Terra) ตามชื่อเทพีแห่งความรักของกรีก มีขนาดใหญ่กว่าทวีปเหนือ และมีขนาดประมาณทวีปอเมริกาใต้ ทวีปใต้ของดาวศุกร์ประกอบด้วยรอยเลื่อนและรอยแตกจำนวนมาก

แม้ว่าดาวศุกร์จะมีหลุมภูเขาไฟจำนวนมาก แต่ร่องรอยการไหลของลาวากลับไม่ปรากฏชัดเจน พื้นผิวของดาวศุกร์มีหลุมอุกกาบาตน้อยมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ผิวดาวศุกร์มีอายุไม่มากนัก ประมาณ 300-600 ล้านปี เนื่องจากดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน ทำให้มีหลุมอุกกาบาต ภูเขา หุบเขา รวมไปถึงภูเขาไฟยอดตัด เรียกว่า ฟาร์รา (farra) มีสัณฐานคล้ายขนมบ้าบิ่น และมีขนาดกว้างประมาณ 20 ถึง 50 km (12 ถึง 31 mi) สูงประมาณ 100 ถึง 1,000 m (330 ถึง 3,280 ft) นอกจากภูเขาไฟยอดตัด ก็มีโครงสร้างที่เรียกว่า โนวี (novae) ซึ่งคล้ายกับดาว โครงสร้างที่เรียกว่าอะแรกนอยด์ (arachnoid) ซึ่งคล้ายกับใยแมงมุม และโครงสร้างที่เรียกว่าโคโรนี (coronae) ลักษณะคล้ายวงแหวนมีแอ่งต่ำล้อมรอบ ลักษณะทางดาราธรณีวิทยาเหล่านี้ล้วนเกิดจากภูเขาไฟ

บรรดาภูเขาและสิ่งต่าง ๆ บนพื้นผิวดาวศุกร์ ตั้งชื่อตามสตรีในประวัติศาสตร์และในเทพปกรณัม ยกเว้น ภูเขาแม็กซเวลล์มอนทีสซึ่งตั้งชื่อตามนักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ เจมส์ คลาร์ก แม็กซเวลล์ รวมถึงยกเว้นแอลฟาเรจิโอ เบตาเรจิโอ และโอฟดาเรจิโอ ซึ่งตั้งชื่อก่อนที่สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล จะกำหนดระบบใหม่ขึ้น

ตำแหน่งเมอริเดียนหลักของดาวศุกร์นั้น เดิมทีกำหนดให้พาดผ่านขั้วทั้งสองและผ่านจุดอีฟ ซึ่งตั้งอยู่ตอนใต้ของแอลฟาเรจิโอ ต่อมาเมื่อยานเวเนราสำรวจดาวศุกร์สำเร็จแล้ว จึงปรับตำแหน่งเมอริเดียนหลักให้ผ่านยอดเขาซึ่งอยู่ในหลุมอาเรียด ซึ่งตั้งบนที่ราบต่ำเซดนาพลานิเทีย

ยานวีนัสเอ็กซ์เพรสและยานมาเจลลันค้นพบว่า พื้นผิวบางส่วนของดาวศุกร์มีลักษณะบิดเบี้ยวมาก เรียกว่า เทสเซอรา เมื่อสังเกตโดยใช้การถ่ายภาพจะพบว่ามีสภาพแผ่ความร้อนน้อยกว่าที่ราบบะซอลต์ที่อยู่โดยรอบ


ภูเขาไฟ

พื้นผิวของดาวศุกร์ส่วนใหญ่มีกำเนิดจากภูเขาไฟ ดาวศุกร์มีภูเขาไฟจำนวนมากกว่าโลกหลายเท่า โดยในจำนวนนี้ 167 ลูก มีขนาดกว้างมากกว่า 100 km (60 mi) ในขณะที่บนโลกภูเขาไฟที่มีขนาดใหญ่เท่านี้มีเพียงที่หมู่เกาะฮาวาย:154 เหตุที่เป็นเช่นนี้ไม่ใช่เพราะดาวศุกร์มีภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง แต่เป็นเพราะผิวดาวศุกร์มีอายุมากกว่าและมีกระบวนการพังทลายไม่เหมือนกัน ผิวโลกใต้ทะเลเมื่อถึงเวลาจะมุดลงใต้แผ่นทวีปอีกแผ่นและหลอมละลายกลับเป็นแมกมา ทำให้มีอายุเฉลี่ยประมาณร้อยล้านปีเท่านั้น แต่บนดาวศุกร์ไม่ปรากฏการมุดตัว อายุของผิวดาวจึงมีมากกว่า ประมาณ 300-600 ล้านปี

เนื่องจากดาวศุกร์มีภูเขาไฟจำนวนมาก การตรวจวัดปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์จึงแปรไปตามเวลา โดยพบว่า ระหว่าง พ.ศ.2521 ถึง 2529 ปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลดลงประมาณ 10 เท่า ก่อนจะเพิ่มในปี พ.ศ.2549 ก่อนจะลดลงไปอีก 10 เท่า จากข้อมูลข้างต้นทำให้สังเกตว่า มีการระเบิดของภูเขาไฟหลายครั้งเป็นระยะ ๆ นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า การระเบิดของภูเขาไฟบนดาวศุกร์เป็นผลให้เกิดฟ้าผ่าบนดาวศุกร์อีกด้วย ในเดือนมกราคม 2563 นักดาราศาสตร์ได้รายงานหลักฐานที่บ่งชี้ว่าดาวศุกร์เป็นดาวที่มีภูเขาไฟปะทุตลอดเวลา โดยเฉพาะการตรวจพบโอลิวีน ซึ่งเป็นผลผลิตจากภูเขาไฟที่สลายตัวง่ายเมื่อปะทุแล้ว

บรรยากาศ

 
หลุมอุกกาบาตบนดาวศุกร์

บรรยากาศของดาวศุกร์ ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 97% ไนโตรเจน 3.5% ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ อาร์กอน 0.5% มีชั้นเมฆคาร์บอนไดออกไซด์ที่หนาทึบมาก ปกคลุมดาวศุกร์ทั้งดวงทำให้สะท้อนแสงอาทิตย์ได้ดี จึงเห็นดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างสุกใสมาก และยานอวกาศที่ไปสำรวจดาวศุกร์ก็ไม่สามารถถ่ายภาพพื้นผิว โดยตรงได้ ต้องอาศัยคลื่นเรดาห์ผ่านทะลุชั้นเมฆแล้วนำมาวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์อีกครั้ง


อุณหภูมิของดาวศุกร์ ด้วยชั้นเมฆหนาของดาวศุกร์ทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจก อุณหภูมิบนดาวศุกร์สูงมาก ประมาณ 400 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน

การเคลื่อนที่

ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองในทิศทางที่ต่างจากดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะ

ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาวเท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก เพราะตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกร์เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก

ยานอวกาศสำรวจดาวศุกร์

ยานอวกาศที่สำรวจดาวศุกร์ มีด้วยกันหลายลำได้แก่

  1. มาริเนอร์ 2 เมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2505
  2. เวเนรา 4 เมื่อ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2510
  3. เวเนรา 7 เมื่อ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2513
  4. มาริเนอร์ 10 เมื่อ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517
  5. เวเนรา 9 เมื่อ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2518
  6. เวเนรา 15 เมื่อ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2526
  7. ไพโอเนียร์-วีนัส 2 เมื่อ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2521
  8. แมกเจลแลน เมื่อ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2533

อ้างอิง

  1. Lakdawalla, Emily (21 September 2009). "Venus Looks More Boring Than You Think It Does". The Planetary Society. สืบค้นเมื่อ 4 December 2011.
  2. Lawrence, Pete (2005). . Digitalsky.org.uk. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 11 June 2012. สืบค้นเมื่อ 13 June 2012.
  3. Walker, John. "Viewing Venus in Broad Daylight". Fourmilab Switzerland. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 March 2017. สืบค้นเมื่อ 19 April 2017.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ nasa_venus
  5. Castro, Joseph (3 February 2015). "What Would It Be Like to Live on Venus?". Space.com. จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 March 2018. สืบค้นเมื่อ 15 March 2018.
  6. "Moons". NASA Solar System Exploration. จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-08-26.
  7. Hashimoto, G. L.; Roos-Serote, M.; Sugita, S.; Gilmore, M. S.; Kamp, L. W.; Carlson, R. W.; Baines, K. H. (2008). "Felsic highland crust on Venus suggested by Galileo Near-Infrared Mapping Spectrometer data". Journal of Geophysical Research: Planets. 113 (E9): E00B24. Bibcode:2008JGRE..113.0B24H. doi:10.1029/2008JE003134. S2CID 45474562.
  8. Shiga, David (10 October 2007). "Did Venus's ancient oceans incubate life?". New Scientist. จากแหล่งเดิมเมื่อ 24 March 2009. สืบค้นเมื่อ 17 September 2017.
  9. Jakosky, Bruce M. (1999). "Atmospheres of the Terrestrial Planets". ใน Beatty, J. Kelly; Petersen, Carolyn Collins; Chaikin, Andrew (บ.ก.). The New Solar System (4th ed.). Boston: Sky Publishing. pp. 175–200. ISBN 978-0-933346-86-4. OCLC 39464951.
  10. "Caught in the wind from the Sun". European Space Agency. 28 November 2007. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2011. สืบค้นเมื่อ 12 July 2008.
  11. Evans, James (1998). The History and Practice of Ancient Astronomy. Oxford University Press. pp. 296–7. ISBN 978-0-19-509539-5. จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 December 2020. สืบค้นเมื่อ 4 February 2008.
  12. เทพย์ สาริกบุตร และคณะ. ตำราพรหมชาติ ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ: สำนักงานลูก ส. ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
  13. Lopes, Rosaly M. C.; Gregg, Tracy K. P. (2004). Volcanic worlds: exploring the Solar System's volcanoes. Springer Publishing. p. 61. ISBN 978-3-540-00431-8.
  14. "Venus". Encyclopedia of Science. จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 April 2021. สืบค้นเมื่อ 27 September 2020.
  15. Taylor, Fredric W. (2014). "Venus: Atmosphere". ใน Tilman, Spohn; Breuer, Doris; Johnson, T. V. (บ.ก.). Encyclopedia of the Solar System. Oxford: Elsevier Science & Technology. ISBN 978-0-12-415845-0. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2021. สืบค้นเมื่อ 12 January 2016.
  16. . Case Western Reserve University. 13 September 2006. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 26 April 2012. สืบค้นเมื่อ 21 December 2011.
  17. Lewis, John S. (2004). Physics and Chemistry of the Solar System (2nd ed.). Academic Press. p. 463. ISBN 978-0-12-446744-6.
  18. Prockter, Louise (2005). (PDF). Johns Hopkins APL Technical Digest. 26 (2): 175–188. S2CID 17893191. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 20 September 2019. สืบค้นเมื่อ July 27, 2009.
  19. "Archived copy". จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2021. สืบค้นเมื่อ 17 August 2021.CS1 maint: archived copy as title (link)
  20. Halliday, Alex N. (2013-03-15). "The origins of volatiles in the terrestrial planets". Geochimica et Cosmochimica Acta (ภาษาอังกฤษ). 105: 146–171. Bibcode:2013GeCoA.105..146H. doi:10.1016/j.gca.2012.11.015. ISSN 0016-7037. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2021. สืบค้นเมื่อ 14 July 2020.
  21. Grinspoon, David H.; Bullock, M. A. (October 2007). "Searching for Evidence of Past Oceans on Venus". Bulletin of the American Astronomical Society. 39: 540. Bibcode:2007DPS....39.6109G.
  22. Kasting, J. F. (1988). "Runaway and moist greenhouse atmospheres and the evolution of Earth and Venus". Icarus. 74 (3): 472–494. Bibcode:1988Icar...74..472K. doi:10.1016/0019-1035(88)90116-9. PMID 11538226. จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2019. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
  23. Mullen, Leslie (13 November 2002). . Astrobiology Magazine. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 16 August 2014.
  24. Landis, Geoffrey A. (July 2003). (PDF). Journal of the British Interplanetary Society. 56 (7–8): 250–254. Bibcode:2003JBIS...56..250L. NASA/TM—2003-212310. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 7 August 2011.
  25. Cockell, Charles S. (December 1999). "Life on Venus". Planetary and Space Science. 47 (12): 1487–1501. Bibcode:1999P&SS...47.1487C. doi:10.1016/S0032-0633(99)00036-7.
  26. Krasnopolsky, V. A.; Parshev, V. A. (1981). "Chemical composition of the atmosphere of Venus". Nature. 292 (5824): 610–613. Bibcode:1981Natur.292..610K. doi:10.1038/292610a0. S2CID 4369293.
  27. Krasnopolsky, Vladimir A. (2006). "Chemical composition of Venus atmosphere and clouds: Some unsolved problems". Planetary and Space Science. 54 (13–14): 1352–1359. Bibcode:2006P&SS...54.1352K. doi:10.1016/j.pss.2006.04.019.
  28. W. B. Rossow; A. D. del Genio; T. Eichler (1990). <2053:CTWFVO>2.0.CO;2 "Cloud-tracked winds from Pioneer Venus OCPP images". Journal of the Atmospheric Sciences. 47 (17): 2053–2084. Bibcode:1990JAtS...47.2053R. doi:10.1175/1520-0469(1990)047<2053:CTWFVO>2.0.CO;2. ISSN 1520-0469.
  29. Normile, Dennis (7 May 2010). "Mission to probe Venus's curious winds and test solar sail for propulsion". Science. 328 (5979): 677. Bibcode:2010Sci...328..677N. doi:10.1126/science.328.5979.677-a. PMID 20448159.
  30. Williams, David R. (25 November 2020). "Venus Fact Sheet". NASA Goddard Space Flight Center. จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 May 2018. สืบค้นเมื่อ 2021-04-15.
  31. Lorenz, Ralph D.; Lunine, Jonathan I.; Withers, Paul G.; McKay, Christopher P. (2001). "Titan, Mars and Earth: Entropy Production by Latitudinal Heat Transport" (PDF). Ames Research Center, University of Arizona Lunar and Planetary Laboratory. (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2018. สืบค้นเมื่อ 21 August 2007.
  32. "Interplanetary Seasons". NASA Science. NASA. Jun 19, 2000. จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 April 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-04-14.
  33. Basilevsky A. T.; Head J. W. (2003). "The surface of Venus". Reports on Progress in Physics. 66 (10): 1699–1734. Bibcode:2003RPPh...66.1699B. doi:10.1088/0034-4885/66/10/R04. S2CID 13338382. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2021. สืบค้นเมื่อ 2 December 2019.
  34. McGill, G. E.; Stofan, E. R.; Smrekar, S. E. (2010). "Venus tectonics". ใน T. R. Watters; R. A. Schultz (บ.ก.). Planetary Tectonics. Cambridge University Press. pp. 81–120. ISBN 978-0-521-76573-2. จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2016. สืบค้นเมื่อ 18 October 2015.
  35. Otten, Carolyn Jones (2004). ""Heavy metal" snow on Venus is lead sulfide". Washington University in St Louis. จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 April 2008. สืบค้นเมื่อ 21 August 2007.
  36. Hand, Eric (November 2007). "European mission reports from Venus". Nature (450): 633–660. doi:10.1038/news.2007.297. S2CID 129514118.
  37. Staff (28 November 2007). "Venus offers Earth climate clues". BBC News. จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 January 2009. สืบค้นเมื่อ 29 November 2007.
  38. "ESA finds that Venus has an ozone layer too". European Space Agency. 6 October 2011. จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2012. สืบค้นเมื่อ 25 December 2011.
  39. Mueller, Nils (2014). "Venus Surface and Interior". ใน Tilman, Spohn; Breuer, Doris; Johnson, T. V. (บ.ก.). Encyclopedia of the Solar System (3rd ed.). Oxford: Elsevier Science & Technology. ISBN 978-0-12-415845-0. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2021. สืบค้นเมื่อ 12 January 2016.
  40. Esposito, Larry W. (9 March 1984). "Sulfur Dioxide: Episodic Injection Shows Evidence for Active Venus Volcanism". Science. 223 (4640): 1072–1074. Bibcode:1984Sci...223.1072E. doi:10.1126/science.223.4640.1072. PMID 17830154. S2CID 12832924. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2021. สืบค้นเมื่อ 2 December 2019.
  41. Bullock, Mark A.; Grinspoon, David H. (มีนาคม 2001). (PDF). Icarus. 150 (1): 19–37. Bibcode:2001Icar..150...19B. CiteSeerX 10.1.1.22.6440. doi:10.1006/icar.2000.6570. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 23 ตุลาคม 2003.
  42. Basilevsky, Alexander T.; Head, James W. III (1995). "Global stratigraphy of Venus: Analysis of a random sample of thirty-six test areas". Earth, Moon, and Planets. 66 (3): 285–336. Bibcode:1995EM&P...66..285B. doi:10.1007/BF00579467. S2CID 21736261.
  43. Jones, Tom; Stofan, Ellen (2008). Planetology: Unlocking the Secrets of the Solar System. National Geographic Society. p. 74. ISBN 978-1-4262-0121-9. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 July 2017. สืบค้นเมื่อ 20 April 2017.
  44. Kaufmann, W. J. (1994). Universe. New York: W. H. Freeman. p. 204. ISBN 978-0-7167-2379-0.
  45. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Nimmo98
  46. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Strom1994
  47. Frankel, Charles (1996). Volcanoes of the Solar System. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-47770-3.
  48. Batson, R.M.; Russell J. F. (18–22 March 1991). "Naming the Newly Found Landforms on Venus" (PDF). Proceedings of the Lunar and Planetary Science Conference XXII. Houston, Texas. p. 65. (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2011. สืบค้นเมื่อ 12 July 2009.
  49. Carolynn Young, บ.ก. (1 August 1990). The Magellan Venus Explorer's Guide. California: Jet Propulsion Laboratory. p. 93. จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2016. สืบค้นเมื่อ 13 January 2016.
  50. Davies, M. E.; Abalakin, V. K.; Bursa, M.; Lieske, J. H.; Morando, B.; Morrison, D.; Seidelmann, P. K.; Sinclair, A. T.; Yallop, B.; Tjuflin, Y. S. (1994). "Report of the IAU Working Group on Cartographic Coordinates and Rotational Elements of the Planets and Satellites". Celestial Mechanics and Dynamical Astronomy. 63 (2): 127–148. Bibcode:1996CeMDA..63..127D. doi:10.1007/BF00693410. S2CID 189850694.
  51. Kenneth Seidelmann, P.; Archinal, B. A.; A’hearn, M. F.; Conrad, A.; Consolmagno, G. J.; Hestroffer, D.; Hilton, J. L.; Krasinsky, G. A.; Neumann, G.; Oberst, J.; Stooke, P.; Tedesco, E. F.; Tholen, D. J.; Thomas, P. C.; Williams, I. P. (July 2007). "Report of the IAU/IAG Working Group on cartographic coordinates and rotational elements: 2006". Celestial Mechanics and Dynamical Astronomy. 98 (3): 155–180. Bibcode:2007CeMDA..98..155S. doi:10.1007/s10569-007-9072-y.
  52. Carolynn Young, บ.ก. (1 August 1990). The Magellan Venus Explorer's Guide. California: Jet Propulsion Laboratory. pp. 99–100. จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2016. สืบค้นเมื่อ 13 January 2016.
  53. Helbert, Jörn; Müller, Nils; Kostama, Petri; Marinangeli, Lucia; Piccioni, Giuseppe; Drossart, Pierre (2008). "Surface brightness variations seen by VIRTIS on Venus Express and implications for the evolution of the Lada Terra region, Venus". Geophysical Research Letters (ภาษาอังกฤษ). 35 (11): L11201. Bibcode:2008GeoRL..3511201H. doi:10.1029/2008GL033609. ISSN 1944-8007.
  54. Karttunen, Hannu; Kroger, P.; Oja, H.; Poutanen, M.; Donner, K. J. (2007). Fundamental Astronomy. Springer. p. 162. ISBN 978-3-540-34143-7.
  55. Bauer, Markus (3 December 2012). "Have Venusian volcanoes been caught in the act?". European Space Agency. จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 April 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-04-14.
  56. Glaze, Lori S. (August 1999). "Transport of SO
    2
    by explosive volcanism on Venus". Journal of Geophysical Research. 104 (E8): 18899–18906. Bibcode:1999JGR...10418899G. doi:10.1029/1998JE000619.
  57. Marcq, Emmanuel; Bertaux, Jean-Loup; Montmessin, Franck; Belyaev, Denis (January 2013). "Variations of sulfur dioxide at the cloud top of Venus's dynamic atmosphere". Nature Geoscience. 6 (1): 25–28. Bibcode:2013NatGe...6...25M. doi:10.1038/ngeo1650. S2CID 59323909. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2021. สืบค้นเมื่อ 2 December 2019.
  58. Hall, Sannon (9 January 2020). "Volcanoes on Venus Might Still Be Smoking - Planetary science experiments on Earth suggest that the sun's second planet might have ongoing volcanic activity". The New York Times. จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 January 2020. สืบค้นเมื่อ 10 January 2020.
  59. Filiberto, Justin (3 January 2020). "Present-day volcanism on Venus as evidenced from weathering rates of olivine". Science. 6 (1): eaax7445. Bibcode:2020SciA....6.7445F. doi:10.1126/sciadv.aax7445. PMC 6941908. PMID 31922004.
  60. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2010-12-23. สืบค้นเมื่อ 2010-12-24.
  61. http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phitsanulok/suwicha_p/venus.html
  62. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2010-12-23. สืบค้นเมื่อ 2010-12-24.

แหล่งข้อมูลอื่น

ดาวศ, กร, ระว, งส, บสนก, พระศ, กร, งกฤษ, venus, เป, นดาวเคราะห, อย, างจากดวงอาท, ตย, เป, นลำด, บท, เม, อมองจากโลกในตอนกลางค, เป, นว, ตถ, องฟ, าซ, งสว, างรองลงมาจากดวงจ, นทร, วงโคจรอย, ภายในวงโคจรของโลก, ทำให, เม, อส, งเกตแล, วจะไม, ปรากฏว, าห, างจากดวงอาท, ตย,. rawngsbsnkb phrasukr dawsukr xngkvs Venus epndawekhraahthixyuhangcakdwngxathityepnladbthi 2 emuxmxngcakolkintxnklangkhun dawsukrepnwtthuthxngfasungswangrxnglngmacakdwngcnthr 2 3 dawsukrmiwngokhcrxyuphayinwngokhcrkhxngolk thaihemuxsngektaelwcaimpraktwahangcakdwngxathitymaknk klawkhux caehnintxnhwkhathangthistawntk eriykwa dawpracaemuxng hruxehnintxnechamudthangthistawnxxk eriykwa dawprakayphruk hrux dawrung dawsukr hrux 6phaphdawsukrcak yanmarienxr 10lksnakhxngwngokhcrcuderimyukh J2000rayacudikldwngxathitythisud 108 941 849 km 0 72823128 hnwydarasastrrayacudikldwngxathitythisud 107 476 002 km 0 71843270 hnwydarasastrkungaeknexk 108 208 926 km 0 72333199 hnwydarasastresnrxbwngkhxngwngokhcr 0 680 ethraemtr 4 545 hnwydarasastr khwameyuxngsunyklang 0 00677323khabdarakhti 224 70096 wn 0 6151977 picueliyn khabsinxdik 583 92 wnxtraerwechliyinwngokhcr 25 020 km winathixtraerwsungsudinwngokhcr 35 259 km winathixtraerwtasudinwngokhcr 34 784 km winathikhwamexiyng 3 39471 3 86 kbsunysutrdwngxathity lxngcicudkhxngcudohndkhun 76 68069 rayamumcudikldwngxathitythisud 54 85229 dawbriwarkhxng dwngxathitycanwndawbriwar immilksnathangkayphaphesnphansunyklangtamaenwsunysutr 12 103 7 km 0 949 olk phunthiphiw 4 60 108 km 0 147 olk primatr 9 28 1011 km 0 857 olk mwl 4 8685 1024 kk 0 815 olk khwamhnaaennechliy 5 204 krm sm khwamonmthwngthisunysutr 8 87 emtr winathi 0 904 ci khwamerwhludphn 10 36 km winathikhabkarhmunrxbtwexng 243 0185 wnkhwamerwkarhmunrxbtwexng 6 52 km chm khwamexiyngkhxngaekn 2 64 irtaexsesnchnkhxngkhwehnux 272 76 18 chm 11 nathi 2 winathi edkhlienchnkhxngkhwehnux 67 16 xtraswnsathxn 0 65xunhphumiphunphiw ekhlwintasudechliysungsud228 K yxdemkh 737 K773 Klksnakhxngbrryakaskhwamdnbrryakasthiphunphiw 9 321 9 kiolpaskalxngkhprakxb 96 5 kharbxnidxxkisd 3 5 inotrecn0 015 slefxridxxkisd0 007 ixna0 002 kharbxnmxnxkisd0 0017 xarkxn0 0012 hieliym0 0007 nixxnkharbxnilslifd primannxymakihodrecnkhlxird primannxymakihodrecnfluxxird primannxymakdawsukrokhcrrxbdwngxathitychamakaelahmunrxbtwexngchaechnkn odyokhcrrxbdwngxathityhnungrxbichewla 224 7 wnkhxngolk 4 aelahmunrxbtwexngkhrbbriburnodyichewla 243 wnkhxngolk aetmikhwamyawwnsuriykhti 117 wnkhxngolk dwyehtuni dawsukrcungcdepndawthihmunrxbtwexngchathisudinrabbsuriya nxkcakni dwngxathitybndawsukrcakhunthangthistrngknkhamkbolk khux khunthangthistawntkaelatkthangthistawnxxk 5 dawsukrimmibriwarthrrmchatiechnediywkbdawphuth 6 dawsukrepndawekhraahhin aelamkklawwaepndawnxngsawkhxngolk dwyehtuthimikhnadiklkn mwlekuxbethakn xyuikldwngxathityehmuxnkn aelamiswnprakxbepnhinehmuxnkn xyangirktamnn dawsukrmilksnatangcakolkxyangsudkhwinhlaydan xathi mikhwamhnaaennbrryakassungsudinbrrdadawekhraahhinthngsidwng khwamdnbrryakasbndawsukrmikhapraman 92 ethakhxngkhwamdnbrryakasolkthiradbnathaelpanklang inbrryakasnnkprakxbipdwyaekskharbxnidxxkisd 96 xunhphumiechliybndawsukrmikha 737 K 464 C 867 F sungsungkwadawphuthsungxyuikldwngxathity dawsukrmiemkhsungprakxbdwykrdslfiwrik sathxnaesngiddimak cnimehnphunphiwinyanaesngthimxngehn inxditechuxwa dawsukrekhymimhasmuthr 7 8 aettxmamhasmuthrraehyehuxdaehngipxnenuxngcak praktkarneruxnkrackaebbkhwbkhumimid runaway greenhouse effect 9 nathiraehyipnnechuxwaxacthukslaydwyaesng aelaihodrecncaknakthuknaxxkipinbrryakasodylmsuriya 10 karthidawsukrmikhwamswangmakniexng thaihmnusymikhwamsnicikhrruaelacdbnthukkarokhcr nbaetsxngphnpikxnkhristkal 11 khrnphthnakarsarwcxwkasidrudhna mnusyidsnicikhrruaelasarwcdawsukrepndawaerkemuxpi ph s 2505 odyyanmarienxr 2 aepdpitxmayanewenra 7klngcxdyngphiwdawsukr thungkrann enuxngcakdawsukrmiemkhhnathub karsarwcphunphiwinraylaexiydkimsamarthkrathaiddink cnkrathngmiyanmaeclln sarwcdawsukremux ph s 2534 inpccubnmikhwamphyayamsuksakhwamepnipidkhxngchiwitbndawsukr sungyngepnhwkhxwicythimikarthkethiyngknxyangmakxyuchuxkhxngdawsukrinphasaxngkvs mithimacakethphiaehngkhwamrkinethphpkrnmormn swninphasaithy macakethphphrasukr hruxsukra phuepnkhrukhxngmaraelaepnethphaehngkhwamngam 12 sylksnkhxngdawsukrinthangohrasastraeladarasastrsakl khux xnepnsylksnaethnephshying swninohrasastrithy ich 6 elkhhkithy enuxha 1 lksnathangkayphaph 1 1 brryakasaelaphumixakas 1 2 phumisastr 1 2 1 phuekhaif 2 brryakas 3 karekhluxnthi 4 yanxwkassarwcdawsukr 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunlksnathangkayphaph aekikh khnadkhxngdawsukremuxethiybkbolk dawsukrepndawekhraahhinincanwnthnghmd 4 dwnginrabbsuriya sunghmaykhwamwa swnprakxbxnprakxbkhunepndawsukrnnepnhinechnediywkbolk yingkwann dawsukrmikhnadaelamwlethakbolk cungthukkhnannamwaepn nxngsaw hrux faaefd khxngolk 13 esnphansunyklangkhxngdawsukrkhux 12 103 6 km 7 520 8 mi sungelkkwaolkip 638 4 km 396 7 mi nxkcakniyngmimwl 81 5 khxngmwlolk xyangirktamnn sphawabrryakasbndawsukrtangcakbnolkxyangmak brryakaskhxngdawsukrprakxbdwyaekskharbxnidxxkisd 96 5 miinotrecnephiyng 3 5 14 khwamdnbrryakasaelaxunhphumithiphiwdawsukrmikha 9 3 emkapaskal 93 bar aela 737 K 464 C 867 F tamladb sungxyusungkwacudwikvtthangxunhphlsastr epnehtuihbrryakaskhxngdawsukrmilksnaepnkhxngihlwikvtywdying brryakasaelaphumixakas aekikh okhrngsrangemkhkhxngdawsukr khnphbemux ph s 2559 dngthiidklawmaaelw dawsukrmibrryakashnaaennmakthungkhnthiwassarinbrryakasepnkhxngihlwikvtywdying khuxthukxdxyangmakaetimthungkbepnkhxngaekhng 15 mwlkhxngbrryakaskhxngdawsukrmikha 92 ethakhxngolk swnkhwamdnbrryakasbndawsukrphunphiwmikha 93 ethakhxngolk sungethiybidkbkhwamdninmhasmuthrluk 1 km 5 8 mi bnolk khwamhnaaennbnphunphiwdawsukrmikha 65 kg m3 khuxpraman 6 5 khxngna hrux 50 ethakhxngkhwamdnbrryakasolkthiradbnathaelpanklangxunhphumi 20 xngsaeslesiys 293 ekhlwin 20 xngsaeslesiys 68 xngsafaerniht convert bug dwyehtuthidawsukrmikharbxnidxxkisdmak kthaihekidpraktkarneruxnkrackrunaerngthisudinrabbsuriya xunhphumibndawsukrsungxyangnxy 462 xngsaeslesiys 735 ekhlwin 462 xngsaeslesiys 864 xngsafaerniht convert bug 4 16 sungsungkwaxunhphumiphunphiwkhxngdawphuth xnung dawphuthidchayawa etaifaechaekhng dwyehtuthixunhphumiphunphiwtasudmikha 220 xngsaeslesiys 53 ekhlwin 220 xngsaeslesiys 364 xngsafaerniht convert bug aelaxunhphumisungsudmikha 427 xngsaeslesiys 700 ekhlwin 427 xngsaeslesiys 801 xngsafaerniht convert bug 17 18 dawsukrmirayahangcakdwngxathityekuxbsxngethakhxngrayahangrahwangdawphuthkbdwngxathity epnehtuihdawsukridrbphlngngancakkaraephrngsikhxngdwngxathitypraman 25 aetklbmixunhphumisungmakkdwyphawaeruxnkrack aeksinbrryakaskkkhwamrxnmiihxxkcakbrryakas tarangtxipniaesdngxunhphumithiphawatang khxngdawsukr xunhphumidawsukrsphawa xunhphumixunhphumiphunphiwsungsud 900 F 482 C xunhphumiphunphiwechliy 847 F 453 C xunhphumiphunphiwtasud 820 F 438 C 19 brryakaskhxngdawsukrxudmipdwyaeksechuxyechnediywkbbnolk 20 sungaesdngihehnthungphthnakarkhxngdawsukrsungkxkaenidaebbediywkbolk inrayaaerknkdarasastrechuxwaminainbrryakasdawsukraebbediywkbolk 21 txmaemuxdawsukridrbphlngngancakdwngxathity tlxdcnthungekidphawaeruxnkrack kthaihnainbrryakasdawsukrxntrthanhayip 22 aemwaxunhphumibndawsukrcaimexuxxanwyihekidsingmichiwit aetnkwithyasastrkechuxwaemkhchnbnthikhwamsung 50 km 30 mi cakphunphiw sungmixunhphumi 30 aela 80 xngsaeslesiys 303 aela 353 ekhlwin 30 aela 80 xngsaeslesiys 86 aela 176 xngsafaerniht convert bug kxaccamisingmichiwitthithntxkrdrunaerngidbangxasyxyu 23 24 25 bndawsukr ehnuxchnkharbxnidxxkisdepnemkhhnasungxudmipdwykrdslfiwrikphsmkbna aelamiefxrrikkhlxird praman 1 26 27 nxkcaknixacmiefxrriksleft xalumieniymkhlxird aela fxsfxrikaexnihidrd emkhkhxngdawsukrthiradbkhwamsungtangknmiswnprakxbtangkn aelamikarcaaenkkhnadxnuphakhimehmuxnkn 26 emkhehlanisathxnaelakraecingaesngcakdwngxathitypraman 90 xxkip thaihimsamarthmxngehnphiwkhxngdawsukr aelathaihphunphiwdawsukrmudmwkwaphunphiwolk ehnuxemkhkhxngdawsukrmilmphddwyxtraerwpraman 300 km h 190 mph iprxbdawsukrodyichewla 4 5 wnkhxngolk 28 bndawsukrxtraerwlmmikhaidthung 60 ethakhxngxtraerwkarhmun aetbnolklmthiaerngthisudmixtrapraman 10 20 khxngxtraerwkarhmunkhxngolk 29 phunphiwdawsukrmisphawaixosethxrml hmaythung xunhphumibnphunphiwmikhaethakntlxdthngkhwaelaesnsunysutr 30 31 mumexiyngaeknkhxngdawsukrmikhanxykwa 3 emuxethiybkbolksungmimumexiyng 23 thaihimekidvdukalbndawsukr 32 khwamsungcakphunphiwthuxepnpccyimkixyangthisngphltxxunhphumibnphiwdawsukr cudsungsudbndawsukr khuxphuekhaaemksewllmxnthis cdepncudthixunhphumitathisudbndawsukr mixunhphumipraman 380 xngsaeslesiys 653 ekhlwin 380 xngsaeslesiys 716 xngsafaerniht convert bug aelamikhwamdnbrryakaspraman 4 5 MPa 45 bar 33 34 inpi ph s 2538 yanxwkasmaecllnthayphaphthiechuxwaepnhimabnphuekhaaemksewllmxnthis ssardngklawmikrabwnkarkxtwkhlayhimaaetxyuinsphaphthimixunhphumisungmak nkwithyasastrsnnisthanwa ssardngklawxacepnethllueriym hrux kalina takwslifd 35 txmainpi ph s 2550 yanwinsexksephrskhnphbmwlxakaseynthikhwitkhxngdawsukr 36 37 sipitxma yanwinsexksephrsyngkhnphbchnoxosninbrryakaskhxngdawsukrxikdwy 38 phumisastr aekikh phaphthayphunphiwdawsukr thayodyyanewenra 13 emuxwnthi 1 minakhm 2525 phunphiwaelasphaphphumisastrkhxngdawsukrepnthisnicikhrrukhxngbrrdankdarasastrthnghlaycnkrathngmikarsngyanxwkasipyngdawsukr inpi ph s 2518 aela 2525 yanewenraidsngphaphphunphiwkhxngdawsukrmayngolk sungprakxbdwytakxnaelahinehliym 39 txmayanmaeclln idbnthukphaphphunphiwkhxngdawsukrinraylaexiydrahwang ph s 2533 34 thaihehnthungkarekidphuekhaifcanwnmakbndawsukr inbrryakasketmipdwykamathn sungxacbngthungkarpathukhxngphuekhaifbxykhrng 40 41 phunphiwkhxngdawsukrpramanrxyla 80 epnphunphiwcakethaphuekhaif incanwnni 70 epnthirabaelaeninlxnkhlun aela 10 epnthirabeninklm 42 swnthiehluxepn thwip hruxthirabsungsxngaehng aehnghnungxyusikehnux xikaehngxyuitesnsunysutripimikl thwipehnuxkhxngdawsukreriykwa xichtarethxrra Ishtar Terra tamchuxkhxngxinnna ethphecaaehngkhwamrk mikhnadpramanthwipxxsetreliy thwipniepnthitngkhxngphuekhathisungthisudbndawsukr chuxwa aemksewllmxnthis mikhwamsungechliycakphunphiwpanklang 11 km 7 mi 43 thwipitkhxngdawsukreriykwa xaofridtethxrra Aphrodite Terra tamchuxethphiaehngkhwamrkkhxngkrik mikhnadihykwathwipehnux aelamikhnadpramanthwipxemrikait thwipitkhxngdawsukrprakxbdwyrxyeluxnaelarxyaetkcanwnmak 44 aemwadawsukrcamihlumphuekhaifcanwnmak aetrxngrxykarihlkhxnglawaklbimpraktchdecn phunphiwkhxngdawsukrmihlumxukkabatnxymak sungaesdngihehnwa phiwdawsukrmixayuimmaknk praman 300 600 lanpi 45 46 enuxngcakdawsukrepndawekhraahhin thaihmihlumxukkabat phuekha hubekha rwmipthungphuekhaifyxdtd eriykwa farra farra misnthankhlaykhnmbabin aelamikhnadkwangpraman 20 thung 50 km 12 thung 31 mi sungpraman 100 thung 1 000 m 330 thung 3 280 ft nxkcakphuekhaifyxdtd kmiokhrngsrangthieriykwa onwi novae sungkhlaykbdaw okhrngsrangthieriykwaxaaerknxyd arachnoid sungkhlaykbiyaemngmum aelaokhrngsrangthieriykwaokhorni coronae lksnakhlaywngaehwnmiaexngtalxmrxb lksnathangdarathrniwithyaehlanilwnekidcakphuekhaif 47 brrdaphuekhaaelasingtang bnphunphiwdawsukr tngchuxtamstriinprawtisastraelainethphpkrnm 48 ykewn phuekhaaemksewllmxnthissungtngchuxtamnkfisikschawxngkvs ecms khlark aemksewll rwmthungykewnaexlfaerciox ebtaerciox aelaoxfdaerciox sungtngchuxkxnthishphnthdarasastrsakl cakahndrabbihmkhun 49 taaehnngemxriediynhlkkhxngdawsukrnn edimthikahndihphadphankhwthngsxngaelaphancudxif sungtngxyutxnitkhxngaexlfaerciox 50 txmaemuxyanewenrasarwcdawsukrsaercaelw cungprbtaaehnngemxriediynhlkihphanyxdekhasungxyuinhlumxaeriyd sungtngbnthirabtaesdnaphlaniethiy 51 52 yanwinsexksephrsaelayanmaecllnkhnphbwa phunphiwbangswnkhxngdawsukrmilksnabidebiywmak eriykwa ethsesxra emuxsngektodyichkarthayphaphcaphbwamisphaphaephkhwamrxnnxykwathirabbasxltthixyuodyrxb 7 53 phuekhaif aekikh phunphiwkhxngdawsukrswnihymikaenidcakphuekhaif dawsukrmiphuekhaifcanwnmakkwaolkhlayetha odyincanwnni 167 luk mikhnadkwangmakkwa 100 km 60 mi inkhnathibnolkphuekhaifthimikhnadihyethanimiephiyngthihmuekaahaway 47 154 ehtuthiepnechnniimichephraadawsukrmiphuekhaifraebidbxykhrng aetepnephraaphiwdawsukrmixayumakkwaaelamikrabwnkarphngthlayimehmuxnkn phiwolkitthaelemuxthungewlacamudlngitaephnthwipxikaephnaelahlxmlalayklbepnaemkma thaihmixayuechliypramanrxylanpiethann 54 aetbndawsukrimpraktkarmudtw xayukhxngphiwdawcungmimakkwa praman 300 600 lanpi 45 47 enuxngcakdawsukrmiphuekhaifcanwnmak kartrwcwdprimanslefxridxxkisdcungaepriptamewla odyphbwa rahwang ph s 2521 thung 2529 primanslefxridxxkisdldlngpraman 10 etha kxncaephiminpi ph s 2549 kxncaldlngipxik 10 etha 55 cakkhxmulkhangtnthaihsngektwa mikarraebidkhxngphuekhaifhlaykhrngepnraya 56 57 nkwithyasastrsnnisthanwa karraebidkhxngphuekhaifbndawsukrepnphlihekidfaphabndawsukrxikdwy ineduxnmkrakhm 2563 nkdarasastridraynganhlkthanthibngchiwadawsukrepndawthimiphuekhaifpathutlxdewla odyechphaakartrwcphboxliwin sungepnphlphlitcakphuekhaifthislaytwngayemuxpathuaelw 58 59 brryakas aekikh hlumxukkabatbndawsukr brryakaskhxngdawsukr prakxbdwykaskharbxnidxxkisd 97 inotrecn 3 5 slefxridxxkisdaela xarkxn 0 5 michnemkhkharbxnidxxkisdthihnathubmak pkkhlumdawsukrthngdwngthaihsathxnaesngxathityiddi cungehndawsukrepndawekhraahthiswangsukismak aelayanxwkasthiipsarwcdawsukrkimsamarththayphaphphunphiw odytrngid txngxasykhlunerdahphanthaluchnemkhaelwnamawiekhraahdwykhxmphiwetxrxikkhrngxunhphumikhxngdawsukr dwychnemkhhnakhxngdawsukrthaihekidsphawaeruxnkrack xunhphumibndawsukrsungmak praman 400 xngsaeslesiys tlxdthngklangwnaelaklangkhun 60 karekhluxnthi aekikh elnmiediy dawsukrhmunrxbtwexnginthisthangthitangcakdawekhraahswnihyinrabbsuriya dawsukrhmunrxbtwexng 1 rxbichewlanankwakarekhluxnthirxbdwngxathity 1 rxb aelathaeraxyubndawsukrewla 1 wn caimyawethakbewlathidawsukrhmunrxbtwexng 1 rxb nikhuxlksnaphiessthidawsukrimehmuxndawekhraahdwngid nxkcaknidawsukrynghmuntamekhmnalikahruxhmuncakthistawnxxkipthistawntk inkhnathiekhluxnthirxbdwngxathitycakthistawntkipthistawnxxk dawsukrcunghmunswnthangkbdawekhraahdwngxun aelahmunswnthangkbkarekhluxnthirxbdwngxathity dawsukrhmunrxbtwexngrxbla 243 wn aet 1 wnkhxngdawsukryawnanethakb 117 wnkhxngolk ephraatngaetdwngxathitykhuncnthungdwngxathitytkyawnan 58 5 wnkhxngolk dawsukrekhluxnrxbdwngxathityrxbla 225 wn 1 pikhxngdawsukrcungyawnan 225 wnkhxngolk 61 yanxwkassarwcdawsukr aekikhyanxwkasthisarwcdawsukr midwyknhlaylaidaek marienxr 2 emux 14 thnwakhm ph s 2505 ewenra 4 emux 18 tulakhm ph s 2510 ewenra 7 emux 15 thnwakhm ph s 2513 marienxr 10 emux 5 kumphaphnth ph s 2517 ewenra 9 emux 23 tulakhm ph s 2518 ewenra 15 emux 10 tulakhm ph s 2526 iphoxeniyr wins 2 emux 9 thnwakhm ph s 2521 aemkeclaeln emux 10 singhakhm ph s 2533 62 xangxing aekikh Lakdawalla Emily 21 September 2009 Venus Looks More Boring Than You Think It Does The Planetary Society subkhnemux 4 December 2011 Lawrence Pete 2005 In Search of the Venusian Shadow Digitalsky org uk khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 11 June 2012 subkhnemux 13 June 2012 Walker John Viewing Venus in Broad Daylight Fourmilab Switzerland ekb cakaehlngedimemux 29 March 2017 subkhnemux 19 April 2017 4 0 4 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux nasa venus Castro Joseph 3 February 2015 What Would It Be Like to Live on Venus Space com ekb cakaehlngedimemux 15 March 2018 subkhnemux 15 March 2018 Moons NASA Solar System Exploration ekb cakaehlngedimemux 19 October 2019 subkhnemux 2019 08 26 7 0 7 1 Hashimoto G L Roos Serote M Sugita S Gilmore M S Kamp L W Carlson R W Baines K H 2008 Felsic highland crust on Venus suggested by Galileo Near Infrared Mapping Spectrometer data Journal of Geophysical Research Planets 113 E9 E00B24 Bibcode 2008JGRE 113 0B24H doi 10 1029 2008JE003134 S2CID 45474562 Shiga David 10 October 2007 Did Venus s ancient oceans incubate life New Scientist ekb cakaehlngedimemux 24 March 2009 subkhnemux 17 September 2017 Jakosky Bruce M 1999 Atmospheres of the Terrestrial Planets in Beatty J Kelly Petersen Carolyn Collins Chaikin Andrew b k The New Solar System 4th ed Boston Sky Publishing pp 175 200 ISBN 978 0 933346 86 4 OCLC 39464951 Caught in the wind from the Sun European Space Agency 28 November 2007 ekb cakaehlngedimemux 21 August 2011 subkhnemux 12 July 2008 Evans James 1998 The History and Practice of Ancient Astronomy Oxford University Press pp 296 7 ISBN 978 0 19 509539 5 ekb cakaehlngedimemux 12 December 2020 subkhnemux 4 February 2008 ethphy sarikbutr aelakhna taraphrhmchati chbbhlwng krungethph sanknganluk s thrrmphkdi m p p Lopes Rosaly M C Gregg Tracy K P 2004 Volcanic worlds exploring the Solar System s volcanoes Springer Publishing p 61 ISBN 978 3 540 00431 8 Venus Encyclopedia of Science ekb cakaehlngedimemux 21 April 2021 subkhnemux 27 September 2020 Taylor Fredric W 2014 Venus Atmosphere in Tilman Spohn Breuer Doris Johnson T V b k Encyclopedia of the Solar System Oxford Elsevier Science amp Technology ISBN 978 0 12 415845 0 ekb cakaehlngedimemux 29 September 2021 subkhnemux 12 January 2016 Venus Case Western Reserve University 13 September 2006 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 26 April 2012 subkhnemux 21 December 2011 Lewis John S 2004 Physics and Chemistry of the Solar System 2nd ed Academic Press p 463 ISBN 978 0 12 446744 6 Prockter Louise 2005 Ice in the Solar System PDF Johns Hopkins APL Technical Digest 26 2 175 188 S2CID 17893191 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 20 September 2019 subkhnemux July 27 2009 Archived copy ekb cakaehlngedimemux 7 August 2021 subkhnemux 17 August 2021 CS1 maint archived copy as title link Halliday Alex N 2013 03 15 The origins of volatiles in the terrestrial planets Geochimica et Cosmochimica Acta phasaxngkvs 105 146 171 Bibcode 2013GeCoA 105 146H doi 10 1016 j gca 2012 11 015 ISSN 0016 7037 ekb cakaehlngedimemux 29 September 2021 subkhnemux 14 July 2020 Grinspoon David H Bullock M A October 2007 Searching for Evidence of Past Oceans on Venus Bulletin of the American Astronomical Society 39 540 Bibcode 2007DPS 39 6109G Kasting J F 1988 Runaway and moist greenhouse atmospheres and the evolution of Earth and Venus Icarus 74 3 472 494 Bibcode 1988Icar 74 472K doi 10 1016 0019 1035 88 90116 9 PMID 11538226 ekb cakaehlngedimemux 7 December 2019 subkhnemux 25 June 2019 Mullen Leslie 13 November 2002 Venusian Cloud Colonies Astrobiology Magazine khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 16 August 2014 Landis Geoffrey A July 2003 Astrobiology The Case for Venus PDF Journal of the British Interplanetary Society 56 7 8 250 254 Bibcode 2003JBIS 56 250L NASA TM 2003 212310 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 7 August 2011 Cockell Charles S December 1999 Life on Venus Planetary and Space Science 47 12 1487 1501 Bibcode 1999P amp SS 47 1487C doi 10 1016 S0032 0633 99 00036 7 26 0 26 1 Krasnopolsky V A Parshev V A 1981 Chemical composition of the atmosphere of Venus Nature 292 5824 610 613 Bibcode 1981Natur 292 610K doi 10 1038 292610a0 S2CID 4369293 Krasnopolsky Vladimir A 2006 Chemical composition of Venus atmosphere and clouds Some unsolved problems Planetary and Space Science 54 13 14 1352 1359 Bibcode 2006P amp SS 54 1352K doi 10 1016 j pss 2006 04 019 W B Rossow A D del Genio T Eichler 1990 lt 2053 CTWFVO gt 2 0 CO 2 Cloud tracked winds from Pioneer Venus OCPP images Journal of the Atmospheric Sciences 47 17 2053 2084 Bibcode 1990JAtS 47 2053R doi 10 1175 1520 0469 1990 047 lt 2053 CTWFVO gt 2 0 CO 2 ISSN 1520 0469 Normile Dennis 7 May 2010 Mission to probe Venus s curious winds and test solar sail for propulsion Science 328 5979 677 Bibcode 2010Sci 328 677N doi 10 1126 science 328 5979 677 a PMID 20448159 Williams David R 25 November 2020 Venus Fact Sheet NASA Goddard Space Flight Center ekb cakaehlngedimemux 11 May 2018 subkhnemux 2021 04 15 Lorenz Ralph D Lunine Jonathan I Withers Paul G McKay Christopher P 2001 Titan Mars and Earth Entropy Production by Latitudinal Heat Transport PDF Ames Research Center University of Arizona Lunar and Planetary Laboratory ekb PDF cakaehlngedimemux 3 October 2018 subkhnemux 21 August 2007 Interplanetary Seasons NASA Science NASA Jun 19 2000 ekb cakaehlngedimemux 14 April 2021 subkhnemux 2021 04 14 Basilevsky A T Head J W 2003 The surface of Venus Reports on Progress in Physics 66 10 1699 1734 Bibcode 2003RPPh 66 1699B doi 10 1088 0034 4885 66 10 R04 S2CID 13338382 ekb cakaehlngedimemux 29 September 2021 subkhnemux 2 December 2019 McGill G E Stofan E R Smrekar S E 2010 Venus tectonics in T R Watters R A Schultz b k Planetary Tectonics Cambridge University Press pp 81 120 ISBN 978 0 521 76573 2 ekb cakaehlngedimemux 23 June 2016 subkhnemux 18 October 2015 Otten Carolyn Jones 2004 Heavy metal snow on Venus is lead sulfide Washington University in St Louis ekb cakaehlngedimemux 15 April 2008 subkhnemux 21 August 2007 Hand Eric November 2007 European mission reports from Venus Nature 450 633 660 doi 10 1038 news 2007 297 S2CID 129514118 Staff 28 November 2007 Venus offers Earth climate clues BBC News ekb cakaehlngedimemux 11 January 2009 subkhnemux 29 November 2007 ESA finds that Venus has an ozone layer too European Space Agency 6 October 2011 ekb cakaehlngedimemux 27 January 2012 subkhnemux 25 December 2011 Mueller Nils 2014 Venus Surface and Interior in Tilman Spohn Breuer Doris Johnson T V b k Encyclopedia of the Solar System 3rd ed Oxford Elsevier Science amp Technology ISBN 978 0 12 415845 0 ekb cakaehlngedimemux 29 September 2021 subkhnemux 12 January 2016 Esposito Larry W 9 March 1984 Sulfur Dioxide Episodic Injection Shows Evidence for Active Venus Volcanism Science 223 4640 1072 1074 Bibcode 1984Sci 223 1072E doi 10 1126 science 223 4640 1072 PMID 17830154 S2CID 12832924 ekb cakaehlngedimemux 29 September 2021 subkhnemux 2 December 2019 Bullock Mark A Grinspoon David H minakhm 2001 The Recent Evolution of Climate on Venus PDF Icarus 150 1 19 37 Bibcode 2001Icar 150 19B CiteSeerX 10 1 1 22 6440 doi 10 1006 icar 2000 6570 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 23 tulakhm 2003 Basilevsky Alexander T Head James W III 1995 Global stratigraphy of Venus Analysis of a random sample of thirty six test areas Earth Moon and Planets 66 3 285 336 Bibcode 1995EM amp P 66 285B doi 10 1007 BF00579467 S2CID 21736261 Jones Tom Stofan Ellen 2008 Planetology Unlocking the Secrets of the Solar System National Geographic Society p 74 ISBN 978 1 4262 0121 9 ekb cakaehlngedimemux 16 July 2017 subkhnemux 20 April 2017 Kaufmann W J 1994 Universe New York W H Freeman p 204 ISBN 978 0 7167 2379 0 45 0 45 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Nimmo98 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Strom1994 47 0 47 1 47 2 Frankel Charles 1996 Volcanoes of the Solar System Cambridge University Press ISBN 978 0 521 47770 3 Batson R M Russell J F 18 22 March 1991 Naming the Newly Found Landforms on Venus PDF Proceedings of the Lunar and Planetary Science Conference XXII Houston Texas p 65 ekb PDF cakaehlngedimemux 13 May 2011 subkhnemux 12 July 2009 Carolynn Young b k 1 August 1990 The Magellan Venus Explorer s Guide California Jet Propulsion Laboratory p 93 ekb cakaehlngedimemux 4 December 2016 subkhnemux 13 January 2016 Davies M E Abalakin V K Bursa M Lieske J H Morando B Morrison D Seidelmann P K Sinclair A T Yallop B Tjuflin Y S 1994 Report of the IAU Working Group on Cartographic Coordinates and Rotational Elements of the Planets and Satellites Celestial Mechanics and Dynamical Astronomy 63 2 127 148 Bibcode 1996CeMDA 63 127D doi 10 1007 BF00693410 S2CID 189850694 Kenneth Seidelmann P Archinal B A A hearn M F Conrad A Consolmagno G J Hestroffer D Hilton J L Krasinsky G A Neumann G Oberst J Stooke P Tedesco E F Tholen D J Thomas P C Williams I P July 2007 Report of the IAU IAG Working Group on cartographic coordinates and rotational elements 2006 Celestial Mechanics and Dynamical Astronomy 98 3 155 180 Bibcode 2007CeMDA 98 155S doi 10 1007 s10569 007 9072 y Carolynn Young b k 1 August 1990 The Magellan Venus Explorer s Guide California Jet Propulsion Laboratory pp 99 100 ekb cakaehlngedimemux 4 December 2016 subkhnemux 13 January 2016 Helbert Jorn Muller Nils Kostama Petri Marinangeli Lucia Piccioni Giuseppe Drossart Pierre 2008 Surface brightness variations seen by VIRTIS on Venus Express and implications for the evolution of the Lada Terra region Venus Geophysical Research Letters phasaxngkvs 35 11 L11201 Bibcode 2008GeoRL 3511201H doi 10 1029 2008GL033609 ISSN 1944 8007 Karttunen Hannu Kroger P Oja H Poutanen M Donner K J 2007 Fundamental Astronomy Springer p 162 ISBN 978 3 540 34143 7 Bauer Markus 3 December 2012 Have Venusian volcanoes been caught in the act European Space Agency ekb cakaehlngedimemux 14 April 2021 subkhnemux 2021 04 14 Glaze Lori S August 1999 Transport of SO2 by explosive volcanism on Venus Journal of Geophysical Research 104 E8 18899 18906 Bibcode 1999JGR 10418899G doi 10 1029 1998JE000619 Marcq Emmanuel Bertaux Jean Loup Montmessin Franck Belyaev Denis January 2013 Variations of sulfur dioxide at the cloud top of Venus s dynamic atmosphere Nature Geoscience 6 1 25 28 Bibcode 2013NatGe 6 25M doi 10 1038 ngeo1650 S2CID 59323909 ekb cakaehlngedimemux 29 September 2021 subkhnemux 2 December 2019 Hall Sannon 9 January 2020 Volcanoes on Venus Might Still Be Smoking Planetary science experiments on Earth suggest that the sun s second planet might have ongoing volcanic activity The New York Times ekb cakaehlngedimemux 9 January 2020 subkhnemux 10 January 2020 Filiberto Justin 3 January 2020 Present day volcanism on Venus as evidenced from weathering rates of olivine Science 6 1 eaax7445 Bibcode 2020SciA 6 7445F doi 10 1126 sciadv aax7445 PMC 6941908 PMID 31922004 saenathiekbthawr khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2010 12 23 subkhnemux 2010 12 24 http www thaigoodview com library teachershow phitsanulok suwicha p venus html saenathiekbthawr khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2010 12 23 subkhnemux 2010 12 24 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb dawsukr ekhathungcak https th wikipedia org w index php title dawsukr amp oldid 9714162, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม